Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore _รายงานสามัคคีเภทคำฉันท์

_รายงานสามัคคีเภทคำฉันท์

Published by ธนกฤษ จงรักษ์, 2021-07-04 14:49:45

Description: _รายงานสามัคคีเภทคำฉันท์

Search

Read the Text Version

๔๗ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ ลาภผลสกลบรร ลุก็ปน กแ็ บง ไป ตามนอยและมากใจ สุจริตนิยมธรรม พงึ มรรยาทยึด สปุ ระพฤติสงวนพรรค รอื้ ริษยาอัน อุปเฉทไมตรี ถอดความไดว้ า่ ผลประโยชนท ั้งหลายทีเ่ กิดขน้ึ กแ็ บงปนกนั ไป มากบางนอ ยบา งอยา งเปน ธรรม ควรยดึ มน่ั ในมารยาทและความประพฤติทีด่ งี าม รกั ษาหมคู ณะโดย ไมม คี วามรษิ ยากันอนั จะตดั รอนไมตรี บทประพันธ์ ผิบไรส มคั รมี ดั่งนัน้ ณหมใู ด พรอมเพรยี งนพิ ัทธนี รววิ าทระแวงกัน หวงั เทอญมิตอ งสง สยคงประสบพลนั ซึง่ สุขเกษมสันต หิตะกอบทวิการ ถอดความไดว้ า่ ดงั นัน้ ถาหมคู ณะใดไมขาดซึง่ ความสามัคคี มีความพรอมเพรยี งกนั อยู เสมอ ไมม ีการววิ าท และระแวงกนั ก็หวังไดโ ดยไมตอ งสงสัยวา คงจะพบซงึ่ ความสขุ ความสงบ และประกอบดว ยประโยชนมากมาย

๔๘ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ ใครเลา จะสามารถ มนอาจระรานหาญ หกั ลางบแหลกลาญ กเ็ พราะพรอมเพราะเพรยี ง ปวยกลา วอะไรฝงู นรสงู ประเสริฐครนั ฤๅสรรพสตั วอ ัน เฉพาะมชี วี คี รอง ถอดความไดว้ า่ ใครเลา จะมใี จกลา คิดทําสงครามดวย หวงั จะทาํ ลายลา งกไ็ มได ท้ังนี้เพราะความพรอ มเพรยี งกันนัน่ เอง กลาวไปไยกับมนษุ ยผูป ระเสริฐ หรือสรรพสตั วท่ีมีชวี ติ บทประพันธ์ ผวิ ใครจะใครลอ พลหกั ก็เตม็ ทน แมม ากผิกง่ิ ไม สละล้ณี หมูตน มัดกาํ กระนั้นปอง บมพิ รอ มมเิ พรียงกนั เหลา ไหนผิไมตรี กจิ ใดจะขวายขวน ถอดความไดว้ า่ แมแตกิ่งไมห ากใครจะใครล องเอามามดั เปน กํา ต้ังใจใชก าํ ลังหกั ก็ยาก เต็มทน หากหมูใดไมมีความสามัคคใี นหมคู ณะของตน และกิจการอัน ใดทจ่ี ะตองขวนขวายทําก็มิพรอ มเพรียงกนั

ถอดคาํ ประพันธ์ ๔๙ บทประพันธ์ สุขท้ังเจรญิ อัน ลไุ ฉนบไดมี อยา ปรารถนาหวงั พภยนั ตรายกลี มวลมาอุบตั บิ รร ติประสงคกค็ งสม ปวงทุกขพิบตั ิสรร แมป ราศนิยมปรี ถอดความไดว้ า่ กอ็ ยาไดหวงั เลยความสขุ ความเจริญจะเกดิ ข้นึ ไดอ ยา งไร ความทุกขพิบตั ิ อนั ตรายและความชว่ั รายทงั้ ปวง ถงึ แมจ ะไมตอ งการก็จะตอ งไดรบั เปน แนแท บทประพันธ์ คณะเปนสมาคม ภนพิ ัทธราํ พึง ควรชนประชุมเชน ผวิ มีกค็ าํ นงึ สามคั คิปรารม จะประสบสขุ าลยั ไปมีก็ใหมี เนื่องเพื่อภยิ โยจึง ถอดความไดว้ า่ ผูท ่อี ยูร วมกนั เปน หมคู ณะหรอื สมาคม ควรคาํ นงึ ถึงความสามัคคอี ยูเปนนจิ ถายังไมม ีก็ควรจะมขี ึน้ ถามีอยแู ลว กค็ วรใหเ จรญิ รุงเรืองย่งิ ข้นึ ไปจึงจะถึง ซึง่ ความสขุ ความสบาย

๕๐ อธิบายคาํ ศัพท์ยาก กถา ถอยคํา กลหเ หตุ กสกิ เหตแุ หง การทะเลาะ ไกวล ขตั ตยิ  ชาวนา คดี คม ทว่ั ไป ชเนนทร ทม พระเจาแผนดิน ทบทิ ภาว ทัว่ บรุ คาม เรอื่ ง ทิช ไป ทิน นครบร (ชน+อนิ ทร) ผูเปนใหญใ นหมชู น นย, นยั นยมาน ความขม ใจ นรนกิ ร นฤพัทธ, นิพทั ธ ยากจน นฤสาร ทั่วบา นท่วั เมือง เกดิ เปนคนโดยทว่ั ไปคร้ังหนึง่ และเกดิ เปน พราหมณโดย ตําแหนง อกี ครงั้ หน่ึง วนั เมืองของขาศึก เคา ความ ความหมาย ใจความสําคญั ฝงู ชน เนืองๆ เสมอ เน่ืองกัน ไมมีสาระ

๕๑ อธิบายคาํ ศัพท์ยาก นิวัต กลบั นรี ผล ประเด นไี มเ ปน ผลมอบใหหมด ประศาสน ปรากรม มอบใหห มด ปรงุ โสต ปลาย การส่งั สอน ปวัตน พฤฒิ ผเู ฒา ความเพียร พิเฉท พชิ ากร ตกแตงใหไพเราะนา ฟง พทุ ธทิบัณฑิต ภัต หายไป ภาโรปกรณ ภินทพ ทั ธสามัคคิย บางทใี ชว า ปวตั ติ์ หมายถึง ความเปน ไป ภยิ โย ภรี กุ หมายถึง วสั สการพราหมณ ภูมศิ มน ทําลาย การตัดขาด มนารมณ วิชาความรู ผูรู มพี ระพุทธเจาเปนตน ขา ว (จัดทํา) เคร่อื งมือตามที่ไดร บั มอบหมาย การแตกสามัคคี ย่งิ ขนึ้ ไป ขลาด กลวั พระราชา ใจ สมดังทค่ี ดิ หรือสมดงั ใจ

๕๒ มาน อธิบายคาํ ศัพท์ยาก ยกุ ติ รหฐุ าน รโหฐาน ความถอื ตวั ลักษณสาสน ยุติ จบสิ้น เลา หมายถึง ที่สงัด ที่ลบั วญั จโนบาย จดหมาย วลั ลภชน รปู ความ ขอ ความ เคา วริ ธุ อุบายหลอกลวง สมรรคภนิ ทน คนสนทิ สมคั รภาพ ผดิ ปกติ สหกรณ การแตกสามคั คี สํ่า ความสมคั รสมานสามคั คี สกิ ขสภา หมูเหลา สขุ าลยั หมู พวก เสาวน หองเรียน เสาวภาพ ที่ทมี่ คี วามสขุ หายน ฟง หิตะ สภุ าพ ละมนุ ละมอม เหย้ี มนั้น หายน ความเส่ือม อนัตถ ประโยชน เหตุนน้ั ไมเปนประโยชน

๕๓ อนกุ รม อธิบายคาํ ศัพท์ยาก อภเิ ผา อาคม ตามลาํ ดับ อปุ ดฉทไมตรี ผูเ ปนใหญ อุรส โอรส มา มาถึง อฬุ ุมปเวฬุ ตดั ไมตรี เอาธูน ลกู ชาย เอาภา แพไมไผ อนาวรณญาณ เอาใจใสเปนธุระ รับภาระ รับผดิ ชอบ ความรอู ันไมมสี ่งิ ใดเปน เครอื่ งขัดขอ ง

๕๔ คณุ คา่ ของวรรณคดี ขอคิดท่ีควรพจิ ารณา จากเร่ืองสามคั คีเภทคําฉันท ๑. การขาดการพจิ ารณาไตรตรอง นําไปซ่งึ ความสญู เสีย ดงั เชน เหลากษัตรยิ ลจิ ฉวี “ขาดการพิจารณาไตรต รอง” คอื ขาดความสามารถในการใชป ญญาตริตรอง พจิ ารณาสอบสวน และใชเหตุผลทถี่ ูกตอ ง จงึ หลงกลของวัสสการพราหมณ ถกู ยแุ หยใ หแ ตกความสามัคคีจนเสยี บานเสียเมือง ในรชั กาลที่ ๖ ดวยเหตุทค่ี นไทย มีความคดิ เหน็ เกย่ี วกับการดาํ เนนิ กิจการบา นเมอื งแตกตางกนั หลายฝาย ซ่ึงสงผลกระทบตอ ความม่ันคงของประเทศ กวีจงึ นยิ มแตง วรรณคดีปลกุ ใจข้นึ เปนจาํ นวนมาก สามัคคีเภทคาํ ฉันทเ ปน เรอ่ื งหนึง่ ในจํานวนน้ัน นายชติ บุรทัต แตง เรอื่ งน้ีขนึ้ โดยมุงช้ีใหเ ห็นความสําคัญของความสามัคคี เพื่อบา นเมอื งเปนปก แผน มนั่ คง แตในปจจบุ ันกระแสชาตนิ ิยมลดลง แตค วามสามัคคีกเ็ ปนหลักธรรมสําคญั ในการทํางานรวมกันเปนหมคู ณะ วรรณคดเี รื่องน้จี ึงเปนเนอื้ หาท่ีมีคตสิ อนใจทันสมยั อยเู สมอ ๒. แนวคิดของเรื่องสามคั คเี ภท สามคั คเี ภทคําฉันท เปน นิทานสุภาษิตสอนใจ ใหเห็นโทษของการแตกความสามัคคี และแสดงใหเห็นความสาํ คญั ของการใช สตปิ ญญาใหเ กดิ ผลโดยไมต องใชก ําลัง

๕๕ ๓. ขอคดิ เห็นระหวา งวสั สการพราหมณกับกษัตรยิ ลิจฉวี บางคนอาจมี ทรรศนะวา วัสสการพราหมณข าดคณุ ธรรม ใชอุบายลอลวงผอู ่นื เพือ่ ประโยชนฝา ยตน แตมองอีกมมุ หน่ึงก็จะเหน็ วา วัสสการพราหมณนายกยอ ง ตรงที่มคี วามจงรกั ภักดตี อ พระเจา อชาตศตั รูและตอบา นเมอื ง ยอมถกู ลงโทษเฆ่ยี นตี ยอมลําบาก จากบา นเมอื งตนไปเสี่ยงภัยในหมศู ตั รู ดองใช ความอดทน สตปิ ญญาความสามารถอยา งสงู จงึ จะสมั ฤทธิผลตามแผนการ ท่ีวางไว สวนกษัตรยิ ลจิ ฉวเี คยใชหลักอปริหานิยธรรมรว มกนั ปกครองแควน วชั ชใี หม ่ันคงเจรญิ มาชานาน แตเ ม่อื ถูกวสั สการพรามหณใ ชอุบายยแุ หยใ ห แตกความสามคั คี กพ็ า ยแพศตั รไู ดโ ดยงา ยดาย ๔. เร่ืองสามัคคเี ภทคาํ ฉันทใ หอะไรกับผอู า น ขอ คิดสําคญั ท่ีไดจ ากเรือ่ ง คือ โทษของการแตกความสามคั คี สว นแนวคิดอ่นื ๆ มีดงั นี้ ๔.๑ การใชป ญ ญาเอาชนะศัตรโู ดยไมเสยี เลอื ดเนื้อ ๔.๒ การเลือกใชบุคคลใหเ หมาะสมกับงานจะทาํ ใหง านสาํ เร็จไดดวยดี ๔.๓ การใชว จิ ารณญาณไตรตรองกอ นทาํ การใด ๆ เปนสงิ่ ท่ีดี ๔.๔ การถือความคิดของตนเปน ใหญแ ละทะนงตนวาดีกวาผอู นื่ ยอ มทาํ ให เกดิ ความเสียหายแกสวนรวม

๕๖ ๕. ศิลปะการประพันธใ นสามัคคเี ภทคาํ ฉันท นายชติ บุรทัต สามารถสรา งตวั ละคร เชน วสั สการพราหมณ ใหม บี คุ ลกิ เดนชดั และสามารถดาํ เนินเรื่องให ชวนตดิ ตาม นอกจากน้ี ยงั มีความเชยี่ วชาญในการแตงคําประพันธ ดงั น้ี ๕.๑ เลอื กสรรฉันทชนดิ ตา ง ๆ มาใชส ลับกันอยา งเหมาะสมกับเนื้อเรอื่ ง แตละตอน เชน ใชว สันตดิลกฉันท ๑๔ ซงึ่ มีลีลาไพเราะ ชมความงามของ เมอื งราชคฤห ใชอ ที สิ งั ฉนั ท ๒๐ ซึง่ มลี ีลากระแทกกระทน้ั แสดงอารมณโกรธ ๕.๒ ดัดแปลงฉนั ทบางชนดิ ใหไพเราะยิง่ ข้ึน เชน เพิม่ สมั ผัสบงั คบั คําสุดทา ย ของวรรคแรกกับคาํ ท่ี ๓ ของวรรคท่ี ๒ ในฉนั ท ๑๑ ฉันท ๑๒ และฉันท ๑๔ เปนที่นยิ มแตงตามมาถึงปจ จุบัน นอกจากนี้ นายชิต บรุ ทตั ยงั เพ่ิมลักษณะ บังคับ ครุ ลหุ สลบั กนั ลงในกาพยส รุ างคนาง ๒๘ ใหม ีจังหวะคลายฉันทด วย ๕.๓ เลน สัมผัสในท้งั สัมผัสสระและสมั ผสั อักษรอยางไพเราะ เชน คะเนกล – คะนึงการ ระวงั เหือด – ระแวงหาย ๕.๔ ใชคํางา ย ๆ ในการเลาเรื่อง ทาํ ใหดาํ เนินเรอ่ื งไดร วดเร็ว และผอู า นเขาใจ เรือ่ งไดทันที ๕.๕ ใชคํางา ย ๆ ในการบรรยายและพรรณนาดัวละครไดอ ยา งกระชับ และ สรา งภาพใหเ หน็ ไดอ ยา งชดั เจน

๕๗ อปริหานิยธรรม ๗ ประการ ๑. หมน่ั ประชมุ กนั เนอื งนติ ย ๒. พรอ มเพรียงกันประชมุ พรอมเพรียงกันเลิกประชุม พรอมเพรยี งกันทํากจิ ที่พึงทาํ ๓. ไมบ ัญญัติส่งิ ทมี่ ิไดบ ญั ญตั ิเอาไว ไมลม ลา งสง่ิ ท่ีบัญญัติไว ถอื ปฏิบตั ติ าม วชั ชธี รรมตามทวี่ างไวเ ดิม ๔. ทา นเหลาใดเปนผูใหญใ นชนชาววชั ชี กค็ วรเคารพนับถือทา นเหลาน้นั เหน็ ถอ ยคําของทานวา เปนสงิ่ อนั ควรรบั ฟง ๕. บรรดากลุ สตรแี ละกุลกุมารีท้งั หลายใหอ ยูดี โดยมิถกู ขมเหงหรอื ฉดุ ครา ขืนใจ ๖. เคารพสักการบูชาเจดยี ของวัชชที ง้ั หลายทัง้ ภายในและภายนอก ไมปลอย ใหธรรมกิ พลที เ่ี คยใหเคยทําแกเ จดยี เหลา นนั้ เสือ่ มทรามไป ๗. จดั ใหความอารกั ขา คุม ครอง และปอ งกนั อนั ชอบธรรมแกพระอรหนั ตทั้ง หลายท้ังทยี่ งั มไิ ดมาพึงมาสแู วนแควนและทีม่ าแลวพึงอยูใ นแวน แควนโดย ผาสกุ

๕๘ คณุ คา่ งานประพันธ์ คุณคางานประพนั ธ ๑.ดานวรรณศิลป – ใชฉ ันทลกั ษณไดอยางงดงามเหมาะสม โดยเลือกฉันท ชนดิ ตา ง ๆ มาใชสลับกนั ตามความเหมาะสมกับเน้อื เร่ือง จงึ เกิดความไพเราะ สละสลวย – ใชภาษาทเี่ ขาใจงา ย เหน็ ภาพชดั เจน ๒. ดานสงั คม – เนนโทษของการแตกความสามคั คีในหมูคณะ – ดาน จรยิ ธรรม เนนถึงหลกั ธรรม อปรหิ านิยธรรม ซงึ่ เปน ธรรมอนั ไมเ ปนทีต่ ัง้ แหง ความเสือ่ ม – เนน ถึงความสาํ คัญของการใชส ตปิ ญญาตริตรอง และแกไข ปญ หาตาง ๆ โดยไมตอ งใชกําลัง

บรรณานุกรม ๕๙ คณุ คาของวรรณคดี สามคั คเี ภทคาํ ฉนั ท.//(๒๕๔๑).//สืบคม เม่ือ วันที๑่ ๒ มิถนุ ายน ๒๕๖๔./จาก/ https://sites.google.com/site/kikkum2541/bth-wikheraah/khunkha- dan-sangkhm?fbclid=IwAR1W6PS_Ga5-HmBVeA2jK5KXiEPezYJfARhHWAAU2- hlyHlJvx2HoPE1y8U จดุ ประสงคในการแตง สามัคคเี ภทคาํ ฉันท. //(๒๕๕๖).//สืบคม เมอื่ วนั ท๙่ี มถิ ุนายน ๒๕๖๔./จาก/ https://nidkawkong.wordpress.com ถอดคาํ ประพนั ธ สามคั คเี ภทคําฉนั ท. //(๒๕๕๓).//สบื คม เมอื่ วันท่ี๑๑ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔./จาก/ https://www.gotoknow.org/blog/kanyanee-sm ทมี่ าของเร่ือง สามัคคเี ภทคําฉันท. //(๒๕๕๐).//สบื คมเมือ่ วนั ท๙่ี มถิ ุนายน ๒๕๖๔./จาก/ https://sites.google.com/site/faiitanradee19/samakhkhi-pheth-kha- chanth ประวัตผิ ูแ ตง นายชิต บุรทัต สามัคคีเภทคาํ ฉันท. //(๒๕๕๔).//สืบคม เมือ่ วันท๗ี่ มถิ ุนายน ๒๕๖๔./จาก/ https://sites.google.com/site/samakhithekhchanth เรอื่ งยอ สามัคคเี ภทคําฉันท สามคั คเี ภทคําฉนั ท.//(๒๕๕๒).//สบื คม เมือ่ วนั ท่ี๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๔./จาก/ https://www.gotoknow.org/posts/283759? ลกั ษณะคําประพันธ สามัคคเี ภทคาํ ฉันท. //(๒๕๔๑).//สืบคมเมือ่ วนั ที่๙ มิถุนายน ๒๕๖๔./จาก/ https://sites.google.com/site/kikkum2541/lak-s-ra-kha-praphanth วิชชมุ มาลาฉันท ๘ สามคั คีเภทคําฉนั ท. //(๒๕๕๔).//สบื คม เม่ือ วันท่ี๙ มิถนุ ายน ๒๕๖๔./จาก/ https://krupiyarerk.wordpress.com/2011/10/04 สามัคคีเภทคําฉนั ท เร่อื งของกษตั ริยล จิ ฉวี.//(๒๕๕๖).//สืบคมเม่อื วันที่๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔./จาก/ https://hngaolakorn.wordpress.com อปริหานยิ ธรรม ๗ ประการ สามคั คีเภทคาํ ฉนั ท.//(๒๕๔๓).//สบื คม เม่อื วนั ท่ี๑๒ มิถนุ ายน ๒๕๖๔./จาก/ https://www.baanjomyut.com/library_3/extension- 3/aparihaniya/index.html? fbclid=IwAR3Y1d0EAsAbCl858VbQAOEC1fOw0MVuwO3fPSOLXv5LgtNzNLuJ8g9P7IE อธบิ ายคําศพั ทยาก สามคั คเี ภทคําฉนั ท.//(๒๕๕๑).//สบื คม เมอ่ื วันท่ี๑๒ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔./จาก/ หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย วรรณคดีวจิ กั ษ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท 6่ี อนิ ทรวเิ ชียรฉนั ท ๑๑ สามคั คีเภทคําฉนั ท. //(๒๕๕๔).//สบื คมเม่ือ วันที๙่ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔./จาก/ https://krupiyarerk.wordpress.com/2011/10/02


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook