หนว่ ยท่ี 5 วิชา การบญั ชีหา้ งหนุ้ สว่ น เรอ่ื ง การรบั หนุ้ สว่ นใหม่
การรับหุ้นสว่ นใหม่ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๐๔๐ ห้ามมิให้ชักนาเอาบุคคล ผู้อ่ืนเข้ามาเป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วน โดยมิได้รับความยินยอมของผู้เป็นหุ้นส่วนหมดด้วยกัน ทุกคน เว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอ่ืน ซึ่งสามารถสรุปได้ว่า การรับบุคคลอ่ืนเข้ามาเป็น หุ้นส่วน ต้องได้รับความยินยอมจากเป็นหุ้นส่วนทุกคน และเป็นผลทาให้เกิดเป็นห้างหุ้นส่วน ใหม่ ส่วนห้างหุ้นเดิมจะถือว่าล้มเลิกไป จึงต้องมีการทาสัญญาข้อตกลงของห้างหุ้นส่วนใหม่ โดยเฉพาะขอ้ ตกลงเกีย่ วกับเงนิ ทุน และส่วนแบ่งกาไรขาดทนุ ในการรับหุน้ สว่ นใหม่ หา้ งหุ้นส่วนอาจตกลงให้ใช้สมุดบัญชีชุดเดิมบันทึกรายการค้าต่อเนื่องกัน แต่ควรจะ ปรับปรุงบัญชีสินทรัพย์และหนี้สินต่าง ๆ ให้เป็นราคาทุนทดแทนปัจจุบัน (Current Relacement Cost) ก่อน และมีการปรบั ปรุงขอ้ ผิดพลาดต่าง ๆ กาไรขาดทนุ ท่ีเกิดจากการ ปรบั ปรุงจะนาไปแบง่ ใหห้ นุ้ สว่ นเดมิ ตามอตั ราสว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ เดมิ
การรบั ห้นุ สว่ นใหม่ มี 2 วธิ ี หุ้นส่วนใหม่ซื้อส่วนในทุนจากหุ้นส่วนเดิม โดยอาจซื้อส่วนในทุน 01 และสิทธิส่วนได้เสียทั้งหมด หรือบางส่วนจากหุ้นส่วนเดิมเพียงคน เดียว หรือหลายคนก็ได้ วิธีนที้ ุนของหา้ งหนุ้ ส่วนจะไมเ่ ปลย่ี นแปลง 02 หุน้ ส่วนใหม่นาสนิ ทรพั ยห์ รือเงินสดมาลงทุนในหา้ งหุน้ ส่วน วิธีน้ีทุน ของหา้ งหนุ้ ส่วนใหมจ่ ะเพิม่ ขน้ึ มากกวา่ เดมิ
01 . การรบั หนุ้ สว่ นใหมซ่ ือ้ สว่ นทนุ จากหุ้นส่วนเดิม วิธหี ้นุ ส่วนใหม่ซ้ือสว่ นในทนุ และสิทธิส่วนได้เสยี ท้ังหมด หรือบางส่วนจาก หุ้นส่วนเดิมเพียงคนเดียว หรือหลายคนก็ได้ โดยหุ้นส่วนใหม่จ่ายเงินให้กับ หนุ้ ส่วนเดิมที่ขายสิทธิ มูลค่าการซื้อขายส่วนในทุน อาจจะมีราคาเท่ากับราคา ตามบญั ชี มากกว่าราคาตามบัญชี หรือต่ากว่าราคาตามบัญชีก็ได้ การชาระเงิน หรือสินทรัพย์อ่ืนในการซื้อขายให้ถือเป็นรายการส่วนตัวระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย จะไม่มีการบันทึกบัญชีเงินสดในสมุดบัญชีของห้างหุ้นส่วน การบันทึกบัญชี จะเป็นดังนี้ Dr. ทุนของหนุ้ สว่ นเดมิ ทีข่ ายสทิ ธิ xx Cr. ทุนของหุ้นส่วนใหม่ทีซ่ อ้ื สทิ ธดิ ้วยจานวนทนุ ทีซ่ ้ือขายกัน xx
01 การบนั ทกึ บญั ชีการรบั หุ้นสว่ นใหม่ซ้ือสว่ นทุนจากหุ้นส่วนเดมิ มวี ธิ ีปฏิบตั ไิ ด้ 2 วธิ ี วิธรี บั หุ้นสว่ นใหม่โดยไมป่ รับปรุงบญั ชขี องห้างหนุ้ สว่ น กรณีน้ีหุ้นส่วนเดิมไม่ต้องการปรับปรุงบัญชีของห้างหุ้นส่วน ก่อนรับหุ้นส่วน ใหมด่ งั นั้นสมดุ บญั ชขี องห้างหุ้นส่วนจะบันทึกรายการเกี่ยวกับการโอนทุนของห้นุ ส่วน เดมิ ท่ีขายสทิ ธิ ไปเข้าบญั ชีทนุ ของหนุ้ ส่วนใหม่ ตวั อย่างที่ 1 วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ฟา้ และดนิ เป็นหุน้ ส่วนกนั ฟา้ มที ุน 100,000 บาท ดินมีทุน 80,000 บาท เมื่อวนั ท่ี 1 ตุลาคม 2562 ตกลงรบั น้าเข้ามา เป็นหุน้ ส่วนใหม่ โดยน้าซอ้ื ส่วนทุนจากฟา้ 2/5 และดนิ 1/4 โดยจ่ายเงินให้ 65,000 บาท หุ้นส่วนเดมิ แบ่งกาไรขาดทุนเท่ากัน
การบันทึกบัญชี พ.ศ.2562 สมดุ รายวันท่วั ไป เลขท่ี เดบติ หน้า 1 เดอื น วันท่ี บัญชี บาท สต รายการ 40,000 - เครดติ บาท สต ต.ค. 1 ทนุ -ฟ้า (100,000 x 2 /5) 20,000 - 60,000 - ทุน-ดนิ (80,000 x 1 /4) ทนุ -นา้ น้าซือ้ ส่วนทุนจากฟ้า 2/5 และดนิ 1/4 จานวนเงินท่ีไดร้ ับจากน้า จานวน 65,000 บาท จะไมน่ ามาบนั ทกึ บัญชใี นสมุด บญั ชีของหา้ งหุน้ ส่วนเพราะเปน็ การจ่ายเงินสว่ นตวั ระหว่างหนุ้ ส่วนเดิมกบั หุ้นสว่ นใหม่
การคานวณทนุ ของห้างหนุ้ สว่ นหลงั รับหุ้นส่วนใหม่ รายการ ฟ้า ดนิ นา้ รวม ทนุ เดิมก่อนรับหนุ้ สว่ นใหม่ 100,000 80,000 180,000 น้าซื้อส่วนทนุ จากฟา้ 2/5 และดิน 1/4 (40,000) (20,000) 60,000 ทนุ หลังรับห้นุ สว่ นใหม่ 60,000 60,000 60,000 180,000
02 วิธีรบั หุน้ สว่ นใหม่โดยปรบั ปรงุ บญั ชีของหา้ งหนุ้ ส่วน การปรบั ปรุงบญั ชกี อ่ นรบั หุ้นส่วนใหม่ เนื่องจากรายการสินทรัพย์ของห้าหุ้นส่วนตาม บัญชีสูงหรือต่ากว่าความเป็นจริง ถ้าปรับปรุง สินทรัพย์ก่อนรับหุ้นส่วนใหม่ก็จะมีผลทาให้ทุนท่ี หุ้นส่วนใหม่ได้รับโอนมีจานวนเท่ากับจานวนเงิน ทจ่ี า่ ยใหก้ ับหนุ้ ส่วนเดมิ
ตวั อยา่ งท่ี 2 คิวและพีเปน็ หนุ้ สว่ นกนั แบ่งกาไรขาดทุน 2 : 3 มที นุ 120,000 บาท และ 180,00 บาท ต่อมาเมอ่ื วันที่ 1 สงิ หาคม 2560 ทั้งคตู่ กลงรับวนิ เขา้ มาเปน็ ห้นุ สว่ นใหม่ โดยวิน ซอื้ สว่ นทนุ จากคิว 1/4 และซอื้ สว่ นทุนจากพี 1/5 วินจ่ายเงินให้ควิ และพี จานวน 73,700 บาท กอ่ นรบั วนิ เข้ามาเป็นหนุ้ สว่ นใหม่ควิ และพีตกลงใหม้ กี ารปรับปรุงสินทรพั ย์ดงั น้ี . 1. สินคา้ คงเหลอื ตีราคาต่าไปจานวน 30,000 บาท 2. คา่ เสอ่ื มราคาสะสม-เครื่องใช้สานกั งานตีราคาสูงไป 10,000 บาท 3. มีค่าใช้จ่ายคา้ งจา่ ยจานวน 5,000 บาท
การบนั ทึกบัญชี สมดุ รายวันท่วั ไป หนา้ 1 พ.ศ.2560 เลขท่ี เดบติ เดือน วนั ที่ รายการ บญั ชี บาท สต เครดติ 30,000 - บาท สต ส.ค. 1 สนิ ค้าคงเหลอื 10,000 - 5,000 - ค่าเสอ่ื มราคาสะสม-เครอ่ื งใช้สานกั งาน 33,500 - 14,000 - 40,200 - 21,000 - ค่าใช้จา่ ยค้างจา่ ย 73,700 ทุน-ควิ (35,000x2/5) ทุน-พี (35,000x3/5) ปรบั ปรุงบญั ชีกอ่ นรับหุ้นสว่ นใหม่ ทนุ -ควิ (120,000+14,000x1/4) ทนุ -พี (180,000+21,000x1/5) ทนุ -วิน วนิ ซื้อส่วนทุนจากคิว 1/4 และพี 1/5
การคานวณทุนของห้างหุ้นสว่ นหลังรบั หุ้นส่วนใหม่ รายการ ควิ พี วนิ รวม ทุนเดมิ ก่อนรับหุ้นส่วนใหม่ 120,000 180,000 300,000 บวก กาไรจากการปรบั ปรุงสนิ ทรัพย์ 14,000 21,000 35,000 วนิ ซื้อส่วนทนุ จากคิว 1/4 และพี 1/5 134,000 201,000 335,000 ทนุ หลงั รับหุ้นส่วนใหม่ (33,500) (40,200) 73,700 335,000 100,500 160,800 73,700
02. หนุ้ ส่วนใหม่นาสนิ ทรัพยห์ รอื เงนิ สดมาลงทนุ ในหา้ งหนุ้ ส่วน การรับหุ้นส่วนใหม่โดยหุ้นส่วนใหม่นาสินทรัพย์หรือเงินสดมาลงทุนในห้างหุ้นส่วน จะทาให้สินทรัพย์และทนุ ของห้างหุ้นสว่ นเพ่ิมขนึ้ ผู้เปน็ หุ้นส่วนควรตกลงกันให้ชัดเจนว่า ผู้เป็น หุ้นส่วนคนใหม่จะมีส่วนในทุนเป็นจานวนเท่าใด และมีส่วนในกาไรขาดทุนเท่าใด การบันทึก บญั ชเี มื่อรบั หนุ้ ส่วนใหมน่ าสนิ ทรพั ยห์ รือเงินสดมาลงทุนในห้างหุ้นส่วน จะเปน็ ดงั นี้ Dr. เงนิ สด หรือ สนิ ทรัพย์ xx Cr. ทนุ ของหุ้นส่วนใหม่ xx การท่ีหุ้นส่วนใหม่นาสินทรัพย์หรือเงินสดมาลงทุนในห้างหุ้นส่วน หุ้นส่วนเดิมต้อง กาหนดให้ชัดเจนว่าส่วนในทุนท่ีหุ้นส่วนใหม่จะได้รับเป็นจานวนเท่าใด อัตราส่วนแบ่งกาไร ขาดทุนเท่าไร และจะมีการปรับปรุงบัญชีสินทรัพย์หรือไม่อย่างไร ซ่ึงมีข้อมูลดังกล่าวจะมีผล ตอ่ การบันทกึ บญั ชกี ารลงทนุ ของหนุ้ สว่ นใหม่
การบันทกึ บญั ชรี บั ห้นุ ส่วนใหมแ่ บง่ เป็น 2 วิธี 1 หุ้นส่วนใหมร่ บั ส่วนในทนุ เทา่ กบั สนิ ทรพั ยห์ รือเงนิ สดที่นามาลงทุน 2 หุ้นสว่ นใหมร่ บั ส่วนในทุนสูงกวา่ หรือตา่ กว่าสินทรพั ย์หรอื เงินสดที่ นามาลงทนุ
2.1 หนุ้ สว่ นใหมร่ บั สว่ นในทุนเทา่ กับสนิ ทรพั ยห์ รอื เงินสดทนี่ ามาลงทุน ตัวอย่างท่ี 3 เอแ้ ละแตงเป็นหนุ้ ส่วนกัน แบ่งกาไรขาดทุนในอตั รา 1:2 มีทุน 210,000 บาท และ 250,000 บาท เมื่อวันท่ี 1 กรกฎาคม 2561 ตกลงรับอ้นเข้ามาเป็นหนุ้ ส่วนใหม่ โดยอน้ นาเงินสดมาลงทุน 150,000 บาท มาลงทุน ซ่ึงกาหนดให้อ้นมีส่วนในทุนเท่ากับเงินสด ทน่ี ามาลงทนุ
การบันทึกบัญชเี ป็นดังน้ี สมดุ รายวันทว่ั ไป หน้า 1 พ.ศ.2561 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ เดอื น วนั ท่ี บัญชี บาท สต. บาท สต. ก.ค. 1 เงนิ สด 150,000 - ทุน-อ้น 150,000 - อน้ นาเงินสดมาลงทุน
การคานวณทุนของห้างหนุ้ ส่วนหลังรับหุ้นส่วนใหม่ รายการ เอ้ แตง อน้ รวม ทนุ เดมิ ก่อนรับหุ้นส่วนใหม่ 210,000 250,000 - 460,000 บวก อ้นนาเงนิ สดมาลงทุน ทุนหลงั รบั หุน้ ส่วนใหม่ 150,000 150,000 210,000 250,000 150,000 610,000
2.2 หนุ้ ส่วนใหมร่ ับส่วนในทุนสูงกวา่ หรือตา่ กวา่ สนิ ทรพั ยห์ รือเงนิ สดทน่ี ามาลงทุน การทหี่ ุ้นส่วนใหมร่ บั สว่ นในทนุ สงู กวา่ หรอื ต่ากว่าสินทรัพย์หรอื เงนิ สดทีน่ ามาลงทุน อาจเกดิ จากห้างหุ้นสว่ นนั้นมีชอื่ เสยี ง มคี วามมนั่ คง ประสบความสาเร็จในการดาเนินงาน และ ทาใหม้ ีผลกาไรให้ห้างหนุ้ ส่วนจานวนสงู กวา่ ปกติ ผลตา่ งระหวา่ งส่วนในทุนกบั สนิ ทรพั ย์หรือเงนิ สดจะนาไปบันทึกบญั ชคี า่ ความนิยมหรอื โบนสั ใหแ้ ก่หุน้ ส่วนเดิมหรือห้นุ สว่ นใหม่ การบันทึกบญั ชีแบง่ ออกเปน็ 3 กรณีดังนี้ 2.2.1 ผ้เู ปน็ หนุ้ ส่วนตกลงบนั ทึกบญั ชเี ปน็ วิธีค่าความนยิ ม 2.2.2 ผู้เปน็ หุ้นส่วนตกลงบันทึกบญั ชีเปน็ วิธีโบนัส 2.2.3 ผู้เปน็ หนุ้ สว่ นไมไ่ ด้ระบุให้ใชว้ ธิ ีคา่ ความนิยมหรือวิธโี บนัส
2.2.1 ผูเ้ ป็นหนุ้ สว่ นตกลงบนั ทกึ บัญชีเป็นวธิ ีคา่ ความนิยม การคานวณหาค่าความนิยมให้หาผลรวมทุนของหุ้นส่วนเดิม บวกกับสินทรัพย์ที่ หุ้นส่วนใหม่นามาลงทุน เทียบกับ ผลรวมของห้างหุ้นส่วนใหม่ทั้งสิ้น ผลต่าง คือ ค่า ความนิยม ซ่ึงค่าความนิยมท่ีเกิดข้ึนจะให้แก่หุ้นส่วนเดิม หรือหุ้นส่วนใหม่ ให้พิจารณา เงินลงทนุ ของหุ้นส่วนใหม่เป็นหลัก ดงั น้ี 1. ถา้ ส่วนในทนุ ของหนุ้ สว่ นใหมเ่ ทา่ กับสินทรพั ย์หรือเงนิ สด ท่ีนามาลงทุน ค่าความนยิ มทเี่ กิดขึน้ กจ็ ะคดิ ใหแ้ ก่หุ้นส่วนเดิม
ตวั อย่างท่ี 4 กหุ ลาบและกลว้ ยไม้เปน็ หุ้นส่วนกัน แบ่งกาไรขาดทุนเท่ากัน มีทุน 160,000 บาท และ 200,000 บาท ต่อมาวันที่ 1 มีนาคม 2562 ตกลงรับดาหลาเข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ ดาหลา นาเงินสดมาลงทุน 120,000 บาท และให้มีส่วนในทุนเท่ากับเงินสดที่นามาลงทุน ทุนทั้งส้ินของ ห้างซึ่งกาหนดไว้ 500,000 บาท ค่าความนยิ มคิดใหก้ หุ ลาบและกล้วยไม้ การคานวณค่าความนิยม ทุนท้ังสิน้ ของห้างหุ้นสว่ น 500,000 หัก ทุนห้างหุ้นสว่ นเดมิ (160,000+200,000) 360,000 ดาหลานาเงนิ สดมาลงทนุ 120,000 480,000 ค่าความนิยมคดิ กุหลาบและกลว้ ยไม้ 20,000
การบันทึกบญั ชเี ป็นดังน้ี สมดุ รายวันทั่วไป หน้า 1 เครดิต พ.ศ.2562 รายการ เลขท่ี เดบิต บาท สต. เดอื น วนั ที่ บญั ชี บาท สต. 120,000 - 120,000 - มี.ค. 1 เงินสด 10,000 - 20,000 - 10,000 - คา่ ความนยิ ม ทนุ -ดาหลา ทุน-กหุ ลาบ ทุน-กลว้ ยไม้ ดาหลานาเงินสดมาลงทุนเป็นหุ้นสว่ นใหม่ และคดิ ค่าความนิยมให้แก่หุ้นส่วนเดิม
หมายเหตุ การบนั ทกึ บญั ชี 1. เดบิต เงินสดเทา่ กบั จานวนเงนิ สดทีห่ ุน้ ส่วนใหม่นามาลงทุน 2. เดบติ คา่ ความนยิ มเทา่ กบั จานวนค่าความนิยมทค่ี ดิ ได้ 3. เครดิต ทุน-ดาหลา ตามจานวนส่วนในทนุ ทโ่ี จทยก์ าหนด 4. ถา้ มผี ลตา่ งระหว่างยอดรวมของเดบิตและเครดิตให้บันทึกบัญชีทุนของหุ้นส่วนเดิมท้ังสองคนและ แบ่งตามอัตราส่วนแบง่ กาไรขาดทุน การคานวณทนุ ของหา้ งหนุ้ ส่วนหลังรับหุน้ ส่วนใหม่ รายการ กุหลาบ กล้วยไม้ ดาหลา รวม ทนุ เดมิ กอ่ นรบั ห้นุ ส่วนใหม่ 160,000 200,000 - 360,000 บวก คา่ ความนิยม 10,000 10,000 20,000 รวม 170,000 210,000 380,000 ทุน-ดาหลา 120,000 120,000 ทุนหลงั รับหนุ้ ส่วนใหม่ 170,000 210,000 120,000 500,000
2. ถ้าส่วนในทุนของหุ้นส่วนใหม่สูงกว่าสินทรัพย์หรือเงินสดที่นามาลงทุนค่าความนิยมท่ี เกดิ ขึ้นจะคดิ ใหแ้ ก่หุ้นสว่ นใหม่ ตัวอยา่ งท่ี 5 เทนนสิ และปงิ ปองเปน็ ห้นุ สว่ นกัน แบง่ กาไรขาดทุน 2:3 มีทุน 250,000 บาท และ 205,000 บาท ต่อมาเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2561 ตกลงรับบาสมาเป็นหนุ้ ส่วนใหม่ โดย บาสนาเงนิ สดมาลงทุน 180,000 บาท และใหม้ ีส่วนในทุน 3/10 ของทุนทั้งส้ินของห้างห้นุ ส่วน 650,000 บาท ค่าความนยิ มคดิ ใหบ้ าส การคานวณค่าความนิยม ทุนท้ังสิ้นของห้างหนุ้ ส่วน 650,000 หัก ทุนห้างหนุ้ สว่ นเดมิ (250,000+205,000) 455,000 บาสนาเงนิ สดมาลงทุน 180,000 635,000 ค่าความนิยมบาส 15,000
การบนั ทึกบญั ชีเป็นดังนี้ สมุดรายวนั ทว่ั ไป หนา้ 1 เครดิต พ.ศ.2562 รายการ เลขท่ี เดบิต บาท สต. เดอื น วนั ที่ บญั ชี บาท สต. 195,000 - มี.ค. 1 เงนิ สด 180,000 - ค่าความนยิ ม 15,000 - ทนุ -บาส (650,000x3/10) บาสนาเงนิ สดมาลงทนุ เป็นหนุ้ ส่วนใหม่ และคิดคา่ ความนิยมให้แกบ่ าส หมายเหตุ การบนั ทกึ บัญชี •เดบิต เงินสดเท่ากับจานวนเงินสดทหี่ ุ้นสว่ นใหม่นามาลงทนุ •เดบิต ค่าความนยิ มเท่ากับจานวนคา่ ความนยิ มทีค่ ดิ ได้ •เครดิต ทนุ -บาส ตามจานวนสว่ นในทนุ ทโี่ จทย์กาหนด
การคานวณทุนของห้างหุ้นสว่ นหลังรับหุ้นสว่ นใหม่ รายการ กุหลาบ กลว้ ยไม้ ดาหลา รวม ทนุ เดิมกอ่ นรบั หุ้นส่วนใหม่ 250,000 205,000 - 455,000 บวก คา่ ความนิยม 15,000 รวม 250,000 205,000 15,000 470,000 ทนุ -บาส 180,000 ทนุ หลงั รับหนุ้ ส่วนใหม่ 250,000 205,000 180,000 650,000 195,000
2.2.2 ผเู้ ปน็ หุน้ ส่วนตกลงบนั ทึกบญั ชีเปน็ วธิ โี บนสั วธิ นี ีจ้ ะไม่บันทึกบญั ชีโบนัสเหมอื นกับค่าความนิยม แต่ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมยอมลด ทุนตนเอง เพ่อื ให้ห้นุ ส่วนใหม่ได้รับส่วนในทุนเพม่ิ ข้ึนจากสินทรัพย์หรือเงินสดที่นามาลงทุน เป็นแรงจูงใจให้หุ้นส่วนใหม่นาความรู้ ความสามารถมาบริหารงานในห้างหุ้นส่วนให้ดีข้ึน การคานวณหาโบนัสให้พิจารณาจาก ส่วนในทุนของหนุ้ ส่วนใหม่ เปรียบเทียบกับ สินทรัพย์ หรือเงินสดท่ีหุ้นส่วนใหม่นามาลงทุน ผลต่างที่เกิดข้ึนคือ โบนัส ซ่ึงโบนัสที่เกิดขึ้นจะให้แก่ หุ้นส่วนเดมิ หรอื หุ้นส่วนใหม่ ให้พจิ ารณาเงนิ ลงทนุ ของห้นุ สว่ นใหมเ่ ป็นหลกั ดงั น้ี 1.ถ้าส่วนในทุนของหุ้นส่วนใหม่น้อยกว่าสินทรัพย์หรือเงินสดท่ีนามาลงทุน โบนสั ท่ีเกดิ ขึ้นจะคดิ ให้แกห่ นุ้ สว่ นเดิม
ตวั อยา่ งที่ 6 บีและเอสเป็นห้นุ ส่วนกนั แบง่ กาไรขาดทุน 2 : 3 มที นุ 260,000 บาท และ 240,000 บาท เมือ่ วันที่ 1 มถิ นุ ายน 2562 ตกลงรับวายเขา้ มาเป็นหุ้นสว่ นใหม่ โดยวาย นาเงินสดมาลงทุน 200,000 บาท และให้มสี ว่ นทนุ เทา่ กบั 1/4 ของทุนท้งั สิ้นของหา้ ง การคานวณหาโบนสั 175,000 วายมีส่วนในทนุ (1) 200,000 หัก วายนาเงนิ สดมาลงทุน 25,000 โบนสั คดิ ให้บแี ละเอส
การบนั ทึกบัญชเี ปน็ ดงั น้ี สมุดรายวันทัว่ ไป หนา้ 1 เครดติ พ.ศ.2562 รายการ เลขท่ี เดบิต บาท สต. เดอื น วนั ท่ี บัญชี บาท สต. 200,000 - 175,000 - มิ.ย. 1 เงินสด 10,000 - 15,000 - ทนุ -วาย ทุน-บี ทนุ -เอส วายนาเงนิ สดมาลงทุนเปน็ หนุ้ สว่ นใหม่ และใหโ้ บนัสแกห่ ้นุ สว่ นเดิม
หมายเหตุ (1) ส่วนในทุนวาย 260,000+240,000+200,000 = 700,000 700,000 x 1 /4 = 175,000 (2) มาจากโบนสั 25,000 บาท แบ่งให้หนุ้ สว่ นเดมิ ตามอตั ราส่วนแบง่ กาไร 2:3 บไี ด้รบั โบนัส 25,000 x 2 / 5 = 10,000 เอสได้รับโบนสั 25,000 x 3 / 5 = 15,000
การคานวณทุนของหา้ งหุน้ ส่วนหลงั รบั หนุ้ ส่วนใหม่ รายการ บี เอส วาย รวม ทุนเดิมก่อนรบั หนุ้ สว่ นใหม่ 260,000 240,000 500,000 โบนสั 10,000 15,000 รวม 270,000 255,000 (25,000) ทุน-วาย (25,000) 500,000 ทุนหลงั รบั ห้นุ ส่วนใหม่ 270,000 255,000 200,000 200,000 175,000 700,000
2. ถ้าสว่ นในทนุ ของหุ้นส่วนใหม่สงู กว่าสนิ ทรัพย์หรอื เงนิ สดทน่ี ามาลงทนุ โบนัสทีเ่ กิดขน้ึ จะคดิ ให้แก่ห้นุ ส่วนใหม่ ตัวอยา่ งท่ี 7 ธญั ญาและดาเรศเปน็ หนุ้ ส่วนกัน แบง่ กาไรขาดทนุ เท่ากัน มที นุ 240,000 บาท และ 220,000 บาท เม่อื วนั ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ตกลงรบั สาริณเขา้ มา เปน็ หุน้ สว่ นใหม่ โดยสาริณนาเงนิ สดมาลงทนุ 200,000 บาท และใหม้ ีส่วนทุนเทา่ กบั 1/3 ของทุนท้ังสิ้นของหา้ ง การคานวณหาโบนัส สารณิ มีสว่ นในทนุ (1) 220,000 หัก สาริณนาเงนิ สดมาลงทุน 200,000 โบนัสคิดให้สารณิ 20,000
การบันทึกบญั ชเี ปน็ ดงั น้ี สมดุ รายวนั ท่วั ไป หน้า 1 พ.ศ.2562 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ เดอื น วนั ที่ บัญชี บาท สต. บาท สต. ก.พ. 1 เงินสด 200,000 - ทุน-ธญั ญา (2) 10,000 - ทนุ -ดาเรศ 10,000 - ทนุ -สารณิ 220,000 สารณิ นาเงินสดมาลงทุนเป็นหนุ้ สว่ นใหม่ และไดร้ บั โบนัสจากหุน้ สว่ นเดิม
หมายเหตุ (1) ส่วนในทุนสารณิ 240,000+220,000+200,000 = 660,000 660,000 x 1 /3 = 220,000 (2) มาจากโบนสั 20,000 บาท แบ่งให้หุน้ สว่ นเดมิ ตามอัตราสว่ นแบง่ กาไรเทา่ กนั 20,000 / 2 = 10,000 การคานวณทุนของห้างห้นุ สว่ นหลังรับหุน้ สว่ นใหม่ รายการ ธัญญา ดาเรศ สาริณ รวม ทนุ เดมิ ก่อนรบั หนุ้ ส่วนใหม่ 240,000 220,000 460,000 โบนัส (10,000) (10,000) 20,000 รวม 230,000 210,000 20,000 460,000 ทุน-สาริณ 200,000 200,000 ทนุ หลังรับห้นุ สว่ นใหม่ 230,000 210,000 220,000 660,000
2.2.3 ผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นไม่ไดร้ ะบุใหใ้ ช้วธิ ีคา่ ความนิยมหรอื วธิ ีโบนัสใหแ้ กผ่ ้ใู ด การที่ผู้เป็นหุ้นส่วนไม่ได้ระบุให้ชัดเจนว่าจะใช้วิธีค่าความนิยมหรือวิธีโบนัสให้แก่ผู้เป็น หนุ้ ส่วนเดิมหรือผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ โดยพจิ ารณาจากสินทรัพย์หรือเงินสดท่ีหนุ้ ส่วนใหม่นามาลงทุน ส่วนในทุนของหุ้นส่วนใหม่จะได้รับ และทุนของห้างหุ้นส่วนใหม่หลังรับหนุ้ ส่วนใหม่ ซึ่งมีหลักเกณฑ์ การพจิ ารณา ดังนี้ ขัน้ ตอนที่ 1 พิจารณาว่ากจิ การห้างห้นุ สว่ นผลตา่ งท่ีเกดิ ขน้ึ เปน็ คา่ ความนิยมหรือโบนัส การคานวณคา่ ความนิยมหรอื โบนสั ทนุ ทง้ั สน้ิ ของหา้ งหุ้นสว่ น XX หัก ทุนหา้ งห้นุ สว่ นเดมิ XX ห้นุ สว่ นใหม่นาเงนิ สดมาลงทุน XX XX คา่ ความนิยม XX ถ้าผลต่างเปน็ 0 แสดงว่าเกดิ โบนัส ถา้ ผลต่างมากกว่า 0 แสดงวา่ เกิดคา่ ความนยิ ม
ขัน้ ตอนท่ี 2 พจิ ารณาว่าค่าความนยิ มหรอื โบนัสทเี่ กิดข้ึนให้แก่ผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนเดิม หรือห้นุ ส่วนใหม่ โดยใชส้ ูตร การคานวณค่าความนิยมหรือโบนสั คดิ ให้ใคร ห้นุ สว่ นใหม่มีสว่ นในทนุ XX หกั หุ้นส่วนใหมน่ าเงินสดมาลงทนุ XX คา่ ความนิยมหรือโบนัสใหใ้ คร XX ผลต่างท่เี กดิ นามาวเิ คราะห์ในการบันทกึ บญั ชีดังนี้ 1. ถ้าหุ้นสว่ นใหมม่ ีทนุ มากกว่า เงนิ สดทน่ี ามาลงทุน แสดงว่าค่าความนยิ มหรือโบนัสท่เี กดิ ขึ้นให้แก่หุน้ สว่ นใหม่ 2. ถ้าหุ้นสว่ นใหมม่ ที ุน นอ้ ยกวา่ เงินสดท่ีนามาลงทนุ แสดงว่าคา่ ความนยิ มหรือโบนสั ท่เี กดิ ขึ้นให้แก่หุน้ สว่ นเดมิ 3. ถา้ หนุ้ สว่ นใหมม่ ที ุน เทา่ กบั เงนิ สดทนี่ ามาลงทุน แสดงวา่ ค่าความนิยมทเี่ กดิ ข้นึ ใหแ้ กห่ นุ้ ส่วนเดมิ
ตัวอย่างท่ี 8 ปูและกุ้งเปน็ ห้นุ สว่ นกัน แบง่ กาไรขาดทนุ 3 : 2 มที ุน 480,000 บาท และ 420,000 บาท เมอ่ื วนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2561 ตกลงรบั หอยเขา้ มาเปน็ หุ้นสว่ นใหม่ หอยนาเงนิ สด มาลงทุน 250,000 บาท และให้มสี ว่ นในทุน ¼ ของทนุ ทงั้ สิ้นของห้าง 1,200,000 บาท การคานวณคา่ ความนยิ มหรอื โบนัส ทุนท้งั สิ้นของหา้ งหุ้นส่วน 1,200,000 หกั ทุนห้างหุน้ ส่วนเดมิ (480,000+420,000) 900,000 หอยนาเงนิ สดมาลงทุน 250,000 1,150,000 ค่าความนยิ ม 50,000
การคานวณค่าความนิยมหรอื โบนัสคดิ ให้ใคร หอยมสี ่วนในทนุ (1,200,000 X 1 / 4) 300,000 หัก หอยนาเงนิ สดมาลงทุน 250,000 คา่ ความนิยมคดิ ใหห้ อย 50,000 ผลการวิเคราะห์ เกดิ ค่าความนยิ ม 50,000 บาท คา่ ความนยิ มคดิ ใหแ้ กห่ อย เพราะหอยได้รบั ส่วนในทนุ มากกวา่ เงินสดท่นี ามาลงทุน
การบันทึกบญั ชีเปน็ ดังนี้ สมุดรายวนั ทวั่ ไป หน้า 1 พ.ศ.2561 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ เดอื น วนั ที่ บญั ชี บาท สต บาท สต ก.ค. 1 เงินสด 250,000 - ค่าความนิยม 50,000 - ทุน-หอย 300,000 - หอยนาเงินสดมาลงทนุ เปน็ หุ้นสว่ นใหม่ และไดร้ ับค่าความนยิ ม
ตวั อยา่ งท่ี 9 ฟา้ ใสและภูบดีเป็นหุ้นส่วนกัน แบ่งกาไรขาดทุน 2 : 4 มีทุน 340,000 บาท และ 262,000 บาท เมื่อวันท่ี 1 เมษายน 2561 ตกลงรับธาราเข้ามาเป็นหนุ้ ส่วนใหม่ ธารา นาเงนิ สดมาลงทนุ 200,000 บาท และให้มสี ่วนในทนุ 1/5 ของทุนทัง้ สน้ิ ของหา้ ง 835,000 บาท การคานวณค่าความนิยมหรือโบนัส 602,000 835,000 ทนุ ทง้ั สิ้นของหา้ งห้นุ ส่วน 200,000 หกั ทุนห้างหนุ้ สว่ นเดิม (340,000+262,000) 802,000 ธารานาเงินสดมาลงทุน 33,000 ค่าความนิยม
การคานวณคา่ ความนิยมหรือโบนสั คดิ ให้ใคร ธารามีสว่ นในทุน (835,000 X 1 / 5) 167,000 หกั ธารานาเงนิ สดมาลงทุน 200,000 คา่ ความนยิ มคดิ ให้ฟา้ ใสและภูบดี 33,000 ผลการวเิ คราะห์ เกิดค่าความนิยม 33,000 บาท ค่าความนยิ มคดิ ใหแ้ กฟ่ ้าใสและภูบดี เพราะธาราได้รับส่วนในทนุ นอ้ ยกว่าเงินสดทีน่ ามาลงทนุ
การบนั ทึกบญั ชเี ป็นดงั น้ี สมดุ รายวันท่วั ไป หนา้ 1 เครดติ พ.ศ.2561 รายการ เลขท่ี เดบติ บาท สต. เดือน วันท่ี บัญชี บาท สต. 200,000 - 167,000 - เม.ย. 1 เงนิ สด 33,000 - 22,000 - 44,000 - คา่ ความนิยม ทนุ -ธารา ทุน-ฟา้ ใส (66,000x2/6) ทุน-ภูบดี (66,000x4/6) ธารานาเงนิ สดมาลงทนุ เปน็ หนุ้ ส่วนใหม่ และคิดคา่ ความนิยมให้ห้นุ ส่วนเดิม
ตัวอย่างที่ 10 บารมีและร่มเกล้าเป็นหุ้นส่วนกัน แบ่งกาไรขาดทุนเท่ากันมีทุน 350,000 บาท และ 300,000 บาท เม่ือวันท่ี 1 มีนาคม 2561 ตกลงรับศิระเข้ามาเป็น หุน้ ส่วนใหม่ ศริ ะนาเงินสดมาลงทุน 200,000 บาท และให้มีส่วนในทุน 1/5 ของทุนทั้งส้ิน ของห้าง 850,000 บาท การคานวณค่าความนิยมหรือโบนสั ทุนทง้ั ส้ินของห้างหนุ้ ส่วน 850,000 หัก ทนุ หา้ งห้นุ ส่วนเดมิ (350,000+300,000) 650,000 ศริ ะนาเงินสดมาลงทนุ 200,000 850,000 โบนสั 0
การคานวณคา่ ความนยิ มหรอื โบนัสคดิ ใหใ้ คร ศิระมสี ่วนในทนุ (850,000 X 1 / 5) 170,000 หัก ศิระนาเงินสดมาลงทุน 200,000 โบนสั คิดใหบ้ ารมแี ละรม่ เกล้า 30,000 ผลการวเิ คราะห์ เกิดโบนสั 30,000 บาท โบนัสคิดให้แก่บารมีและร่มเกล้า เพราะศิระ ไดร้ ับสว่ นในทนุ น้อยกวา่ เงินสดที่นามาลงทุน
การบนั ทกึ บญั ชีเป็นดงั น้ี สมดุ รายวนั ทั่วไป หนา้ 1 พ.ศ.2561 รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ เดอื น วนั ที่ บัญชี บาท สต. บาท สต. มี.ค. 1 เงนิ สด 200,000 - ทนุ -ศิระ 170,000 - ทนุ -บารมี (30,000/2) 15,000 - ทุน-รม่ เกลา้ 15,000 - ศิระนาเงินสดมาลงทุนเปน็ หุ้นสว่ นใหม่ และคิดโบนสั ให้ห้นุ ส่วนเดิม
ตัวอยา่ งที่ 11 มะม่วงและมงั คดุ เป็นหุ้นส่วนกัน แบ่งกาไรขาดทุนเท่ากัน มีทุน 400,000 บาท และ 360,000 บาท เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2562 ตกลงรับแตงโมเข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ แตงโม นาเงนิ สดมาลงทุน 290,000 บาท และให้มีสว่ นในทุน 1/3 ของทุนทง้ั สนิ้ ของหา้ ง 1,050,000 บาท การคานวณค่าความนยิ มหรือโบนัส ทนุ ท้ังสิน้ ของหา้ งห้นุ สว่ น 1,050,000 หกั ทนุ หา้ งห้นุ ส่วนเดิม (400,000+360,000) 760,000 แตงโมนาเงินสดมาลงทนุ 290,000 1,050,000 โบนัส 0 การคานวณค่าความนยิ มหรือโบนัสคิดใหใ้ คร 350,000 แตงโมมีสว่ นในทนุ (1,050,000 X 1 / 3) หกั แตงโมนาเงินสดมาลงทนุ 290,000 โบนสั ให้แตงโม 60,000
การบนั ทึกบัญชีเปน็ ดงั นี้ สมดุ รายวันทว่ั ไป หนา้ 1 เครดติ พ.ศ.2562 รายการ เลขที่ เดบิต บาท สต. เดือน วันที่ บัญชี บาท สต. - ส.ค. 1 เงนิ สด 290,000 - - 30,000 - 350,000 - ทุน-มะมว่ ง (60,000/2) 30,000 - ทุน-มังคุด ทุน-แตงโม แตงโมนาเงนิ สดมาลงทนุ เป็นหุ้นส่วนใหม่ และคดิ โบนสั ให้หุ้นสว่ นใหม่
“Thank you for your attention”
Search
Read the Text Version
- 1 - 46
Pages: