Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ พลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย ครั้งที่ 18

ใบความรู้ พลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย ครั้งที่ 18

Published by kungchay17, 2021-05-27 08:45:08

Description: ใบความรู้ พลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย ครั้งที่ 18
วิชา พลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย รหัสวิชา
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Search

Read the Text Version

บทท่ี 2 การเสรมิ สรางความปรองดองในสงั คมไทย เร่อื งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของการเสริมสรางความปรองดองในสงั คมไทย “การเสริมสรางความ ปรองดองในสงั คมไทย” หมายความถงึ “การเพิม่ พูนใหดีขึ้นหรือมน่ั คงยิ่งขึ้นดวย ความพรอมเพรยี งกนั หรอื การเพ่ิมพูนใหดีขึ้นดวยการออมชอม ประณปี ระนอม ยอมกนั ไมแกงแยงกัน ตก ลงดวยความไกลเกลย่ี ตกลง กนั ดวยความมีไมตรีจิต ของประชาชนคนไทย” คนไทยสวนใหญ ลวนมีความรักใครและสามัคคปี รองดอง กันอยูแลวในทุกถน่ิ ดวยความมีจารีต วัฒนธรรมประเพณีกับความมีศีลธรรม ในสายเลือดและในจิตใจ สืบ ทอดตอตอกันมา การขัดแยงทางความคดิ ในกลมุ คนยอมเกิดมีไดบางเปนเรื่องธรรมดา แตถาหากการขัดแย งทางความคดิ ไดรับการไกลเกลี่ย, ไดรบั ความรู, ไดรับขาวสารหรือไดรบั อธิบายจนเกดิ ความรู ความเขาใจที่ ถกู ตอง การขดั แยงทางความคดิ เหลานัน้ ก็ จะหมดไปได ไมกอใหเกดิ ความแตกแยกสามัคคี ไมกอใหเกดิ ความ รนุ แรงใดใด ทัง้ ทางวาจาและทางกาย เพราะ คนไทย เปนชนชาตทิ ี่รักสงบ รักพวกพองและรกั แผนดินถิน่ เกดิ ประเทศไทย มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ เปนประมขุ มากวา 70 ป ลมลกุ คลกุ คลานมาโดยตลอด มีการปฎิวัตริ ัฐประหารเกดิ ข้ึนหลายคร้ัง สาเหตุเกดิ จาก การที่บรรดา นกั การเมือง หรื อกลุมบุคคลทางการเมอื ง ประพฤติปฎิบัติ บริหารจัดการ ไปในทางท่ีทาํ ใหเกิดความเสียหายตอ ประเทศชาติ และประชาชน แตก็มกี ลุมประชาชน นักการเมือง กลุมนักวชิ าการบางกลุม และกลุมผูใชหรือ อาศัย ระบอบ การปกครองเปนเครือ่ งมือ ในการแสวงหาและปกปองผลประโยชน มกั เรยี กรองใหคนื ประชาธปิ ไตย กล าวหาวา การปฎวิ ตั ริ ัฐประหารเปนเผด็จการ โดยความรูเทาไมถงึ กาล ดวยความไมรจู ริงไมรู แจง ในระบบการ ปกครองท้งั หลาย ความจริงแลวระบบการปกครองแบบไหนๆ ก็ดีเหมือนกนั ทั้งน้ัน ขน้ึ อยูกบั ความเหมาะสม การประพฤติปฎบิ ตั ิ การบรหิ ารจดั การหรือการใช วาจะมีความเหมาะสมสามารถประพฤติ ปฎบิ ัตบิ ริหาร จัดการหรือใช ตามรูปแบบของระบอบประชาธิปไตยนนั้ ๆ ใหเกดิ ผลดไี ดเพยี งใด อีกท้งั ยงั มปี จจัย อน่ื ๆ หลายป จจยั อนั เปนสวนประกอบทีจ่ ะทําใหประเทศนน้ั ๆ ควรใชระบอบการปกครองรปู แบบใด เพือ่ ให เกดิ ประโยชน เกดิ ความสุข เกิดความมั่นคงตอประเทศชาติและประชาชน สาํ หรับนักการเมืองและกลุมบุคคลท่ีเก่ียวของ ควร มีศลี ธรรมจรรยา ยึดถือหลักศีลธรรมในศาสนาอยู เปนนิจ มคี วามรกั ประเทศชาตบิ านเมือง เห็นประโชยนของ ประเทศชาติและประชาชนสาํ คัญกวาประโยชน สวนตน การขัดแยงทางความคดิ ของกลุมนักการเมืองและผูที่ เกีย่ วของยอมเกดิ ขึน้ ไดนอยมากหรืออาจไม เกิดขน้ึ เลย นัน่ ยอมเปนสิ่งแสดงวา จะมีผูที่ไมประสงคดีตอประ เทศชาตขิ องประชาชน ไปยุยงเส้ยี มสอนหรอื ให อามิสสินจางกับประชาชนเพอ่ื ใหเกิดความคิดที่ขดั แยง แตกแยกความสามัคคี กอการชุมนมุ นาํ ไปสูการใช ความรนุ แรง กอการจลาจล เกดิ ความเดือดรอนความ เสยี หายตอประชาชนและ ประเทศชาตบิ านเมือง ประชาชนสวนใหญ เกิดความขัดแยงเกยี่ วกับ ความตองการ มีรายไดที่พอเพยี ง มอี าชีพมงี านทาํ การ ไมถกู เอารดั เอาเปรียบหรือแยงการประกอบอาชีพ ความตองการมีที่ ทํากนิ ของเกษตรกร ปลดเปลื้องหน้ีสนิ ความตองการขายสินคาทางการเกษตรกรรมใหไดราคาท่เี ปนธรรม การ กนิ ดีอยูดี ความปลอดภยั ในชีวติ และ ทรพั ยสนิ ความเสมอภาคหรอื ความเทาเทยี มกนั ในการศึกษา การเขาถึง หรอื ไดรบั สิทธิขัน้ พนื้ ฐานและ สวสั ดิการตางๆ อยางเทาเทยี ม และอ่นื ๆ ถึงแมวาอาจจะมีการแขงขันกนั บา งในบางเร่ืองบางอยาง อีกท้ังการ ไดรบั การดแู ลเอาใจใสจากรฐั บาล ผูแทนราษฎร และหนวยงาน ขาราชการ ทกุ แขนงอยางเตม็ กําลังสามารถ ถา หากประชาชน ไดรับสงิ่ ท่ีตองการตามท่ีกลาวไปตามสมควร รวมไปถึง

รฐั บาล ผแู ทนราษฎร และหนวยงาน ขาราชการทุกแขนง มีความเอาใจใส ดูแลประชาชนในทุกดาน ตาม บทบาทหนาที่ อยางเต็มกําลงั สามารถ การ ขดั แยงทางความคิดยอมไมเกิดขึ้น หรืออาจจะมคี วามขัดแยงทาง ความคิดบางเลก็ นอยเปนธรรมดา ไมถึงกบั 13 เปนสาเหตุทําใหเกิดความแตกแยกสามัคคี นาํ ไปสูการชมุ นุม และยอมจะมีแตความสามคั คี ความรกั ใคร ปรองดอง อยางแนนแฟนของคนในชาติ อีกประการหนง่ึ เก่ียวกบั การกาํ หนด นโยบาย แผนงาน โครงการฯและ การปฎบิ ัติ ของแตละกระทรวง ทบวง กรม ท่ไี มสอดคลองไม สมั พนั ธกนั ก็เปนสาเหตุหน่ึงท่ีทาํ ใหเกิดความ ขัดแยงทางความคิด เปนสาเหตทุ ําใหประชาชนบางสวนหรอื ส วนมากไมไดรบั ความเปนธรรม ดงั นน้ั กระทรวง ทบวง กรม ตางๆ “อาจจะตอง” มีการประชุมปรกึ ษา ในการ กําหนดนโยบาย แผนงาน โครงการฯและการ ปฎิบัติ รวมกนั สอดคลองสัมพันธกัน เอื้ออาํ นวยซึ่งกันและกนั ต้งั แตละดบั สูง ไปจนถงึ ระดับปฎบิ ัตงิ าน ยอม สามารถลดการขัดแยงทางความคดิ ของประชาชนลงได หรอื ไมมี การขดั แยงทางความคดิ เกิดขึ้นเลย ประชาชนควรไดรบั ความรู หรือมีความรูความเขาใจ ในระบอบการ ปกครอง รวมถึงระบบระเบยี บ วธิ กี ารทาํ งานหรือกลวธิ ีของพรรคการเมือง และควรไดรับความรู มีความเขาใจ เก่ยี วกับกลวิธใี นการทุจรติ คอรรัปชัน่ ประพฤติมชิ อบ การรบั เงินสมนาคณุ หรือกฎหมายทีเ่ ก่ยี วของกับพรรค การเมืองและนักการเมอื งทกุ รูปแบบ รวมถงึ ความรู เกีย่ วกับกฎหมายท่สี าํ คัญในชีวติ ประจาํ วันและอื่นๆ เพอื่ ใหประชาชนเกิดการเคารพใน กฎหมาย ประพฤตปิ ฎบิ ัติตามกฎเกณฑกติกาหรือตามกฎหมาย, ประชาชนทุก หมูเหลา ทุกสาขาอาชีพ ควร ไดรับการพฒั นาทางดานจิตใจใหมคี ณุ ธรรมทางศาสนา ใหเกิดมคี วามรู มคี วามเข าใจในหลกั การหรือหลักคํา สอนทางศาสนา อันจะเปนบรรทัดฐานหรอื เปนแนวทางในการประพฤติปฎิบัติตาม หนาท่ี แหงความเปน ประชาชนชาวไทย เพอื่ ใหเกดิ ความมีระเบียบ มวี นิ ัย ทง้ั ความคิด ทั้งจติ ใจ ในทกุ ดาน อันจักทําใหการขดั แยง ทางความคดิ ในทุกชมุ ชน ทุกสังคม ทุกหนวยงาน ทกุ กลุมบคุ คล ลดนอยลงหรอื ไมมี การขัดแยงทางความคิดที่ รุนแรงเกิดขน้ึ น้ันยอมแสดงใหเหน็ วา คนไทย ไดเสรมิ สรางความสามคั คี คือ ไดเพ่ิม พนู ใหดขี นึ้ หรือมั่นคงยง่ิ ข้ึน ดวยความพรอมเพยี งกนั ออมชอม ประนปี ระนอม ยอมกัน ไมแกงแยงกนั ฯ ตาม จารตี วฒั นธรรมประเพณี ตามหลกั กฎหมาย ตามหลักศลี ธรรมในศาสนา ซึ่ง “การเสริมสรางความสามัคคขี อง คนไทย” จะสําเรจ็ ได ก็ ดวยคนไทยรวมมือรวมใจกัน ประพฤติปฎบิ ตั ิ เพือ่ ประเทศไทย และเพ่ือคนไทย เร่ือง ท่ี 2 แนวทางการเสรมิ สรางการปรองดองในสงั คมไทย ปจจุบนั สงั คมไทยกาํ ลังประสบกับวกิ ฤตการณความ ขดั แยงการแตกแยกของคนในชาติ ซ่ึงไดทวคี วาม รนุ แรงและยดื เยอ้ื มากในทุกวินาที ซงึ่ มีสาเหตุเกดิ จากความ รุนแรงทางโครงสรางท่ไี ดฝงรากลึกอยางยาวนานใน สงั คมไทย ทาํ ใหเกิดความไมเสมอภาคเทาเทยี มระหวาง ชนชนั้ ของคนไทยในสังคม รัฐไมสามารถรกั ษาผลประโยชนของประชาชนไดอยางแทจรงิ เกิดการเสื่อมสลาย ของความไววางใจใน สงั คม ที่มตี อรฐั เกดิ ปรากฏการณการแบงพวกของประชาชนเปนฝกฝายอยางชดั เจนซ่ึง เปนการสรางสถานะ ของความเปนพวกเขาพวกเราหรือความเปนอน่ื และเปนการสรางความเกลยี ดชังจนมาสู การทําลายกันทาง ความคดิ คําพูดและการกระทําของประชาชนในประเทศไทยอยางไมเคยปรากฏมากอน จน ทําใหเกดิ ปฎิกริ ยิ า ของสาธารณชนในเชิงตอตานอาํ นาจรัฐอยางชัดเจน เชน การตอตานการจัดระเบยี บสังคม การตอตานการ บงั คบั ใชกฎหมายของภาครัฐ การชุมนุมประทวงดวยสนั ตวิ ิธจี นถึงขนั้ ใชกําลังและความรนุ แรง ภาพของประชาชนชาวไทยท่ีประหัตประหารกนั เองถูกถายทอดมาสูสายตาของคนไทยทั้งประเทศ และ ประชาคมโลกผานสอื่ ตางๆ อยางตอเนื่องเปรียบเสมือนการตอกยาํ้ ความขัดแยง ความรนุ แรงใหฝงรากลกึ ลง

ไปในจติ ใจของคนไทยทุกคนในขณะเดยี วกนั เปรียบเสมือนการกระตุน เตอื นจติ ใจวาถึงเวลาแลวทปี่ ระชาชน ชาวไทยทกุ คนและทุกภาคสวนของสงั คมจะรวมกนั ปรับเปล่ยี นวกิ ฤตการณครงั้ ยิ่งใหญคร้ังนี้ใหกลายเปนโอ กาส คร้ังประวตั ิศาสตรของประเทศชาติดวยการรวมกนั สรางสังคมไทยใหเปนสังคมแหงสมานฉนั ท ดวยการ เสริมสรางแนวคิดในการเคราพซึ่งความแตกตาง หรอื ความเห็นตาง เชนความแตกตางทางความคดิ แตกตา งทาง วฒั นธรรม เชื้อชาติ และศาสนา รวมกันฟนฟูกระบวนการหลอหลอมคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การเสยี สละ เพือ่ สวนรวม และจิตสํานกึ สาธารณะ ประกอบการเสริมสรางวฒั นธรรมแหงสันติวธิ ีทตี่ ้ังอยูบนพื้นฐานของ หลกั 14 คุณธรรมรวมกันสรางชุมชนเขมแข็งที่มีความพรอมและมีศกั ยภาพในการจัดการกับปญหาขอขดั แย งที่เกิดขนึ้ ใน ชมุ ชนของตนเองไดกอนทีจ่ ะลุกลามใหญโตกลายเปนปญหาความขัดแยงรุนแรงของประเทศชาติ ท้ังนเ้ี พื่อนําไปสูการมีจุดมงุ หมายรวมกันของคนทงั้ ชาติ น่นั คอื การรวมกันแกปญหาความขดั แยงความ แตกแยกของคนในชาตทิ ่ีประสบอยูในปจจุบนั และรวมกนั ฟนฟาอปุ สรรคไปสูเสนทางของการเปนสังคมแหง ความเปนสมานฉนั ท และเปนสังคมที่มีความพรอมในการรับมอื กับปญหาและสามารถปองกนั ความขัดแยงได อยางยงั่ ยนื เพราะความสมานฉนั ทในสงั คมเปนพ้ืนฐานสาํ คัญของความสงบสขุ เพราะหากคนไทยทุกคนมีความ รกั ความสามัคคมี ีจุดมุงหมายเปนหนึง่ เดียวกันและมคี วามตองการรวมกัน ก็ยอมเปนการยากยงิ่ ท่ีศัตรตู างๆ จากภายนอกและศัตรูภายในประเทศจะสามารถบอนทําลายได รากฐานของความขดั แยงในสังคมไทย รากฐาน ของความขัดแยงในสังคมไทย มีสาเหตุหลักๆ สรุปไดดังนี้ สังคมไทยมปี ญหาความรนุ แรงทางโครงสรางท่เี ป นเงอ่ื นไขของการทาํ ใหเกิดความขัดแยงในตัวเอง เนื่องจากอาํ นาจนิยมและระบบอปุ ถัมภยงั คงฝงรากลึกอยูใน สังคมไทย โครงสรางทางอํานาจยงั เปนของคนชั้น นําและนักการเมืองทม่ี ีผลประโยชนรวมกับกลุมนายทุน เกิดปญหาความเลอ่ื มลา้ํ ทางสังคมเน่ืองจากการ กระจายรายไดท่ีไมเปนธรรม เกดิ ชองวางระหวางคนจนกับคน รวย จนกอใหเกิด ความแตกแยกทางชนช้ันของ สงั คม ผูดอยโอกาสไมมีสวนรวมอยางจรงิ จังในการตดั สิน นโยบายท่จี ะสงผลกระทบตอตนเอง ประชาชนไมมี สวนรวมทางการเมืองอยางแทจรงิ ความไมเทาเทียมกนั ท้งั หมดนี้กอใหเกิดความขัดแยงท่ีนาํ ไปสูความรุนแรงใน สังคมย่งิ ชองวางระหวางสิง่ ท่ีควรจะเกิด กับสิ่งที่ เกดิ ขน้ึ จรงิ ในสังคมยงิ่ หางกนั เทาใด ความรุนแรงเชงิ โครงสราง ทางสังคมจะยิ่งมมี ากขึ้นเทานน้ั (ฉันทนา บรรพ ศริ โิ ชค, 2550) จากความรนุ แรงเชงิ โครงสรางทางสงั คมไดนํามา สูการขาดความไววางใจทางสังคมของ ประชาชน เนอื่ งจากสถาบนั ทางสงั คมและผูนาํ ไมสามารถปกปอง ผลประโยชนของสาธารณชนได ขาดความ ยตุ ิธรรมและความเสมอภาคเทาเทยี มในการดาํ เนินงาน ขาดความ สาํ นกึ รบั ผดิ ชอบตอสวนรวม จงึ สงกระทบต อสมั พนั ธภาพและความคาดหวงั ของประชาชนที่มตี อรัฐ การขาดความไววางใจทางสงั คมของประชาชนทาํ ให เกิดความขดั แยงท่ปี ญหาอตั วสิ ยั ไดแก เร่อื ง ของ อคติ ซ่งึ จะนําไปสูการรบั รูท่ผี ดิ เขาใจผิดในประเด็นท่ีเก่ียวข องกับความขดั แยง ซึง่ เกิดจากการสอ่ื สารทถ่ี ูก เบยี่ งเบนไปจากความจริงการขาดความรูและความรูที่ไมเท าเทยี มกนั ของแตบคุ คลเปนตัวปดกนั้ ความเขาใจท่ี ถูกตองและทาํ ใหเกดิ การตีความสถานการณความขัดแย งแตกตางกนั ซ่งึ ปญหาอตั วิสัยที่แกไขไดยาก คือ อคติที่ มีอยูระหวางผูมีอํานาจกับประชาชน กลุมคนเมือง กบั กลุมคนชนบท และกลุมผูชุมนมุ ประทวง อคตริ ะหวาง กลมุ คนทีเ่ กดิ ขนึ้ มีผลตอการกอตัวและการขยายตวั ของการขัดแยงไดส่ิงตางๆ เหลานี้จะนาํ มาสูการเกิดอคติ 15 หรอื การยึดเอาตัวเองหรือพวกเดยี วกันเปนศูนย กลางโดยการสรางสัญญลักษณของกลุมรวมกันและไมสามารถ ยอมรบั ความเหน็ ท่ตี างจากกลุมของตนไดมกี าร

รณรงคสรางความเกลียดชงั ฝายตรงขาม ผานการปลกุ ระดมของ กลมุ แกนนําดวยวิธตี างๆ จนทําใหสงั คมไทย ในปจจบุ ันมลี ักษณะของการแบงฝกฝายของประชาชน เกิดการ เกลยี ดชงั กลุมทม่ี คี วามคิดเหน็ ตางจากกลุมข องตน จนถงึ ขนั้ ทําราย ทําลายฝายตรงขาม ดังคาํ กลาวของ มหาตมะ คานที “เมื่อเรา เห็นวาคนอ่นื ไมใชคน เหมอื นเรา การทีจ่ ะใชความรุนแรงกับเขาก็เปนเร่ืองยาก” (ฉันทนา บรรพศิริโชค, 2550) ลกั ษณะความขดั แย งของสงั คมไทยในปจจบุ ัน สังคมไทยในปจจบุ นั มีพัฒนาการของความขัดแยงอยูในระยะที่ 3 คือ ความขดั แย งทีป่ รากฏชดั เจน เปนระดบั ของความขัดแยงทม่ี ีการเรยี กรองและมกี ารแสดงออกถึงความไมพึงพอใจอยาง ชดั เจน และจนจงึ ขั้น ใชความรุนแรงในขอขดั แยงนั้นเกดิ ปรากฎการณการรวมตัวของประชาชนโดยมกี ารแบ งฝกฝายอยางชัดเจน เพื่อตอตานการกดดนั รัฐใหกระทําและตอบสนองในสิ่งท่ตี นตองการ โดยปฎิกิริยาดังกล าวอยูบนหลกั เกณฑของ การมองประเด็นปญหาแบบความไววางใจแบบอิงการคาํ นวณหรอื ความไววางใจท่ี องิ อยูบนหลักประกันทง้ั บวก และลบ โดยประชาชนมองวาตนทนุ ที่ตองเสยี ไปจากสถานการณความขัดแยงทาง การเมือง ไมวาจะเปนการใช ความรุนแรง ของภาครัฐจนทําใหมีผูเสียชวี ิตและผูบาดเจ็บจํานวนมาก ภาพ ลกั ษณของประเทศทีเ่ สยี หาย เกดิ ปญหาภาวะเศรษฐกจิ ตกตํ่า ปญหาการวางงาน ปญหาสงั คมทเี่ กดิ ข้นึ ส งผลตอการดาํ รงชีวติ ของประชาชนเปน อยางมากแตรัฐไมสามารถแกปญหา และสนองทางเลอื กใหกับ ประชาชนได จนทําใหประชาชนคิดวาตนทุนที่ ตนสูญเสียไปกบั ผลประโยชนที่ไดรับไมมีความสมดลุ นาํ มาสู การประทวงตอตานรฐั เรียกรองใหรัฐรับผิดชอบจน สงผลกระทบตอเสถยี รภาพของรฐั บาล ทาํ ใหการ ดาํ เนินการแกไขปญหาขางตนลาชา ไมตรงตามความตองการของประชาชน (วนั ชยั วัฒนศัพท 2550 : 58- 61) จงึ นาํ มาสูความขัดแยงระหวางรฐั และประชาชน โดยมีลักษณะของความขดั แยงแบบไมสมมาตร ที่คู ขดั แยง มีความไมเสมอภาคกันหรือเทาเทียม กัน ผูกมุ อํานาจ มีการใชอํานาจเหนอื กวาอีกฝายทีเ่ ปนผูคดั คาน เพ่อื ใหเกิดความยนิ ยอม ความไมสมมาตรมี แงมุมของความไมสมมาตรทางกฎหมาย และความไมสมมาตรทาง โครงสราง ความไมสมมาตรทางกฎหมาย เกิดจากการยอมรบั หรือการปฎเิ สธฐานะของอีกฝายหนงึ่ ปฎเิ สธสทิ ธิ ทจี่ ะมสี วนรวมและมีเทาทีเปนปฎิปกษ โดยยึดกฎหมายที่ใหประโยชนกับผูกมุ อาํ นาจและปฎิเสธฝายท่ตี อตาน สวนความไมสมมาตรทางโครงสราง ไดแก การเขาถึงอํานาจการตัดสนิ ใจความสามารถในการควบคุมกลไกล ของรฐั เปนของผูกุมอํานาจ ความไม สมมาตรเชนน้ีสงผลใหแตละฝายมีทัศนะหรือความรับรูเกี่ยวกับปญหา ความขดั แยงไมเหมอื นกัน “กลายเปน ปญหาความขดั แยงท่ีมีพลังควบคมุ โดยรัฐกับพลังทาทายโดยประชาชน” (วิศิษฎ ชัชวาลทิพากร, 2540) 16 หนทางสูสังคมสมานฉันท มหาตมะ คานธี กลาววา “ความสมานฉันท ต องตั้งอยูบนรากฐานของส่ิงทสี่ ําคัญที่สุดสําหรบั มนุษยน้ัน คือ ความจริงและความรัก เพราะความสมานฉนั ท และสนั ตวิ ธิ นี ้นั เปนเรอ่ื งของความสมั พนั ธ ระหวางบคุ คล หวางกลุมจะลงรอยได จะสมานความราวฉานกันได จะตองตั้งอยูบนการทําความจริงใหปรากฎการณเทานั้น โดยจรยิ ธรรมของความสมานฉนั ทจะเรม่ิ ทเ่ี ห็น ความสาํ คญั ของความจริง ยอมรับความจรงิ แมวาความจรงิ นน้ั อาจหมายถึงความผดิ พลาดของตวั เราเอง หรือ ความผดิ พลาดของใครก็ตาม เพราะคนเราจะสมานรอยราวฉาน แตกแยกจนเกิดฉนั ทะ รวมกนั ข้นึ ไดน้นั ตอง เผชญิ หนากบั ความจรงิ เปนประการตน หากบิดเบือนหรอื กลบ เกล่อื นความจริงยอมเปนไปไมไดท่ี สมานฉันท ไดสําเรจ็ ยงิ่ กวานั้น การอาํ พรางความจรงิ ยังสอเลศนัยของความ รุนแรงแอบแฝงอีกดวย” (เอ้ือจิต วโิ รจนไตร รตั น,2548) แนวทางสมานฉันท คือแนวทางของความปรองดอง เหน็ พองรวมกนั น่ันคือ การรบั ฟงปญหาเพื่อ

เขาถึง รบั ฟงความคิดเห็น ขอเสนอแนะจากทุกภาคสวนเพ่ือแกปญหาใหหมดสิ้นในระยะยาว โดยไมมงุ เนนการ ใชความรนุ แรง แตมุงสรางความเขาใจ ความไววางใจจากประชาชนวารฐั จะอํานวยความยุติธรรม และความ เทาเทยี มใหกับประชาชนได รศ.ดร.ชัยวฒั น สถาอานนท (วิยะดาสิมะเสถียร : 2545) กลาวถึงแนวทางการสร างสมานฉันทใน สงั คมไทย ดงั นี้ 1. การเปดเผยความจริง ( Truth) ใหความสําคัญกบั ความจรงิ ท้ังในฐานะ เครอ่ื งมอื หรือเปาหมายของ สงั คมสมานฉันทเพื่อสรางสนั ติภาพทยี่ ั่งยืน ขณะเดียวกันกห็ าหนทางใหสังคมไทย ตระหนักถึงความเปดเผย ความจริงน้ันดวย 2. ความยตุ ธิ รรม (Justice) ใหความสําคัญกับความยุตธิ รรมเชิง สมานฉันท ดวยการเสรมิ สรางแนวคิด วเิ คราะหในสังคมไทยใหเรียนรูวิธีการมองปญหาความรุนแรงใบบริบท เชงิ โครงสรางและวัฒนธรรม ใหเลง็ เหน็ คนบรสิ ทุ ธก์ิ ลุมตางๆ ทีต่ กเปนเยื่อของความรุนแรง 3. ความพรอมรบั ผดิ สงเสรมิ ระบบและ วัฒนธรรมความพรอมรบั ผิดในระบบราชการ 4. การใหอภัย 5. การเคารพความ หลากหลายทางศาสนา วฒั นธรรม ใหความสาํ คญั กับขันติธรรมในฐานะคุณคาทาง การเมือง การเรียนรู ศาสนาตางๆ ท่ดี ํารงอยูในประเทศไทย 6. ถือสนั ตวิ ิธีเปนทางเลือกในการเผชญิ กับความขัดแยง 7. การเป ดเผยพ้นื ทใ่ี หความทรงจาํ ที่เจ็บปวดดวยการเปดพน้ื ท่ปี ระวัตศิ าสตรทองถน่ิ เปนสวนหนึ่งของ ประวัติศาสตร ไทย 8. มงุ แกปญหาในอนาคตดวยจินตนาการ 9. การยอมรับความเส่ียงทางสังคมเพ่อื ความไววางใจระหวาง กนั เพราะการยอมรบั ความเส่ียงเปน เง่อื นไขสายสมั พันธระหวางมนษุ ยบนฐานแหงความไววางใจอนั เปนคุณ ลกั ษณสาํ คัญของแนวความคิด สมานฉันท


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook