สารพวงชมพู ปที 9 ฉบับที 2 มิถุนายน 2564 0-7621-7653 โรงเรยี นอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต [email protected] 454/2 ถนนภูเก็ต ตําบลตลาดใหญ่ www.phuketkidsschool.com อําเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต
ทาํ ความรู้จัก อนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ปรัชญา ประวัติของโรงเรียน พัฒนาความพร้อม เสริมสร้างคุณธรรม โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต สังกัดสํานัก การศึกษา เทศบาลนครภูเก็ต เปดสอนระดับปฐมวัย วิสัยทัศน์ ( 4 – 6 ป ) ตังอยู่เลขที 454/2 ถนนภูเก็ต ตําบลตลาดใหญ่ อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ในทีดิน โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต พัฒนาผู้เรียน ของราชพัสดุ เลขที 247 และเลขที 248 มีเนือที 2 ให้มีคุณภาพ สือสารสองภาษา มีทักษะกระบวนการ ไร่ 3 งาน 68 ตารางวา ทางวิทยาศาสตร์และก้าวทันเทคโนโลยี น้อมนํา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่ความเปนเลิศ เทศบาลนครภูเก็ต ได้ประกาศจัดตังโรงเรียน ด้านการบริหารจัดการ อนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ขึนเปนโรงเรียนสังกัด เทศบาลนครภูเก็ต ลําดับที 6 เมือวันที 13 อัตลักษณ์ พฤศจิกายน 2549 ตามประกาศเทศบาลนครภูเก็ต ลงวันที 14 พฤศจิกายน 2549 โดยได้เริมก่อสร้าง สุขภาพดี ร่าเริงแจ่มใส มันใจในตนเอง อาคารเรียน เปนอาคาร คสล. 2 ชัน 10 ห้องเรียน เมือ พ.ศ. 2549 สร้างด้วยงบประมาณรายจ่าย เอกลักษณ์ ของเทศบาลนครภูเก็ต ประจําปงบประมาณ 2548 เปนเงิน 9,740,000 บาท โดยห้างหุ้นส่วนจํากัด สะอาดตา น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน กําไรการช่าง ส่งมอบอาคารเรียนเมือวันที 26 มิถุนายน 2550 เปดทําการสอนครังแรก พันธกิจ ในปการศึกษา 2551 เมือวันที 12 พฤษภาคม 2551 โดยได้มีการโอนย้ายบุคลากรและนักเรียน ระดับ 1. จัดประสบการณ์ ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน อนุบาลของโรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว ให้มีทักษะชีวิตเหมาะสมกับวัย จํานวน 8 ห้องเรียน จํานวน 324 คน ครู 2. สรรหาและพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา และบุคลากร จํานวน 12 คน มาสังกัดโรงเรียน ให้เพียงพอตรงตามมาตรฐานตําแหน่งวิชาชีพ อนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต โดยมี นายวินัย 3. ประสาน สร้าง และยกระดับการมีส่วนร่วม สุริยปราการ ผู้อํานวยการโรงเรียนเทศบาล ทางการศึกษาอย่างต่อเนือง ยังยืน มันคง บ้านบางเหนียว รักษาการในตําแหน่งผู้อํานวยการ 4.จัดหาและพัฒนาปจจัย เทคโนโลยี ทรัพยากร โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ทางการศึกษา ให้เพียงพอมีคุณภาพได้มาตรฐาน 5. บริหารจัดการศึกษาได้มาตรฐานสอดคล้อง ปจจุบัน (ปการศึกษา 2564) มีห้องเรียนจํานวน 16 กับนโยบายของรัฐ ห้อง นักเรียนจํานวน 416 คน ครูและบุคลากร 6. น้อมนําแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ จํานวน 49 คนภายใต้การบริหารงานของ เพียงมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน นางภัททิรา สุวรรณรัฐภูมิ ผู้อํานวยการสถานศึกษา และนางสาวปาล์มวรรณ อินจันทร์ รองผู้อํานวยการ สถานศึกษา 1 : สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564
เจ้าของ สารบัญ โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต 3 ทีปรึกษา ข่าวประชาสัมพันธ์ นางภัททิรา สุวรรณรัฐภูมิ 4 นางสาวปาล์มวรรณ อินจันทร์ สกู๊ปพิเศษ กองบรรณาธิการ 7 นางจรรจุรีย์ คล้ายเถาว์ รอบรวั ท.6 นางชฎาพร ทวิสุวรรณ สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 : 2 นางพวงศรี แซ่ตัน นางสาวคันธารัตน์ ช่วยเมือง นายพีระพล ศรีธรรม ออกแบบและจัดทําโดย นายพีระพล ศรีธรรม งานประชาสัมพันธ์ ฝายบริหารทัวไป โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต โทร. 0-7621-7653
ข่าวประชาสัมพันธ์ 3 : สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564
สกู๊ปพิเศษ เด็กอนบุ าล ควรเรยี นรูภ้ าษาอังกฤษหรอื ยงั ? คําถามทีมักจะถูกถามอยู่เสมอว่า เด็กในวัย 3-6 ขวบ ควรเรียนภาษาอังกฤษเปนภาษาทีสอง ควบค่ไู ปกบั การเรียนภาษาไทยหรือไม่ หากเราเอาคนในวัย 40 ปขึนไปมาเปรียบเทียบ ก็อาจจะมองว่าเร็วเกนิ ไป ลาํ พังแค่ใหอ้ ่านออกเขียนภาษา ไทยยังงูๆปลาๆกันเลย ขืนให้เรียนภาษาอังกฤษจะเปนการยดั เหยียดเกินไป เด็กจะเครียดไปโดยไม่จําเปน แต่ใน ยุคปจจุบัน ภาษาอังกฤษกลายเปนภาษาสากลสาํ หรับการสือสารกับคนทัวโลก แม้แต่ในประเทศกลมุ่ อาเซยี นยัง กําหนดให้ภาษาอังกฤษเปนภาษากลางในการติดต่อซึงกนั และกัน วันนีในทุก ๆ วันกจิ กรรมต่างใช้ ภาษาอังกฤษ ไม่ว่าจะเปนเรืองจริงจังในธรุ กิจ หรือในการสือสารทัวไป รศ.ดร.ชาตรี ฝายคําตา นักวิชาการแห่งคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มองว่าเหน็ ด้วยทีจะมี การสอนภาษาอังกฤษให้กับเด็กปฐมวัย เพือจะได้คุ้นเคยและเรยี นรูภ้ าษาตังแต่เด็ก เพราะเด็กจะเรยี นรูไ้ ด้ดี และเร็วกว่าตอนโต “ภาษาเปนธรรมชาติ คนไทยเกิดมา พอ่ แมพ่ ูดภาษาไทยกับเรา เราก็เรียนรูอ้ ัตโนมตั ิ ซงึ เปนการเรยี นภาษา พูดก่อนจะไปการอ่านหรือการเขียน” รศ.ดร.ชาตรี มองว่าเด็กปฐมวัยควรเริมต้นจากการฟงและพดู แบบธรรมชาติ ครูต้องพดู และคยุ กบั เด็กมากขึน ส่วนเรืองไวยากรณ์อาจจะไม่เน้นมากในวัยนี เพราะการเรยี นของเด็กในวัยปฐมวัยเปนการเรยี นรู้สิงต่าง ๆ รอบตัว เด็ก ทังในด้าน สังคม อารมณ์ ร่างกาย และสติปญญา เด็กนันจะเรียนรู้ได้กต็ ่อเมือเด็กได้เล่น ได้สัมผัสหยบิ จับ นอกจากนี ในวัยดังกล่าวการเรียนรู้ไม่ได้ขึนอยู่กับครูในโรงเรยี นเท่านันพอ่ แม่ผปู้ กครองสามารถทีจะสอนเด็กได้ เอง โดยฝกให้ร้องเพลง a-z หรือเพลงเด็กทีเปนภาษาอังกฤษ และหนังการต์ ูนทีมีซบั ไทย และนิทานต่าง ๆ ทีมี เปนภาษาอังกฤษและภาษาไทยอยู่ในเล่มอะไรเดียวกนั ซึงปจจุบัน สอื ต่าง ๆ เหล่านหี าได้ไม่ยาก สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 : 4
สกู๊ปพิเศษ เด็กในชว่ งวัยนเี ปนชว่ งทีพฒั นาการได้อยา่ งรวดเรว็ ในทกุ ๆด้าน ดังนนั จําเปนต้องการความรกั และความเอาใจใสจ่ ากพอ่ แม่ (ขอ้ เท็จจรงิ อยา่ งหนงึ กค็ ือ เด็กอยูใ่ นโรงเรยี น 6-8 ชวั โมง ทีเหลอื อยูก่ บั พอ่ แมห่ รอื ผปู้ กครอง) การสง่ ลกู ไปเรยี นในโรงเรยี นเอกชนทีค่าใชจ้ ่ายสงู ๆ จึงไมใ่ ชท่ างออกทางเดียว พฒั นาการทีจะพฒั นาได้นนั ต้องอาศยั การเรยี นรูจ้ ากสงิ ต่างๆรอบตัวและสมั ผสั ทัง 5 (ตา หู จมกู ปาก สมั ผสั ) ขอ้ สาํ คัญเด็กจะเลยี นแบบผใู้ หญท่ ีอยูใ่ กลช้ ดิ เขามากทีสดุ “การเรยี นภาษาอังกฤษ เปนความจําเปนและสาํ คัญสาํ หรบั เด็กในยุคปจจุบนั แต่สงิ ทีสาํ คัญกว่านนั คือการทําใหเ้ ด็กมคี วามสขุ สนกุ สนานในการเรยี นรู้ ไมใ่ ชเ่ ปนการบงั คับ เด็กจะได้ไมร่ ูส้ กึ เปน “ยาขม” เหมอื นกบั วิชาคณติ ศาสตรห์ รอื วิทยาศาสตรท์ ีเด็กสมยั นมี กั บน่ ว่ายาก เพราะการเรยี นรูเ้ ด็ก ถกู สรา้ งด้วย การบงั คับ แต่ขาดการกระต้นุ หรอื สรา้ งแรงจูงใจ” ทําไมต้องเริมเรียนภาษาตังแต่อายุ 3-4 ขวบ? งานวิจัยจาก Harvard University ยืนยันว่า ยิงเรยี นภาษาใหม่ตอนอายุทีน้อยกว่าเท่าไหร่ ทักษะการคิด สร้างสรรค์ การคิดแบบเชิงวิพากย์ และความยืดหยุ่นของจิตใจจะถกู พัฒนาขึนได้มากกว่าอยา่ งมนี ัยสาํ คัญ ในชว่ ง ปฐมวัย โดยเฉพาะอย่างยิง 3 ปแรกของชีวิต นกั วิจัยเชอื ว่าเปนช่วงทีสําคัญทีสดุ ในชวี ิตเด็ก เพราะเปนพืนฐาน สําคัญในการพัฒนาทัศนคติ ความคิด และการเรียนรูข้ องตนเองและผคู้ น พูดง่าย ๆ เลย ในการเรียนภาษาใหม่ ยิงเริมเรยี นเรว็ เท่าไหร่ยิงดีกว่า เพราะเด็กสามารถเลยี นแบบเสียงใหม่ ได้เร็วกว่า และจําสําเนียงได้เร็ว สมองของเด็กเปดรบั เสียงใหม่ ๆ และรูปแบบต่าง ๆ ในช่วงก่อนโตเปนวัยรุน่ ในช่วงอายุนี เด็กเล็กจะมีเวลาเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเรยี นปนเลน่ บทเรยี นภาษาควรเปนแบบไม่ทางการ เช่น การเรียนรู้ผ่านเพลงเด็ก หรือการฟงเพลงกลอ่ มเด็ก เพราะเด็กวัยนยี งั ไม่พร้อมสาํ หรับการเรียนเชิงวิชาการ หรืออะไรทีดูเปนทางการ ซึงจะทําให้เด็กขาดความมนั ใจและเกิดความกลัวในการเรียนภาษาได้ “เด็กมีความสามารถในการเรียนรู้โดยธรรมชาติ ซึงจะถูกพัฒนาในชว่ งอายุ 3-4 ป” การใช้ความสามารถในการเรียนรู้นันถูกกระตุ้นได้มากกว่า ดังทีงานวิจัยลา่ สุดกล่าวไว้ว่า การเรียนภาษาใหม่ นันเปนเรืองง่ายพอ ๆ กับเรียนภาษาแม่ มันอาจดูเหมือนเปนเรอื งยาก แต่จริง ๆ แลว้ ไม่เลย สมองของมนุษย์นันมีความสามารถพิเศษมากมาย ตังแต่แรกเกิด เราทุกคนกเ็ รยี นรู้ทักษะต่อไปนไี ด้ ด้วยตัวเองอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเปน การมองเห็น ชมิ รส ได้กลิน ฟงเสียง สมั ผัส และลงมือทํา จากข้อมูลทีได้รวบรวมไว้พบว่า สิงทีเราได้เรียนรู้ในวัยเด็กจะเติบโตในช่วงเปนผู้ใหญ่ ผลการวิจัยพบว่า 50% ของความสามารถในการเรียนรู้จะถูกพัฒนาตอนอายุ 3 ปจนถึงชว่ งอายุ 4 ป และอีก 30 % ในชว่ งอายุ 8 ป นีจึงเปนเหตุผลทีทําไมถึงควรเรียนภาษาใหม่ตังแต่อายุ 3 ขวบ นอกจากนียังพบอีกว่า เด็กทีเติบโตมาด้วยการเรยี นรูภ้ าษาใหม่ จะมคี วามเห็นอกเห็นใจคนอืนและมีความ สนใจอยากรู้อยากเห็นในเรืองวัฒนธรรมและแนวคิดทีแตกต่าง ซึงเตรียมพร้อมพวกเขาสําหรับการเปนพลเมือง โลก มีความใส่ใจเรืองทีเกิดขึนในโลก ในวงกว้าง สนใจคนอืน มากไปกว่านนั การรู้ภาษาใหมย่ งั สร้างโอกาส ด้านการทํางานทีมากกว่าอีกด้วย กาแลคซี อะคาเดมี ได้เล็งเห็นถึงความสําคัญเหล่านจี ึงได้ศึกษา ค้นคว้า และสร้างแอปพลิเคชนั สอนภาษา อังกฤษ เพือพัฒนาการทีดีทีสุดของเด็กในวัยนีใหส้ ามารถเลยี นแบบเสียง และจําสาํ เนยี งได้เรว็ เราจึงนาํ นวัตกรรมทีลาสมัยไม่เปนพิษเปนภัยต่อเด็กมาใช้เพือเสริมสร้างการเรียนรูผ้ า่ นแอปพลิเคชนั การต์ ูนฝกภาษา อังกฤษ ให้เด็ก ๆ ได้สนุกไปกับดนตรีสอนภาษา และตัวการต์ ูนสดุ น่ารกั เพอื ให้เขาได้เรยี นภาษาอังกฤษ ผา่ นการ พูดคุยโต้ตอบกับเหล่าตัวการ์ตูนได้อย่างเปนธรรมชาติ ขอบคุณบาทความจาก : OK MASS, https://galaxykids.ai/th 5 : สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564
สกู๊ปพิเศษ โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ร่วมกับศูนย์นวัตกรรมการศึกษา Siam i-Edu Center ได้นําหลกั สตู ร การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ Kids Brown Wings ซึงเปนโปรแกรมภาษาอังกฤษบูรณาการทางการศกึ ษา (Integrated English Program for Kindergarten) พฒั นาโดยมหาวิทยาลยั บราวน์ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า (Brown University) U.S.A. มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษสาํ หรับห้องเรยี น Intensive English Program (IEP) ควบคู่กับการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โดย Kids Brown Wings เปนโปรแกรมภาษาอังกฤษบูรณาการทางการศึกษา บูรณาการเนอื หาการเรยี นรู้ ทีหลากหลายวิชา เช่น คณิตศาสตร์, วิทยาศาสตร์, ดนตรี, สงั คม, ศลิ ปะ, Thinking, การออกเสยี ง Phonics ในหนึงโปรแกรม การเรียนการสอนด้วยโปรแกรมให้มีความสนกุ ด้วยเทคนิคต่างๆ อย่างหลากหลาย อาทิ ร้อง เล่น เต้น นทิ าน เพลง การ์ตูน มัลติมีเดีย บูรณาการเนือหาการเรียนรู้ใหเ้ ปนเรืองราว (Story) ฝกทักษะทัง 4 ทักษะการเรียนรู้ ฟง พูด อ่าน เขียน มีชุดการเรียนรู้ทีประกอบไปด้วยหนังสอื แบบฝกหัด ทีมีความเหมาะสมกบั เนือหาบทเรียน ช่วงวัยและพัฒนาการของเด็ก รวมทังโปรแกรมการเรยี นรู้ทีสามารถติดตังกบั อุปกรณ์การเรียนให้เด็กๆ สามารถ เรียนรู้ได้ทุกสถานที ทุกเวลา และยังช่วยส่งเสริมการเรยี นรู้ทักษะด้านภาษาอังกฤษและพฒั นาจินตนาการ ไปพร้อมๆ กัน และทีสําคัญบูรณาการความคิดของเด็กๆ ให้สรา้ งสรรค์ เสริมสรา้ งจินตนาการ สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 : 6
รอบรัว ท.6 วันที 7 มิถุนายน 2564 ฝายบริหารวิชาการ โรงเรยี นอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ดําเนินการกจิ กรรมนเิ ทศ ห้องเรียนน่าอยู่ เพือเตรียมความพร้อมสําหรับการเปดภาคเรียนที 1 ปการศกึ ษา 2564 โดยการตรวจติดตาม การจัดห้องเรียนและสภาพแวดล้อมภายในห้องเรยี น การจัดมมุ การเรียนรู้ รวมทังการจัดเตรยี มวัสดุ สงิ ของ เครืองใช้สําหรับนักเรียน 7 : สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564
รอบรัว ท.6 วันที 10 มิถุนายน 2564 กองสาธารณสุขและสงิ แวดลอ้ ม เทศบาลนครภเู กต็ ดําเนินการฉดี ล้าง ทําความสะอาดพืนบริเวณโรงเรียนเพือเตรียมความพร้อมสาํ หรับการเปดภาคเรยี นที 1 ปการศึกษา 2564 สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 : 8
รอบรัว ท.6 วันที 10 มิถุนายน 2564 นางภัททิรา สุวรรณรัฐภมู ิ ผู้อํานวยการสถานศกึ ษา พร้อมด้วยนางสาวปาลม์ วรรณ อินจันทร์ รองผู้อํานวยการสถานศึกษา และคณะครูโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเกต็ ร่วมสังเกตการณ์การประเมนิ ความพร้อมในการจัดทําหลักสูตรพัฒนาผู้เรียนสู่ความเปนเลศิ ณ ห้องประชุมโรงเรยี นเทศบาลปลูกปญญา ในพระอุปถัมภ์ฯ 9 : สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564
รอบรัว ท.6 วันที 11 มิถุนายน 2564 คณะครูและบุคลากร โรงเรยี นอนุบาลเทศบาลนครภูเกต็ จัดเตรียมแบบฝกหดั / ใบงาน เพือให้เด็กๆ ใช้สําหรับการเรียนแบบ On Hand ทีบ้าน ระหว่างวันที 14 - 30 มถิ ุนายน 2564 รวมทังจัดเตรียมนม เพือให้นักเรียนดืมระหว่างทีมีการจัดการเรียนรู้แบบ On Hand และ Online สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 : 10
รอบรัว ท.6 วันที 12 - 13 มิถุนายน 2564 นางภัททิรา สวุ รรณรัฐภมู ิ ผอู้ ํานวยการสถานศึกษา พร้อมด้วยนางสาวปาล์มวรรณ อินจันทร์ รองผู้อํานวยการสถานศึกษา คณะครูและบุคลากร โรงเรยี นอนุบาลเทศบาลนครภเู ก็ต เขา้ รว่ มโครงการ จัดทําแผนพัฒนาการศึกษา ทบทวน Blue Print ด้านการศกึ ษา กจิ กรรมการอบรมการจัดทําแผนพฒั นาการศึกษา (พ.ศ. 2566 - 2570) ปงบประมาณ 2564 ระหว่างวันที 12 - 13 มถิ นุ ายน 2564 โดยการบรรยายแบบออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Google Meet ร่วมกับสํานักการศึกษา เทศบาลนครภูเก็ต และโรงเรียนในสังกดั เทศบาลนครภเู กต็ 11 : สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564
รอบรัว ท.6 วันที 13 มิถุนายน 2564 โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภเู กต็ ขอขอบคุณทีมงานฆา่ เชอื โครงการภเู กต็ ปลอดเชอื โควิด-19 ปลอดโรคและปลอดภัย นําโดยนายเรวัต อารรี อบ นายกองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดภูเกต็ คณุ วัชรินทร์ อารีรอบ ว่าทีร้อยตรีสมเกียรติ จิรอมรรัตน์ และทีมงานภเู กต็ หยัดได้ ทีมงานเรวัตหยัดได้ ทีได้ฉดี พ่นยาฆา่ เชอื ภายใน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการพิเศษ ห้องสํานักงาน โรงอาหาร ทางเดิน และบรเิ วณต่างๆ ของโรงเรยี นอนุบาลเทศบาล นครภูเก็ต สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 : 12
รอบรัว ท.6 วันที 14 - 15 มิถุนายน 2564 ผู้ปกครองนักเรยี นชันอนุบาล 2 - 3 รับแบบฝกหัด / ใบงาน เพือให้เด็กๆ ใช้สําหรับการเรียนแบบ On Hand ระหว่างวันที 14 - 30 มิถุนายน 2564 รวมทังจัดเตรยี มนมเพอื ให้นักเรียนดืม ช่วงเรียนทีบ้าน 13 : สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564
รอบรัว ท.6 วันที 14 มิถุนายน 2564 นางภัททิรา สุวรรณรฐั ภูมิ ผู้อํานวยการสถานศกึ ษา พร้อมด้วยนางสาวปาลม์ วรรณ อินจันทร์ รองผู้อํานวยการสถานศึกษา และคณะครู โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ร่วมปฐมนิเทศนักศึกษา ฝกประสบการณ์วิชาชีพครู จากสาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเกต็ ณ ห้องประชุม โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภเู กต็ สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 : 14
รอบรัว ท.6 วันที 16 มิถุนายน 2564 นางภัททิรา สุวรรณรฐั ภูมิ ผอู้ ํานวยการสถานศึกษา พร้อมด้วยนางสาวปาล์มวรรณ อินจันทร์ รองผู้อํานวยการสถานศึกษา และคณะครูโรงเรยี นอนุบาลเทศบาลนครภเู ก็ต ร่วมใหก้ ารต้อนรับ นางอําไพ จันทร์เงิน ผู้อํานวยการสํานักการศึกษา เทศบาลนครภเู กต็ เนอื งในโอกาสตรวจเยยี มการดําเนินงาน ในด้านต่างๆ ของโรงเรียน รวมทังการเตรียมความพรอ้ มสาํ หรับการเปดเรียนแบบ On Site (เรยี นทีโรงเรยี น) ในวันที 1 กรกฎาคม 2564 15 : สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564
รอบรัว ท.6 วันที 17 มิถุนายน 2564 นางภัททิรา สุวรรณรัฐภมู ิ ผู้อํานวยการสถานศึกษา พรอ้ มด้วยนางสาวปาลม์ วรรณ อินจันทร์ รองผู้อํานวยการสถานศึกษา โรงเรียนอนบุ าลเทศบาลนครภเู ก็ต ร่วมการประชุมพจิ ารณางบประมาณ รายจ่าย ประจําปงบประมาณ 2565 โดยมีนายสาโรจน์ อังคณาพลิ าส นายกเทศมนตรีนครภูเกต็ เปนประธาน พร้อมด้วย คณะผู้บริหาร หัวหน้าส่วนราชการ และหน่วยงานทีเกียวข้อง เขา้ รว่ มฯ ณ หอ้ งประชุมเทศบาล นครภูเก็ต ชัน 3 สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 : 16
รอบรัว ท.6 วันที 17 มิถุนายน 2564 นางภัททิรา สุวรรณรฐั ภูมิ ผู้อํานวยการสถานศึกษา พร้อมด้วยนางสาวปาลม์ วรรณ อินจันทร์ รองผู้อํานวยการสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ใหก้ ารต้อนรบั ดร. นัฎชฎารตั น์ ณ นคร อาจารย์จากคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏภเู กต็ เนอื งในโอกาสนเิ ทศการปฏิบัติงานนกั ศกึ ษาฝก ประสบการณ์วิชาชีพครู เพือให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกยี วกับเทคนคิ วิธกี ารจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน การนําองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน เรยี นรูส้ ภาพความเปนจรงิ ของสถานศึกษา บทบาทและหน้าทีของครู รวมทังองค์ประกอบของสถานศึกษา ประกอบด้วย 3 กระบวนการ คือ กระบวนการ บริหาร กระบวนการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา เพือการจัดการศึกษาทีมคี ุณภาพ 17 : สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564
รอบรัว ท.6 วันที 20 มิถุนายน 2564 นางภัททิรา สุวรรณรฐั ภมู ิ ผ้อู ํานวยการสถานศกึ ษา พร้อมด้วยนางสาวปาล์มวรรณ อินจันทร์ รองผู้อํานวยการสถานศึกษา คณะครูและบุคลากร โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภเู ก็ต เขา้ ร่วมประชุม ว่าด้วยเรืองการสรรหาและเลือกคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั พืนฐาน ตามกฎกระทรวงฯ 2564 โดยการประชุม แบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Google Meet รว่ มกบั นางอําไพ จันทรเ์ งิน สํานกั การศกึ ษา เทศบาลนครภูเกต็ และโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครภูเก็ต โดย ดร.สุวรรณ พิณตานนท์ ร่วมในการประชุม สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 : 18
รอบรัว ท.6 วันที 20 มิถุนายน 2564 นางภัททิรา สุวรรณรฐั ภมู ิ ผ้อู ํานวยการสถานศกึ ษา พรอ้ มด้วยนางสาวปาลม์ วรรณ อินจันทร์ รองผู้อํานวยการสถานศึกษา คณะครูและบุคลากร โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภเู ก็ต เขา้ ร่วมประชุม ว่าด้วยเรืองการสรรหาและเลือกคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั พืนฐาน ตามกฎกระทรวงฯ 2564 โดยการประชุม แบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Google Meet รว่ มกับนางอําไพ จันทร์เงนิ สาํ นักการศึกษา เทศบาลนครภูเก็ต และโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครภูเก็ต โดย ดร.สุวรรณ พณิ ตานนท์ รว่ มในการประชุม 19 : สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564
รอบรัว ท.6 วันที 25 มิถุนายน 2564 นางภัททิรา สุวรรณรัฐภมู ิ ผอู้ ํานวยการสถานศกึ ษา พร้อมด้วยนางสาวปาล์มวรรณ อินจันทร์ รองผู้อํานวยการสถานศึกษา คณะครูและบุคลากร โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเกต็ จัดกจิ กรรม Big Cleaning Day \"โรงเรียนสะอาด\" ด้วยการทําความสะอาดห้องเรยี น ห้องปฏิบัติการพเิ ศษ บรเิ วณโดยรอบ โรงเรียน และปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในโรงเรียน เพอื เตรียมความพรอ้ มสําหรับการเปดเรยี นแบบ On Site และเตรียมความพร้อมในการเปดจังหวัด \"Phuket Sanbox\" ในวันที 1 กรกฎาคม 2564 ทีสอดคล้องกับนโยบาย “จังหวัดสะอาด” ของจังหวัดภูเก็ต ในการนีได้รบั การสนับสนุนรถฉีดนาจากงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย สํานักปลัด เทศบาลนครภูเก็ต สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 : 20
รอบรัว ท.6 วันที 29 มิถุนายน 2564 นางภัททิรา สุวรรณรฐั ภมู ิ ผู้อํานวยการสถานศึกษา พร้อมด้วยนางสาวปาลม์ วรรณ อินจันทร์ รองผู้อํานวยการสถานศึกษา คณะครูและบุคลากร โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภเู กต็ รว่ มประชุม ออนไลน์เพือชีแจงแนวทางการดําเนินการประเมินระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา และประเมนิ ห้องเรียนคุณภาพ จากหน่วยงานต้นสังกัด ร่วมกบั นางอําไพ จันทรเ์ งิน ผอู้ ํานวยการสํานกั การศึกษา เทศบาล นครภูเก็ต และผู้บริหาร คณะครูของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครภูเกต็ ซงึ โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภเู ก็ต จะเข้ารับการประเมินในวันที 13 กรกฎาคม 2564 รวมทังฝายบริหารบุคลากรได้จัดประชุมครูและบุคลากร ครังที 2 ประจําปการศึกษา 2564 ประจําเดือนมิถนุ ายน 2564 เพือติดตามการดําเนินงานของสถานศกึ ษา และเตรียมความพร้อมสําหรับการเปดเรียนแบบ On Site ในวันที 1 กรกฎาคม 2564 21 : สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564
ทําความรู้จัก CHECKER วันที 25 มิถุนายน 2564 นางภัททิรา สุวรรณรฐั ภูมิ ผู้อํานวยการสถานศกึ ษา พร้อมด้วยนางสาวปาล์มวรรณ อินจันทร์ รองผู้อํานวยการสถานศึกษา คณะครูและบุคลากร โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภเู ก็ต จัดกจิ กรรม Big Cleaning Day \"โรงเรียนสะอาด\" ด้วยการทําความสะอาดห้องเรยี น ห้องปฏิบัติการพเิ ศษ บรเิ วณโดยรอบ โรงเรียน และปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในโรงเรียน เพอื เตรียมความพร้อมสําหรับการเปดเรียนแบบ On Site และเตรียมความพร้อมในการเปดจังหวัด \"Phuket Sanbox\" ในวันที 1 กรกฎาคม 2564 ทีสอดคล้องกบั นโยบาย “จังหวัดสะอาด” ของจังหวัดภูเก็ต ในการนีได้รับการสนบั สนนุ รถฉดี นาจากงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย สํานักปลัด เทศบาลนครภูเก็ต สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 : 22
ทําความรู้จัก CHECKER Checker เปน line official ทีเชือมต่ออยู่กับบัญชีไลนข์ องผูป้ กครองนักเรียน โดย Checker เปนระบบทีใช้ ในการบริหารจัดการข้อมูลของนักเรียนทีประกอบไปด้วย ขอ้ มูลการเข้า – ออก โรงเรยี น สถิติการมาเรยี น ของนักเรียน รวมทังใช้ในการแจ้ง/ติดตามขอ้ มูลข่าวสาร และประกาศต่างๆ จากทางโรงเรยี น ในการมาโรงเรียนแต่ละวันนักเรียนจะต้องสแกนใบหน้า ซึงทางโรงเรียนมจี ุดสแกนใบหน้าบริการไว้ 2 จุด คือ บริเวณโรงอาหาร อาคาร 2 และหน้าห้องธรุ การ อาคาร 3 เมอื นักเรยี นสแกนใบหนา้ แล้ว ระบบจะสง่ ขอ้ มลู การเข้าเรียนพร้อมทังภาพถ่ายของนักเรียนไปยงั ไลน์ Checker ของผู้ปกครอง เพอื เปนการยนื ยันการเขา้ เรยี น ของนักเรียน และนักเรียนจะต้องปฏิบัติในแนวทางเดียวกนั เมือออกจากโรงเรียนด้วยการสแกนใบหน้ากอ่ นกลบั บ้านทุกครัง ระบบจะส่งข้อมูลการออกจากโรงเรียนพรอ้ มทังภาพถ่ายของนกั เรียนไปยงั ไลน์ Checker ของผู้ปกครอง เพือเปนการยืนยันการออกจากโรงเรยี นของนกั เรยี น (ในระยะแรกของการเปดเรยี น นักเรียนเขา้ ใหม่ ทังสายชันอนุบาล 2 และสายชันอนุบาล 3 ยงั ไม่สามารถใช้งานระบบสแกนใบหนา้ ได้ จนกว่าโรงเรียนจะมี การถ่ายภาพนักเรียนและนําข้อมูลเข้าสู่ระบบเสร็จสิน เมอื สามารถใชง้ านได้ตามปกติแล้ว ทางโรงเรียนจะแจ้ง ให้ทราบอีกครัง ส่วนนักเรียนชันอนุบาล 3 ทีเปนนักเรียนเดิมของโรงเรียนสามารถใชง้ านได้ตามปกติ) 23 : สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564
แนะนาํ ห้องเรียน บรรยากาศภายในห้องเรียน ภายในห้องเรียนมีพืนทีกว้างขวาง เหมาะสมกบั การจัดการเรยี นรู้สําหรับเด็ก แสงสว่างเพียงพอ อากาศ ถ่ายเทสะดวก โดยมีนักเรียนเฉลียต่อห้อง 26 คน มุมการเรียนรู้ มุมเสริมทักษะและการพัฒนาการเด็กหรือมุมการเรียนรู้ เปนสถานทีจัดไว้ในห้องเรยี นเพอื ให้เด็กได้เล่นสือ และเครืองเล่นประเภทต่างๆ โดยมุมเสริมทักษะและการพฒั นาการเด็ก (มุมการเรียนรู)้ จะมีสือและเครอื งเลน่ จัดไว้ให้เด็กได้เล่น ซึงแต่ละมุมประสบการณ์จะมีลักษณะแตกต่างกัน ภายในห้องเรียนมมี มุ การเรียนรู้ 4 – 5 มุม การเรียนรู้ เช่น มุมหนังสือ/นิทาน มุมเกมการศกึ ษา มมุ ศลิ ปะ มมุ บล็อก มมุ ครัว เปนต้น สือการเรียนรู้ ทุกห้องเรียนติดตัง Projector พร้อมจอรับภาพขนาด 100 นิว และ Smart TV การจัดวางวัสดุ อุปกรณ์ สือ เครืองเล่น ครุภัณฑ์มีความเหมาะสมสอดคล้องกบั วัยและพัฒนาการ เพือให้เด็กสามารถใชห้ รอื ทํากิจกรรม ได้สะดวกด้วยตนเอง โดยวัสดุ อุปกรณ์ สือ เครอื งเล่น และครุภัณฑ์ ทีจัดใหส้ ําหรับเด็กปฐมวัยมหี ลากหลาย เช่น โต๊ะ เก้าอี กระดาน บอร์ดติดผลงาน ตู้เกบ็ ของใช้ประจําตัว สอื เครืองเลน่ เปนต้น ห้องนา ทุกห้องเรียนจะมีห้องนาภายในทุกห้อง ซึงภายในห้องนาประกอบด้วย อ่างลา้ งมอื พนื ทีอาบนา หอ้ งนาเด็ก จํานวน 5 ห้อง พร้อมสุขภัณฑ์สําหรับเด็ก และห้องนาครู จํานวน 1 ห้อง สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 : 24
แนะนาํ ห้องเรียน ห้องวิทยาศาสตร์โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต จัดสร้างขึนด้วยความรว่ มมือ ร่วมใจของทุกภาคส่วน เครือข่ายการจัดการศึกษา คณะกรรมการบริหารชมรมผู้ปกครองนักเรยี น รุ่นที 10 ภายใต้การบริหาร โดย ทันตแพทย์ประวิทย์ วีรสัตยานนท์ ประธานชมรมผู้ปกครองนักเรียน รองประธาน และคณะกรรมการ ผู้ปกครองนักเรียน รวมทังเทศบาลนครภูเก็ต คณะกรรมการสถานศึกษาขันพืนฐาน บริษัท และหา้ งรา้ นต่างๆ เปนห้องเรียนทีสร้างแรงบันดาลใจในการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ มสี ืออุปกรณ์การเรียนรู้ครบครนั การจัดทํา หลักสูตรบูรณาการทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของคณะครูทีรองรับการใช้งานห้องวิทยาศาสตร์ เด็กปฐมวัยเปนเด็กทีช่างสงสัยอยากรู้อยากเห็นต่อสิงแวดล้อมรอบตัวอยู่ตลอดเวลา เปนวัยทีมกี ารพัฒนา ทางสติปญญาสูงทีสุดของชีวิต ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จึงเปนทักษะทีเสรมิ สร้างใหเ้ ด็กสามารถ แสวงหาความรู้และแก้ปญหาได้ตามวัย ดังนันห้องวิทยาศาสตร์ จึงเปนห้องทีเน้นการทดลองวิทยาศาสตร์ แสนสนุกอย่างง่ายๆ เพือฝกการสังเกต สงสัย ตังคําถาม และทดลองด้วยตนเอง เปนการเริมต้นปลูกฝงใหเ้ ด็กๆ รักวิทยาศาสตร์ ด้วยการทดลองทีสนุก ได้หาคําตอบและทดลองด้วยตนเอง 25 : สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564
แนะนําห้องเรียน ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภเู ก็ต เปดใช้งานครังแรกเมือปการศึกษา 2562 ซึงได้รบั งบประมาณสนับสนุนจากเทศบาลนครภูเก็ต ภายในหอ้ งมีสือ วัสดุ ครุภัณฑ์ทีพร้อมส่งเสรมิ และสนบั สนุนเด็ก ให้สามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มที มีสิงอํานวยความสะดวกทีมีคณุ ภาพเหมาะสมและสนับสนนุ การเรียนรู้ ประกอบด้วย เครืองคอมพิวเตอร์สําหรับนักเรยี น เครืองคอมพิวเตอร์สําหรับครู เครอื งฉาย Projector พรอ้ มจอ รับภาพ ชุดเครืองเสียง และคอมพิวเตอร์ทุกเครืองเชอื มต่อด้วยระบบเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ต บรรยากาศ และสภาพแวดล้อมภายในห้องกว้างขวาง แลดูสะอาดตา แสงสว่างเพยี งพอ และมอี ุณหภมู ิเหมาะสมเอือต่อ การเรียนรู้ของเด็ก จะส่งผลทางบวกต่อเด็ก ทําใหเ้ ด็กเรียนรูอ้ ย่างมีความสุข มีความตังใจและกระตือรือร้น ในการเรียน ในปจจุบันทิศทางของการจัดการเรียนรู้ให้แกเ่ ด็กนัน มุง่ เน้นให้เด็กมที ักษะในศตวรรษที 21 คือเด็กต้อง สามารถคิดแก้ปญหา คิดวิเคราะห์ สือสารได้ และตระหนักรูส้ ิงต่างๆ ได้ทัวโลก รวมทังมีความสามารถทางเทคนคิ สามารถคิดสิงต่างๆ ได้ด้วยตัวเองมีทักษะด้านความรู้ความเข้าใจ ซึงทักษะเหลา่ นเี ปนสงิ สาํ คัญสาํ หรับชวี ิตประจํา วัน การทํางาน และเปนพลเมืองทีมีชีวิตอยูใ่ นศตวรรษที 21 ได้อย่างมคี วามสุข นอกจากนเี ด็กต้องสามารถเขา้ ถึง ข้อมูลข่าวสารองค์ความรู้ ทีจําเปนต่อการพฒั นาตนเองได้ เพมิ ความใฝรูข้ องเด็ก ซงึ จะชว่ ยใหเ้ ด็กกลายเปน ผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต การจัดการศึกษาให้เด็กได้เรียนรู้การใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยเี บืองต้น การใช้งานซอฟต์แวรเ์ บอื งต้น การเขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวรห์ รือสือ การแกป้ ญหาอย่างงา่ ยโดยใชข้ นั ตอนการแกป้ ญหา การแสดงลําดับขันตอน การทํางาน หรือการแก้ปญหาโดยใชภ้ าพ สัญลกั ษณ์ หรือขอ้ ความ ตลอดจนการเขยี น โปรแกรมสร้างลําดับของคําสังให้คอมพิวเตอร์ทํางาน โดยอาศยั กระบวนการเรียนรูโ้ ดยใช้การคิดเชิงคํานวณ และปญหาเปนฐาน (Problem based Learning) เพือเน้นใหเ้ ด็กเกดิ การเรยี นรู้ จากการฝกแก้ปญหาต่างๆ ผ่านกระบวนการคิด การปฏิบัติอย่างมีระบบ และสร้างองค์ความรู้ใหมจ่ ากการใช้ปญหาทีเกดิ ขนึ จริงในชวี ิต ประจําวันได้ สารพวงชมพู ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 : 26
โรงเรยี นอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต 454/2 ถนนภูเก็ต ตําบลตลาดใหญ่ อําเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต www.phuketkidsschool.ac.th
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: