การจัดการเรยี นรูแ้ บบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (PROJECT- •BASED LEARNING) การจดั การเรียนรู้แบบใชโ้ ครงงานเป็นฐาน หมายถงึ การจัดการเรยี นรูท้ ่ีมีครูเป็นผู้ กระตุ้นเพ่อื นาความสนใจทเ่ี กิดจากตวั นกั เรยี นมาใช้ในการทากิจกรรมคน้ คว้าหา ความรดู้ ้วยตัวนักเรยี นเอง นาไปสู่การเพิ่มความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการลงมือปฏิบตั ิ การฟัง และการสังเกตุจากผู้เชี่ยวชาญ โดยนักเรยี นมกี ารเรียนรผู้ า่ นกระบวนการทางาน เปน็ กลุ่ม ท่ีจะนามาส่กู ารสรปุ ความรใู้ หม่ มีการเขียนกระบวนการจัดทาโครงงาน และไดผ้ ลการจัดกจิ กรรมเป็นผลงานแบบรปู ธรรม (ดษุ ฎี โยเหลาและคณะ, 2557: 19-20)
ความหมาย • MCDONELL (2007) ได้กลา่ ววา่ การเรียนรู้แบบโครงงานเปน็ รูปแบบ หน่ึงของ CHILD- CENTERED APPROACH ทเี่ ปิดโอกาสให้นักเรียนได้ ทางานตามระดบั ทักษะที่ตนเองมอี ยู่ เป็นเร่ืองทสี่ นใจและรสู้ ึกสบายใจท่ี จะทา
ลักษณะของการเรยี นรู้แบบโครงงาน •นกั เรยี นกาหนดการเรียนรู้ของตนเอง •เช่อื มโยงกับชีวติ จรงิ สง่ิ แวดลอ้ มจริง •มฐี านจากการวิจยั หรอื องคค์ วามรู้ทีเ่ คยมี •ใช้แหลง่ ขอ้ มลู หลายแหลง่ •ฝังตรงึ ดว้ ยความรแู้ ละทกั ษะบางอย่าง (EMBEDDED WITH KNOWLEDGE AND SKILLS) •ใช้เวลามากพอในการสร้างผลงาน •มผี ลผลติ
•การเรยี นรแู้ บบโครงงานน้ัน มีแนวคดิ สอดคลอ้ งกบั JOHN DEWEY เรอ่ื ง “LEARNING BY DOING” ซ่งึ ได้กลา่ ววา่ “EDUCATION IS A PROCESS OF LIVING AND NOT A PREPARATION FOR FUTURE LIVING.” (DEWEY JOHN, 1897: 79 CITE IN DOULADELI EFSTRATIA, 2014)
•สอดคลอ้ งกบั หลกั พัฒนาการคิดของ BLOOM ทั้ง 6 ข้ัน คือ ความรู้ ความจา (REMEMBERING) ความเข้าใจ (UNDERSTANDING) การ ประยุกตใ์ ช้ (APPLYING) การวิเคราะห์ (ANALYZING) การประเมนิ ค่า (EVALUATING) และ การคิดสรา้ งสรรค์ (CREATING)
ขนั้ ตอนการทาโครงงาน •1. การคิดและเลือกหวั เรื่อง •2. การวางแผน •3. การดาเนนิ งาน •4. การเขยี นรายงาน •5. การนาเสนอผลงาน
โครงงานแบง่ เปน็ 4 ประเภท •โครงงานประเภทสารวจ •โครงงานประเภทการทดลอง •โครงงานประเภทการพัฒนาหรือประดษิ ฐ์คิดค้น •โครงงานประเภทการสร้ างหรืออธิบายทฤษฎี
ลกั ษณะของโครงงาน •OTOP: ONE TOPIC ONE PROJECT •OSOP: ONE SUBJECT ONE PROJECT •OCOP: ONE COURSE ONE PROJECT
MIAP
MIAP
MI
AP
MIAP
COOPERATIVE LEARNING • THINK-PAIR-SHARE • คดิ (THINK) ผูส้ อนกระตุ้นใหผ้ เู้ รียนคิดโดยการตงั้ คาถาม กาหนดหวั ข้อให้คน้ ควา้ สังเกต ผู้เรียนใชเ้ วลาในการคดิ เกยี่ วกบั คาถามหรือหวั ข้อนนั้ ๆ ประมาณไมเ่ กนิ 2-3 นาที • จับคู่ (PAIR ) ให้ผเ้ รู ยี นจบั คกู่ นั (BUDDIES) คุยกันเกยี่ วกบั คาตอบทแี่ ตล่ ะคนคดิ ไดแ้ ละให้เปู รยี บเทยี บคาตอบของแตล่ ะคนที่ ได้คดิ หรือเขียนมาแลว้ ให้วเิ คู ราะห์คาตอบเหลา่ นนั้ วา่ คาตอบใดเปน็ คาตอบทผี่ ู้เรู ียนคดิ ว่าดู ที สี่ ดุ เข้าูใจไดง่ายทสี่ ดุ หรอื โดดเดน่ ที่สุด • แบง่ ปัน (SHARE ) หลังจากใหผ้ เ้ รู ียนจบั คคู่ ยุ กนั แลว้ (ไม่ควรใหเ้ วู ลานาน) ผูส้ อนเรียกผเู้ รยี นแตล่ ะคใู่ ห้แบู ง่ ปนั ความคดิ ของ ผูเ้ ูรยี นกบั เพอื่ นๆ ในชัน้ เรียน
COOPERATIVE LEARNING •JIGSAW •ครูผู้สอนมอบหมายใหส้ มาชกิ ในกลุ่มแต่ละกลุม่ ศึกษาเนือ้ หาทีก่ าหนดให้ สมาชกิ แต่ละคนจะถกู กาหนดโดยกลมุ่ ให้ศกึ ษาเนื้อหาคนละตอนทีแ่ ตกตา่ งกนั ผูเ้ รียนจะไปทางานร่วมกับสมาชิก กลุม่ อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายใหศ้ กึ ษาเนือ้ หาทีเ่ หมอื นกัน หลังจากที่ทุกคนศึกษาเนือ้ หานนั้ จน เข้าใจแลว้ จงึ กลับเข้ากลุ่มเดิม แล้วเลา่ เรื่องทีต่ นศกึ ษาใหส้ มาชิกคนอื่น ๆ ในกลุ่มฟัง โดย เรียงตามลาดับเรื่องราว เสร็จแลว้ ให้สมาชกิ ในกลุม่ คนใดคนหน่ึงสรุปเนื้อหาของสมาชิกทกุ คน เข้าด้วยกัน
COOPERATIVE LEARNING •INSIDE-OUTSIDE CIRCLE •นักเรียนนัง่ หรือยืนเป็นวงกลมซ้อนกนั 2 วง จานวนเท่ากัน วงในหันหน้าออกและวงนอกหนั หน้าเข้า นักเรียนที่อยูต่ รงกับจับคู่กันเพือ่ สัมภาษณ์หรืออภปิ รายปัญหาร่วมกัน จากนั้นจะ หมุนเวียนเพื่อเปลี่ยนคูใ่ หมไ่ ปเรื่อยๆ ไม่ซา้ คู่กัน โดยนักเรียนวงนอกและวงในเคลื่อนไปในทศิ ทางตรงขา้ มกัน ( KAGAN. 1995
COOPERATIVE LEARNING •STAD (OR STUDENT-TEAMS-ACHIEVEMENT DIVISIONS) •จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ซึ่งกาหนดใหน้ กั เรยี นทมี่ คี วามสามารถแตกต่างกัน ทางาน รว่ มกันเปน็ กลมุ่ ๆ ละ 4-5 คน ซง่ึ ประกอบดว้ ย นักเรยี นทเี่ รยี นเกง่ 1 คน นักเรยี นทีเ่ รียน ปานกลาง 2-3 คน และนักเรียนที่เรียนออ่ น 1 คน
COOPERATIVE LEARNING •TGT (OR TEAM GAME TOURNAMENT) •มีลักษณะของกจิ กรรมคล้ายกันกับ STAD แต่เพิม่ เกมและการแข่งขันเข้า มาดว้ ย
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: