Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ พลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย ครั้งที่ 17

ใบความรู้ พลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย ครั้งที่ 17

Published by kungchay17, 2021-05-27 08:44:09

Description: ใบความรู้ พลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย ครั้งที่ 17
วิชา พลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย รหัสวิชา
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 ประชาธปิ ไตยสูความเปนพลเมือง เรอ่ื งท่ี 1. ความหมายของความเปนพลเมอื งดีในระบอบประชาธปิ ไตย ความหมายของ “พลเมืองดี” ตามวถิ ีชีวิตประชาธปิ ไตย พลเมือง หมายถึง พละกําลังของประเทศ ซึ่งมีสวนเปนเจาของประเทศ หมายถึง ประชาชนท่ีมี สัญชาติไทย มสี ิทธิ หนาท่ี เสรีภาพภายใตกฎหมายไทย แตกตางจากชาวตางชาติที่เขาเมอื งมาเพ่ือประกอบ ธุรกิจ เพอ่ื การทองเท่ียวหรือหลบหนีเขาเมือง บุคคลเหลานี้เขามาอยูในประเทศไทยเปนการช่วั คราว ไมถือวา เปนพลเมืองไทย พลเมืองไทย หมายถงึ บุคคล ท่มี คี วามเปนไทย มีศลิ ปวิทยา มธี รรมเนียม ประเพณี ความเชือ่ ถอื ความคดิ จิตใจท่ีจะรักษาความสามัคคี ความเปนปกแผนอยูในตนเองและสามารถทจ่ี ะถายทอดความเปนไทย สืบตอไปยงั คนรุนหลังอยางถูกตองและ เหมาะสม ความเปนพลเมืองไทย หมายถึง การนาํ ความเปนไทยมาใชใหเกดิ ประโยชน รวมทง้ั การคิดคน ปรับปรุง ดดั แปลงความเปนไทยใหกบั สถานการณทเี่ ปนอยูจริงท้งั ทางเศรษฐกจิ และการเมือง ระบอบ ประชาธิปไตย คือ ระบบการเมืองที่ประชาชนเปนเจาของประเทศ เจาของอํานาจอธิปไตยทีป่ กครอง โดย ประชาชนเพอื่ ประชาชน มหี ลกั การท่ีสาํ คัญคือหลกั สทิ ธิเสรีภาพ ความเสมอภาค หลดั นิติธรรม หลักการใช เหตุผล และหลกั การยอมรับเสยี งขางมากท่ีตองเครพสิทธิของเสยี งขางนอย วิถีประชาธปิ ไตย หมายถงึ วิถีการ ปฎิบัตติ นที่เกิดจากการผสมผสานระหวางการดํารงชีวิตตามความ เปนไทยกบั การเขาไปในสวนรวมทาง การเมืองและการบรหิ าร “พลเมอื งดใี นวถิ ชี ีวติ ประชาธิปไตย” หมายถึง พลเมืองทีม่ ีคุณลักษณะที่สาํ คัญ คอื เปนผูท่ียึดมั่นใน หลักการทางประชาธิปไตยในการดาํ รงชีวติ ปฏิบัติตนตามกฎหมาย และเปนประโยชนต อสังคม มีการ ชวยเหลอื เกื้อกูล ซง่ึ จะกอใหเกิดการพัฒนาสังคมและประเทศชาติใหเปนสังคมและประเทศ ประชาธิปไตยอยาง แทจรงิ เรื่องท่ี 2 หลกั การทางประชาธิปไตยทส่ี ําคัญ อํานาจอธปิ ไตบ อาํ นาจอธปิ ไตย (Sovereignty) หมายถงึ อํานาจสงู สุดในการปกครองรัฐหรอื ประเทศ ดงั นน้ั ส่งิ อื่นใด จะมีอํานาจยิ่งกวา หรือ ขดั ตออํานาจอธปิ ไตยไมได อํานาจอธปิ ไตยยอมมีความแตกตางกนั ไปในแตละระบอบ การปกครอง เชน ใน ระบอบประชาธิปไตย อาํ นาจอธปิ ไตยเปนของประชาชน กลาวคอื ประชาชนคือผูมอี าํ นาจ สูงสดุ ในการ ปกครองประเทศ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าช อาํ นาจอธิปไตยเปนของพระมหากษตั ริย คอื กษัตริย เปนผูมี อํานาจสงู สุดในการปกครองประเทศ เปนตน อน่งึ อํานาจอธิปไตยนี้นับเปนองคประกอบสําคญั ท่ีสดุ ของความ เปนรัฐเพราะการที่จะเปนรัฐไดน้ัน นอกจากจะตองประกอบดวยอาณาเขต ประชากรและรฐั บาล แลวยอมตอง มอี ํานาจอธิปไตยดวยกลาวคือประเทศนนั้ ตองเปนประเทศท่ีสามารถมีอํานาจสูงสดุ (อํานาจ อธปิ ไตย) ในการปกครองตนเองจึงจะสามารถเรยี กวา “รัฐ” ไดลกั ษณะสําคัญของอํานาจอธิปไตย มดี งั ตอไปนี้ 1. มีความเด็ดขาด (Absoluteness) หมายถึง การไมมอี ํานาจทางกฎหมายอ่นื ใดในรฐั เหนือกวา อาํ นาจ อธิปไตย และอํานาจนติ ิบัญญัติของรฐั ยอมไมอาจจะถูกกําจัดโดยตัวบทกฎหมายใดๆ ได 2. มีความถาวร (Permanence) หมายถงึ อาํ นาจอธปิ ไตยมีลักษณะถาวร ซ่ึงตางกนั กบั รฐั บาล โดย รัฐบาล อาจมีการเปลย่ี นแปลงได แตอํานาจอธปิ ไตยตองอยูตลอดไปหากอํานาจอธปิ ไตยถูกทําลาย รฐั นั้นจะสญู สลาย ไปดวย หรอื พูดไดอกี อยางหน่ึงวา รัฐท่ีสูญเสยี อํานาจอธิปไตยจึงหมดสิ้นความเปนรัฐไปนนั้ เอง 4 3. ใชไดเป นการท่ัวไป (Comprehensiveness) หมายถงึ อํานาจอธปิ ไตยยอมมีอาํ นาจเหนือบุคคล ทุกคนท่ีอยูอาศัยใน รฐั นนั้ อยางไมมีขอยกเวนและเปนไปอยางกวางขวางทีส่ ดุ แลวแตผูใชอาํ นาจจะเหน็ สมควร และองคการทุกแหง

บรรดาท่ีมีอยูในรฐั ก็อยูภายใตอาํ นาจอธปิ ไตย แตหากการที่ผูแทนทางการฑูตไดรับสทิ ธิ พิเศษบางประการเป นเพยี งถอยทีถอยปฎิบตั ิตอกันตามมารยาทการฑตู เทาน้ัน 3. แบงแยกไมได (Indivisibility) หมายถึง ในรฐั หน่งึ ๆ จะตองมีอาํ นาจอธิปไตยเพียงหนวยเดียว หากมี การ แบงแยกอํานาจอธิปไตยแลวกเ็ ทากับวาอาํ นาจอธิปไตยไดถกู ทําลาย ซ่ึงจะทําใหรัฐแตกสลายตัวไป ตวั อยางเช น ประเทศเกาหลีอาํ นาจอธปิ ไตยเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน แตเม่ือมีการแบงอาํ นาจอธิปไตยออกไป ทํา ใหเกดิ รัฐใหมขึน้ คือเกาหลใี ตกับเกาหลีเหนอื เปนตน อาํ นาจอธิปไตย เปนอาํ นาจสงู สุดในการปกครองประเทศ ซึ่ง ตามระบอบประชาธปิ ไตยถือวาเปน อํานาจของประชาชน แบงออกเปน 3 สวน คือ 1. อํานาจนติ ิบัญญัติเป นอํานาจในการออกกฎหมายและควบคุมการทํางานของรฐั บาลเพ่ือประโยชน ของประชาชนและประเทศชาติ ประชาชนชาวไทยใชอํานาจนี้โดยการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไปทํา หนาทแ่ี ทนในรฐั สภา 2. อํานาจ บริหาร เปนอํานาจการบริหารราชการแผนดินและการปกครอง ซึง่ มคี ณะรัฐมนตรีหรือ รัฐบาลเปนผูใชอาํ นาจ และรบั ผดิ ชอบในการบรหิ ารราชการแผนดินใหเปนไปตามนโยบายทแ่ี ถลงตอรัฐสภา 3. อํานาจตลุ าการ เป นอาํ นาจในการวนิ จิ ฉัยตดั สินคดคี วามตามกฎหมาย โดยมีหนวยงานศาลและ กระทรวงยตุ ธิ รรมเปนผูใชอาํ นาจ ระบอบประชาธปิ ไตย อยูบนรากฐานหลักการท่สี าํ คัญ 6 ประการ คอื 1. หลักการอาํ นาจอธปิ ไตยเปนของปวงประชาชน ประชาชนแสดงออกซง่ึ การเปนเจาของโดยใช อํานาจทม่ี ี ตาม กระบวนการเลือกตงั้ อยางอสิ ระและทว่ั ถึงในการใหไดมาซึง่ ตัวผูปกครองและผูแทนของตน รวมท้ัง ประชาชนมีอํานาจในการคัดคานและถอดถอนผูปกครองงและผูแทนท่ปี ระชาชนเห็นวา มิไดบริหาร ประเทศ ในทางทีเ่ ปนประโยชนตอสังคมสวนรวม เชน มพี ฤตกิ รรมร่ํารวยผิดปกติ 2. หลักความเสมอภาคการเปดโอกาสใหประชาชนทกุ คนสามารถเขาถงึ ทรัพยากรและคุณคาตางๆ ของสังคม ท่ีมอี ยูจํากดั อยางเทาเทียมกัน โดยไมถูกกดี กนั ดวยสาเหตุแหงความแตกตางทางชนั้ วรรณะทางสังคม ชาติพันธุ วัฒนธรรมความเปนอยู ฐานะทางเศรษฐกจิ หรือดวยสาเหตุอ่นื 3. หลักนติ ธิ รรม หมายถึง การใชหลกั กฎหมายเปนกฎเกณฑการอยูรวมกัน เพื่อความสงบสขุ ของ สังคม 4. หลักเหตุผล หมายถึง การใชเหตุผลท่ีถกู ตองในการตดั สินหรือยุติปญหาในสังคม ในวิถชี วี ติ ของ สังคม ประชาธิปไตย ผูคนตองรูจกั รับฟงเหตผุ ลของผูอ่ืน ไมด้ือดึงในความคิดเห็นของตน จนคนอืน่ มองเราเปน คนมี มิจฉาทิฐิ 5. หลักการเสยี งขางมาก ( Majority rule) ควบคไู ปกบั การเคารพในสิทธิของเสียงขางนอย ( Majority Rights) การตดั สินใจใดๆ ท่สี งผลกระทบตอประชาชนหมูมาก ไมวาจะเปน การเลือกตง้ั ผูแทนของประชาชน เขาสูระบบการเมือง การตัดสินใจของฝายนติ ิบญั ญตั ิ ฝายบรหิ าร หรือฝายตุลาการ ยอมตองถือเอาเสยี งขาง มากท่ีมีตอเรื่องนั้นๆ เปนเกณฑในการตัดสินทางเลือก โดยถือวาเสียงขางมากเปนตัวแทนทสี่ ะทอนความ ตอง การ ขอเรียกรองของประชาชนหมูมาก หลักการน้ี ตองควบคไู ปกับการ เคารพและคุมครองสิทธิเสยี งขาง น อยดวย ท้งั นีก้ ็เพ่ือเปนหลกั ประกนั วา ฝายเสยี งขางมากจะไมใชวิธกี าร พวกมากลากไปตามผลประโยชน ความเหน็ หรอื กระแสความนิยมของพวกตนอยางสุดโตง แตตองดาํ เนินการเพอื่ ประโยชนความเหน็ ของ ประชาชนทงั้ หมดเพ่อื สรางสงั คมที่ประชาชนเสียงขางนอย รวมทัง้ ชนกลุมนอยผูดอยโอกาสตางๆ สามารถอยู รวมกนั ไดอยางสันติสุขโดยไมมีการเอาเปรยี บกนั และสรางความขัดแยงในสงั คมมากเกินไป

6. หลกั ประนีประนอม หมายถงึ การลดความขัดแยงโดยการผอนหนักผอนเบาใหกนั รวมมือกันเพ่ือ เห็นแก ประโยชนของสวนรวมเปนสาํ คัญ เรื่องท่ี 3 แนวทางการปฎิบตั ิตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธปิ ไตย คุณลกั ษณะของพลเมอื งดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตย พลเมอื งดีตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตยควรมแี นวทางทางปฎิบัติตน ดงั น้ี คอื 1). ดานสงั คม ไดแก - การแสดงความคิดอยางมเี หตุผล - การรบั ฟงขอคิดเหน็ ของผูอนื่ - การยอมรบั เมอ่ื ผูอื่นมีเหตุผลทีด่ กี วา - การตดั สินใจโดยใชเหตผุ ลมากกวาอารมณ - การเคราพระเบียบของสังคม - การมี จติ สาธารณะ คือ เหน็ แกประโยชนของสวนรวมและรักษาสาธารณสมบัติ 2). ดานเศรษฐกิจ ไดแก - การ ประหยดั และอดออมในครอบครัว - การซอื่ สัตยสจุ รติ ตออาชพี ทท่ี าํ - การพฒั นางานอาชีพใหกาวหนา - การ ใชเวลาวางใหเปนประโชยนตอตนเองและสังคม - การสรางงานและสรางสรรคส่งิ ประดิษฐใหมๆ เพ่ือใหเกดิ ประโชยนตอสงั คมไทย และสังคมโลก - การเปนผูผลติ และผูบริโภคทีด่ ี มีความซอ่ื สัตย ยึดมั่นในอุดมการณท่ี ดตี อชาติ เปนสําคญั 3). ดานการเมืองการปกครอง ไดแก - การเคราพกฎหมาย - การรบั ฟงขอคดิ เห็นของทกุ คนโดยอดทนตอความขดั แยงทเ่ี กดิ ขนึ้ - การยอมรับในเหตุผลท่ดี ีกวา - การซื่อสัตยตอหนาท่โี ดยไมเหน็ แกประ โยชนสวนตน - การกลาเสนอความคิดเหน็ ตอสวนรวม กลาเสนอตนเองในการทําหนาที่ สมาชิกสภาผูแทน ราษฎร หรอื สมาชิกวฒุ สิ ภา - การทํางานอยางเต็มความสามารถเตม็ เวลา 6 การสนับสนุนสงเสรมิ บคุ คลอ่ืนให ปฎิบตั ติ นเปนพลเมืองดี สังคมไทยในปจจบุ ัน เปนสังคมที่มีความซับซอนสงู มาก ในสังคมและมีบุคคลท่ีมี ความคิดและความเชื่อ ทห่ี ลากหลาย ดังนนั้ นอกจากบคุ คลจะปฎิบตั ิตนเปนพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตยแล ว บุคคลจะตองพยายาม สนบั สนนุ และสงเสรมิ ใหบุคคลอ่นื โดยเฉพาะบุคคลในครอบครัว เพือ่ นฝงู ใหปฎิบตั ิ ตนเปนพลเมืองดีได วธิ กี าร สนบั สนนุ และสงเสรมิ บคุ คลอนื่ ใหเปนพลเมืองดี มีดังน้ี 1. สงเสรมิ ความสามคั คี ประวัตศิ าสตรชาตไิ ทยไดพสิ จู นใหเหน็ ชัดเจนวา ยามใด ทส่ี ังคมขาดไรซึง่ ความสมัครสมานสามัคคี ยามน้นั สงั คมจะประสบกับมหันตภัย ความรกั ใครสามคั คที าํ ใหประเทศชาติสามารถตงั้ ม่ันอยูไดตราบทุกวนั น้ี ดังคาํ สุภาษติ ท่ีวา “สามคั คคี ือพลงั ” ทชี่ ีใ้ หห็นคุณคาอันสูงสงของความสามคั คี การปฎบิ ตั หิ นาที่ การทาํ งานที่ ไดรับ มอบหมาย บางครง้ั เปนการยากที่จะทําใหสําเรจ็ ดวยคนเพียงคนเดียว การสงเสริมใหบุคคลเขามาชวยกนั ทํา งานดวยความเต็มใจและต้ังใจจึงเปนสิง่ ทสี่ ําคญั ความสามัคคจี ะเกิดขึน้ ไดจะตองมพี ื้นฐานของความจรงิ ตอ กนั เพราะหากคนในสังคมขาดความจรงิ ใจตอกนั การทํางานหรือการติดตอสมาคมระหวางกันจะติดขดั ไม ราบรน่ื เนื่องจากแตละฝายจะไมไววางใจกนั ซ่งึ นอกจากความจริงใจตอกันจะตองปราศจากอคติตอกัน เพราะ มิเช นนัน้ จะมกี ารนําความรูสึกสวนตน ความชอบ ความโกรธ ความเกลียดมาใชในการประกอบกิจกรรมตางๆ ร วมกัน หากเปนเชนนแี้ ลวความสามัคคสี มานฉนันทยอมไมอาจเกดิ ขน้ึ ได สังคมน้นั จะอดุ มไปดวยความ หวาดระแวง ไมมีพลงั เชิงสรางสรรคทีจ่ ะผลกั ดนั สังคมใหกาวหนาอยางตอเน่ือง การสงเสรมิ ความสามคั คี สามารถทําไดหลายประการ เชน การจัดใหมกี ารประชมุ หรือ ปรึกษากิจการตางๆ อยางสมํ่าเสมอ และลงมือ ทาํ กจิ กรรมตางๆ อยางพรอมเพียงเปนนํ้าหน่ึงใจเดียวกนั จนกระทง่ั สาํ เรจ็ ลลุ วง การระดมสมองเพ่ือคนหาป ญหา สาเหตแุ ละแนวทางการแกไข การสรางทีมงานโดยมีการแบงงานกนั ทาํ ตามความชาํ นาญเฉพาะ และมี การ เชอ่ื มโยงงานทท่ี ําใหประสานสอดคลองกนั 2. ไมชกั นําเพอื่ นไปในทางท่ีผดิ สังคมไทยในปจจบุ นั ให ความสาํ คัญกับความเจริญทางดานวัตถมุ ากกวาคุณคาทางจิตใจ สงั คมวัตถนุ ิยม สงั คมบรโิ ภคนิยม สังคมท่ี บรโิ ภคเงินตรา และโภคทรัพยกลายเปนเครื่องชี้วดั คุณคาของคนโดยไมคาํ นึงดาน คุณธรรม จริยธรรม คนท่ีมี

เงินไดรับการยกยองวาเปนคนดี ความมีหนามตี า มเี กยี รติของบคุ คลวัดดวยจํานวน เงนิ ดวยเหตุน้ีคนจึงตอง แสวงหาเงินใหมากทสี่ ดุ โดยไมคํานึงวาจะเปนวธิ ีการท่ีถูกตองหรอื ไม หรอื ไมชอบตอ คุณธรรม จริยธรรม กฎหมายและสงั คมจะเสียหายหรือไม เชนการเลนการพนัน การฉอราษฎรบงั หลวง การ เสพยาเสพตดิ พฤติกรรมดังกลาวจะทําใหผูปฎบิ ตั เิ สอ่ื มเสยี แลวยังทาํ ให สังคมเสื่อมทรามดวย เชน การเลนการ พนันเปนสิ่ง ทผี่ ิดกฎหมาย ประเทศชาติขาดแรงงานสําคัญในการพัฒนาประเทศ สังคมจงึ ควรช้ชี วนคนในสงั คม ใหเกดิ มโน สาํ นกึ ตอความถูกตองดงี ามคํานงึ ถงึ ประโยชนตอสวนรวม และสนับสนุนสงเสริมใหบคุ คลอื่นปฏิบัติ ตนเปนพล เมอื งดี 3. สงเสรมิ สนั ตวิ ิธี ในสังคมประชาธิปไตยเคารพและใหความสําคญั กับการแตกตางหลากหลายท้งั ในนิติ ของความคิดเห็น วัฒนธรรม คานิยม ความเชื่อ ศาสนา ฯลฯ ความแตกตางหลากหลายน้ัน หากไมมกี าร จัดการอยางเหมาะสม อาจจะนาํ ไปสูความขัดแยงในสังคมไดงาย ในสงั คมประชาธปิ ไตย มนษุ ยตองอยูรวมกัน บนพืน้ ฐานของหลักการใหความเคารพในเหตผุ ล การ เคารพซึง่ กันและกนั ในฐานะท่ีเปนมนษุ ย การใหความช วยเหลือเกือ้ กลู ยอมทําใหสงั คมอยูรวมกันอยางสันติสุข สงั คมไทยมคี วามหลากหลายดานเชื้อชาติ ศาสนา วฒั นธรรม การประกอบอาชีพ การศึกษา แตพลเมืองก็ยงั 7 สามารถดํารงชวี ิตรวมกันไดอยางผาสุก ใชหลัก ความสนั ติเปนแนวทางสําคัญในการขจัดความขัดแยงทั้งความ รุนแรงและเร่ืองทั่วไปเปนอยางดี การสงเสริม สนั ติวธิ ีสามารถกระทําไดโดยการยึดหลักเหตุผล การเปดกวาง การยอมรับความแตกตาง ในมติ ติ างๆ ทมี่ ีใน สังคมจะนาํ ไปสูสันติวิธีอันเปนหลกั การสําคญั ของประชาธิปไตย 4. การชน่ื ชมบุคคลอ่ืน เมื่อมีการกระทําความ ดีเกิดขนึ้ เชน การชวยเหลอื เพอ่ื น การเก็บของไดสงคนื เจาของ การแสดงความ กตัญ ูตอบพุ การี การรวม กจิ กรรมอนุรักษมรดกไทยของโรงเรียนและชมุ ชน การชื่นชมบคุ คลท่ีทําความดี เหลานี้สามารถกระทาํ ไดหลาย รปู แบบ เชน การประกาศความดีหนาเสาธงใหสมาชิกในโรงเรียนไดรบั ทราบ การประกาศยกยองชมเชยผาน การจัดปายนิเทศ การมอบรางวัลความดี จะชวยใหบุคคลอื่นเหน็ คุณคาและหนั มาทาํ ความดมี ากขึน้ ใน สังคมไทยไดมกี ารแสดงออกลักษณะในระดับชาตดิ วย เชน การยกยองบคุ คลใหเปน พลเมอื ง การยกยองใหรบั รางวลั แมดเี ดน การยกยองบุคคลใหเปนศลิ ปนแหงชาติ เปนตน 5. สงเสริมใหรักความยุตธิ รรม สงเสรมิ ใหยดึ มน่ั ในความดี ความถูกตอง ไมลําเอียง กระทาํ การทั้งปวงโดยปราศจากอคติ ใช ปญญาไตรตรองวเิ คราะห เหตุผลอันจะเกิดขนึ้ โดยสมควรแกเหตุ และตระหนกั รูวาพึงปฎิบัติอยางไรจึงจะ พอเหมาะ พอควรแกเหตุนน้ั ๆ การสงเสริมความยตุ ธิ รรมสามารถทําไดโดยรูจกั จําแนกผลประโยชนสวนตนออก จากผลประโยชนสาธารณะ ยึดถือหลักเหตผุ ลและความสมเหตสุ มผล โดยไมเลอื กปฎิบตั ิและไมปกปองส่ิงที่ไม ถูกตอง 6. การสราง มติ รภาพ ในการเปนมติ รท่ดี ีตอกัน เราตองพยายามท่ีจะเขาใจผูอนื่ กอนทจี่ ะเรยี กรองใหคนอื่นมาเขา ใจเรา นอกจากนค้ี วามเขาใจระหวาง “เรา” และ “เขา” จะตองเปนความเขาใจรวมกันโดยมุงผลประโยชน สวนรวม เปนหลัก และในการทํางานรวมกนั นน้ั ทัง้ “เรา” และ “เขา” จะตองทําแบบ “สนับสนุน” และ “สงเสรมิ ” ไมขดั แยงกันและไมมงุ ทําลายกัน 7. การแสดงความไมลาํ เอยี ง ความลาํ เอียงท่ีสําคญั มี 4 ประการ คือ ความ ลําเอียงเพราะรักใคร ความลาํ เอียงเพราะไมชอบ กัน เพราะความลําเอยี งเพราะโงเขลา ความลําเอยี งเพราะ กลัวหรอื เกรงใจกนั ซึง่ สิง่ เหลาน้ีจะกอใหเกิดปญหามาก เพราะถาเห็นวาการปฎิบตั ิแบบนีท้ ําใหไดดี คนกจ็ ะ ปฎบิ ตั ติ ามและจะนาํ ไปสูความวุนวายในสังคมได ดังนั้นการ แสดงความไมลําเอียงจึงมีความสาํ คัญ การไม ลําเอยี ง หมายถึง การกระทําดวยความเปนกลาง ปราศจากอคตทิ ้ังปวง กระทําส่งิ ตางๆอยางมี สติปญญา คอื

พจิ ารณาเห็นผลอันเกิดขน้ึ โดยสมควรแกเหตผุ ลรูวาพงึ ปฎิบัติอยางไรจึงเหมาะสมกับเหตุน้ัน รูวา ส่ิงใดผดิ ส่ิง ใดถูกผใู ดทก่ี ระทําผิดกไ็ มปกปอง บคุ คลที่กระทําไดยอมไดรบั การยอมรบั การยกยองวาเปนผูที่มี ความยุติธรรม และยังจะเปนแบบอยางท่ีใหบุคคลอื่นถอื ปฎิบตั ิไดดี เรอื่ งท่ี 4 การสงเสรมิ การเปนพลเมืองดีตามวถิ ี ประชาธิปไตย การทส่ี มาชกิ ในสงั คมประชาธิปไตยรูจกั ปฎิบัติตนเปนพลเมืองดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย ยอม เกดิ ผลดี ตอ สังคมและประเทศ ดงั น้ี 1. ทําใหสังคมและประเทศชาติมกี ารพัฒนาไปไดอยางม่นั คง เพราะการ ท่ีทกุ คนมสี วนรวมในการแสดง ความคดิ เหน็ อยางหลากหลาย และมีเหตุผลในงานหรือโครงการตางๆ ทั้งใน ระดบั ชุมชนถงึ ระดับประเทศ 8 ตลอดจนเปดโอกาสใหคนที่มีความรูความสามารถไดรวมการทํางาน ยอมส งผลใหการทาํ งานและผลงานนนั้ มี ประสทิ ธภิ าพ 2. ทาํ ใหเกิดความรักและความสามัคคใี นหมูคณะ เพราะเมื่อ มกี ารทาํ กิจกรรมรวมกันยอมมคี วาม ผูกพัน รวมแรงรวมใจในการทํางานทั้งปวงใหบรรลเุ ปาหมายได 3. สังคม มีความเปนระเบยี บเรยี บรอย เพราะทกุ คนตองปฎิบัติตามระเบยี บกติกาของสังคม ซง่ึ เปน กฎเกณฑท่ที กุ คน ยอมรับ 4. สังคมมีความเปนธรรม เม่ือสมาชิกทุกคนไดรับสิทธิ หนาที่ เสรภี าพ จากกฎหมายเทาเทียมกันทํา ให สมาชิกทุกคนไดรับการปฎิบัตอิ ยางยุตธิ รรม กอใหเกดิ การเปนธรรมในสงั คม 5. ทาํ ใหสมาชกิ ทกุ คนใน สังคมมคี วามเอ้ือเฟอเผื่อแผและมนี ้ําใจตอกัน โดยยึดหลกั ศีลธรรมเปน พนื้ ฐานในการปฎิบัติตอกนั ตามวถิ ี ประชาธปิ ไตย การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยเปนการปกครองที่อาํ นาจมาจากประชาชนและจะถือมติของ เสียง สวนใหญ การดาํ เนนิ ชีวติ ของสมาชิกในสงั คมประชาธิปไตยจะอยูบนพน้ื ฐานหลกั การของประชาธปิ ไตย จะอยู บนพ้ืนฐานหลักการของประชาธิปไตย เชน หลักอํานาจเปนของปวงชน หลกั ความเสมอภาค หลกั สิทธิ เสรภี าพ และหนาท่ี เปนตน ประชาชนในสงั คมประชาธปิ ไตยจะมสี ทิ ธแิ ละเสรีภาพเทาเทยี มกนั และถา ประชาชนปฎบิ ตั ิ ตนเปนพลเมอื งดตี ามวถี ีประชาธิปไตย จะทาํ ใหสังคมและประเทศมีความเจริญกาวหนาและ สามารถอยูรวมกนั ในสงั คมไดอยางสนั ตสิ ขุ การเปนพลเมืองดีไมเพียงพอแตปฎิบตั ิตนตามสทิ ธิเสรภี าพ ปฎบิ ตั ิ หนาทตี่ ามกฎหมาย โดยไมกระทาํ การใดๆ ท่ีจะกอใหเกดิ ความเดอื ดรอน หรอื กอใหเกิดความเสยี หายแกผูอ่นื ประชาชนทุกคนจะตองคาํ นึงถงึ หลกั การสาํ คัญท่ีวา จะตองดูแลตนใหเปนคนมีคณุ ภาพ ชวยเหลอื และ รบั ผดิ ชอบตนเองได รวมทั้งชวยเหลอื ดูแลคนรอบขาง ชวยกนั ดแู ลชุมชนและสังคม ดังนน้ั การเปนพลเมืองดี ในสงั คมประชาธิปไตยจงึ ตองเปนคนมี คุณภาพท้งั 3 ดาน คอื สติปญญา จติ ใจ และพฤติกรรมทีด่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook