46
47
48
โครงการยกระดับศักยภาพชุมชน ตำบลบ้านนา เพื่อเสริมสร้างรายได้แก่ ชุมชน โดยการพัฒนาสินค้าชุมชนให้ เป็นสินค้า OTOP และยกระดับการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดย การนำองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีและ สื่ อดิจิทัลเขามาประยุกต์ใช้ banna 49
วัตถุ ประสงค์ ของโครงการ (1) เพื่อยกระดับสิ นค้า และผลิตภัณฑ์ ของชุมชนตำบลบ้านนา ด้วยระบบ เทคโนโลยีดิจิทัลขายสิ นค้าและบริการผ่าน สมาร์ทโฟน สื่ อออนไลน์ (2) เพื่อส่ งเสริมการท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์อย่างยั่งยืน โดยชุมชนเพื่อชุมชน ตำบลบ้านนาอำเภอกะเปอร์ (3) เพื่อพัฒนาสั มมาชีพเดิม และสร้าง องค์ความรู้สั มมาชีพใหม่ เพื่อเพิ่มรายได้ หมุนเวียนให้แก่ชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง (4) เพื่อส่ งเสริมรณรงค์ให้คนในชุมชน มีจัดการขยะที่ดีโดยการฝังกลบและแยก ขยะ ประเภทกิจกรรมที่ จะเข้ าไปดำเนิ นการในพื้ นที่ (1) การพัฒนาสั มมาชีพและสร้างอาชีพ ใหม่ (การยกระดับสิ นค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) (2) การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) (3) การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการ ชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้าน ต่างๆ) (4) การส่ งเสริมด้านสิ่ งแวดล้อม /Circular Economy (การเพิ่มรายได้ หมุนเวียนให้แก่ชุมชน) ให้แก่ชุมชน 50
ก า ร พั ฒ น า สั ม ม า ชี พ แ ล ะ ส ร้ า ง อ า ชี พ ใ ห ม่ ( ก า ร ย ก ร ะ ดั บ สิ น ค้ า O T O P / อ า ชี พ อื่ น ) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่ มาตรฐาน OTOP ของตำบลบ้านนาด้วยระบบเทคโนโลยีดิจิทัลขาย สิ นค้า และบริการผ่านสมาร์ทโฟน การทำขนมครองแครง ระหว่างวันที่ 7 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2564 เวลา 08.30 น. - 16.30 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ 1 บ้านเชี่ยวเหลียง ตำบลเชี่ยวเหลียง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง 51
วัตถุ ประสงค์ เพื่อยกระดับสิ นค้า และผลิตภัณฑ์ของ ชุมชนตำบลบ้านนา ด้วยระบบเทคโนโลยี ดิจิทัลขายสิ นค้าและบริการผ่านสมาร์ทโฟน สื่ อออนไลน์ เป้ าหมาย สมาชิกในตำบลบ้านนา เข้าร่วมโครงการไม่ น้ อยกว่าร้อยละ 80 สมาชิกในตำบลบ้านนา จำนวน 30 คน ผลการดำเนิ นงาน ได้มีการจัดฝึกอบรมให้ความรู้ภายใต้ 6 หัวข้อดังนี้ (1) วิธีการเตรียมอุปกรณ์ การทำขนม ครองแครง (2) วิธีการทำขนมครองแครง (3) วิธีการบรรจุภัณฑ์และเก็บรักษาขนม ครองแครง (4) เทคนิ คการขายสิ นค้าออนไลน์ (5) การสร้างอินโฟรกราฟฟิกเพื่อสร้างสื่ อ โฆษณาบนสื่ อออนไลน์ (6) ขั้นตอนและวิธีการขายสิ นค้าออนไลน์ จุดแข็ งของโครงการ (1) วิทยากรสามารถอธิบายเนื้ อหาได้ ชัดเจนและตรงประเด็น (2) วิทยากรมีความพร้อมในการถ่ายทอด ความรู้ (3) สมาชิกในตำบลให้ความร่วมมือในการ จัดกิจกรรมเป็นอย่างดี ปั ญหาอุปสรรค เนื่ องด้วยสถานการณ์ แพร่ระบาดของ COVID-19 ทำให้ต้องมีการปฏิบัติงานภายใต้ มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคอย่าง เคร่งครัด 52
ภาพกิจกรรม วิทยากร : นางราตรี รักนุช บรรยาย หัวข้อ - การทำขนมครองแครง - วิธีการเตรียมอุปกรณ์การทำขนมครองแครง - วิธีการทำขนมครองแครง - วิธีการบรรจุภัณฑ์และเก็บรักษา วิทยากร : นายพรประดิษฐ์ คงมุสิก บรรยาย หัวข้อ - การตลาดผลิตภัณฑ์ขนมครองแครง - เทคนิ คการขายสินค้าออนไลน์ - การสร้างอินโฟรกราฟฟิก เพื่อสร้างสื่ อโฆษณาบนสื่ อออนไลน์ - ขั้นตอนและวิธีการขายสินค้าออนไลน์ 53
54
ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม / C I R C U L A R E C O N O M Y ( ก า ร เ พิ่ ม ร า ย ไ ด้ ห มุ น เ วี ย น ใ ห้ แ ก่ ชุ ม ช น ) กิจกรรม การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีด้าน เทคโนโลยีเพื่อส่ งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน และการ อนุรักษ์สิ่ งแวดล้อม น้ำสมุนไพร สิ นค้าแปรรูป ถ่าน ชาโคร และน้ำส้ มควันไม้ ระหว่างวันที่ 4 – 5 ตุลาคม พ.ศ. 2564 เวลา 08.30 น. - 16.30 น. อบรมออนไลน์ ผ่านโปรแกรม GOOGLE MEET 55
วัตถุ ประสงค์ เพื่อยกระดับสิ นค้า และผลิตภัณฑ์ของ ชุมชนตำบลบ้านนา ด้วยการถ่ายทอดองค์ความ รู้ด้านเทคโนโลยีด้านเทคโนโลยีเพื่อส่ งเสริม เศรษฐกิจหมุนเวียน และการอนุรักษ์สิ่ ง แวดล้อม เป้ าหมาย สมาชิกในตำบลบ้านนา เข้าร่วมโครงการไม่ น้ อยกว่าร้อยละ 80 สมาชิกในตำบลบ้านนา จำนวน 50 คน ผลการดำเนิ นงาน ได้มีการจัดฝึกอบรมให้ความรู้ภายใต้ 6 หัวข้อดังนี้ (1) วิธีการปลูกขิง กระชาย และส้ มแขก (2) วิธีการนำสมุนไพร ขิง กระชาย มา แปรรู ปเป็นผง และการนำส้ มแขกมาแปรรู ป เป็นสิ นค้า OTOP (3) วิธีการบรรจุภัณฑ์และเก็บรักษา (4) วิธีการนำไม้มาทำถ่านชาโคร (5) การทำน้ำส้ มควันไม้จากการทำ ถ่านชาโคล (6) ขั้นตอนและวิธีการบรรจุภัณฑ์และวิธี การใช้งาน จุดแข็ งของโครงการ (1) วิทยากรสามารถอธิบายเนื้ อหาได้ ชัดเจนและตรงประเด็น (2) วิทยากรมีความพร้อมในการถ่ายทอด ความรู้ (3) สมาชิกในตำบลให้ความร่วมมือในการ จัดกิจกรรมเป็นอย่างดี ปั ญหาอุปสรรค เนื่ องด้วยสถานการณ์ แพร่ระบาดของ COVID-19 ทำให้ต้องมีการจัดกิจกรรมในรู ป แบบออนไลน์ 56
ภาพกิจกรรม วิทยากร : นางอุดมศิลป์ ถือทอง บรรยาย หัวข้อ - วิธีการปลูกขิง กระชาย และส้มแขก - วิธีการนำสมุนไพร ขิง กระชาย มาแปรรู ปเป็นผงและการนำส้ มแขก มาแปรรูปเป็นสินค้า OTOP - วิธีการบรรจุภัณฑ์และเก็บรักษา วิทยากร : นายชำนาญ ยอดแก้ว บรรยาย หัวข้อ - วิธีการนำไม้มาทำถ่านชาโคร - การทำน้ำส้มควันไม้จากการทำถ่านชาโคล - ขั้นตอนและวิธีการบรรจุภัณฑ์และวิธีการใช้งาน 57
58
ก า ร พั ฒ น า สั ม ม า ชี พ แ ล ะ ส ร้ า ง อ า ชี พ ใ ห ม่ ( ก า ร ย ก ร ะ ดั บ สิ น ค้ า O T O P / อ า ชี พ อื่ น ) กิจกรรม พัฒนาสั มมาชีพใหม่ เพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน 1. สั มมาชีพอาหารเพื่อสุขภาพและหลักโภชนาการ 2. สั มมาชีพการทำก้อนเชื้อเห็ด 3. สั มมาชีพการเพาะเลี้ยงสั ตว์น้ำ ระหว่างวันที่ 3 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 เวลา 08.30 น. - 16.30 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ 7 บ้านทองหลางล่าง ตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง 59
วัตถุ ประสงค์ เพื่อพัฒนาสั มมาชีพเดิม และสร้างองค์ความรู้ สั มมาชีพใหม่ เพื่อเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ ชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัด ระนอง เป้ าหมาย สมาชิกในตำบลบ้านนา เข้าร่วมโครงการไม่ น้ อยกว่าร้อยละ 80 สมาชิกในตำบลบ้านนา จำนวน 90 คน ผลการดำเนิ นงาน ได้มีการจัดฝึกอบรมให้ความรู้สั มมาชีพ 3 หัวข้อดังนี้ (1) สั มมาชีพอาหารเพื่อสุขภาพและหลัก โภชนาการ (2) สั มมาชีพการทำก้อนเชื้อเห็ด (3) สั มมาชีพการเพาะเลี้ยงสั ตว์น้ำ จุดแข็ งของโครงการ (1) วิทยากรสามารถอธิบายเนื้ อหาได้ ชัดเจนและตรงประเด็น (2) วิทยากรมีความพร้อมในการถ่ายทอด ความรู้ (3) สมาชิกในตำบลให้ความร่วมมือในการ จัดกิจกรรมเป็นอย่างดี ปั ญหาอุปสรรค เนื่ องด้วยสถานการณ์ แพร่ระบาดของ COVID-19 ทำให้ต้องมีการปฏิบัติงานภายใต้ มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคอย่าง เคร่งครัด 60
สัมมาชีพ อาหารเพื่อสุขภาพและหลักโภชนาการ วิทยากร : นางผ่องศรี สมหวัง บรรยายกลุ่ม 1 หัวข้อ - การทำอาหารเพื่อสุขภาพและหลักโภชณาการ - การทำแซนวิช 7 หน้ า - ก๋วยเตี๋ยวลุยสวน - การทำขนมถั่วแปบธัญพืช วิทยากร : นางราตรี รักนุช บรรยายกลุ่ม 2 หัวข้อ - การทำอาหารเพื่อสุขภาพและหลักโภชณาการ - การทำแซนวิช 7 หน้ า - ก๋วยเตี๋ยวลุยสวน - การทำขนมถั่วแปบธัญพืช 61
62
สัมมาชีพ การทำก้อนเชื้อเห็ด วิทยากร : นางวรรณจรัญ นครชัย บรรยาย หัวข้อ - การทำก้อนเชื้อเห็ด - วิธีการเตรียมวัสดุอุปกรณ์ - วิธีการทำก้อนเชื้อเห็ด - การลงมือปฏิบัติในการทำก้อนเชื้อเห็ด 63
64
สัมมาชีพ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิทยากร : ว่าที่ร้อยตรีเจนณรงค์ กลดแก้ว บรรยาย หัวข้อ - การเลือกซื้อวัสดุ อุปกรณ์ และส่ วนผสมในการเลี้ยงปลาดุก - การเตรียมอุปกรณ์ในการเลี้ยงปลาดุก - การเตรียมบ่อในการเลี้ยงปลาดุก - การเลี้ยงปลาดุกในบ่อปูนและบ่อดิน 65
66
สมาชิ ก ว่าที่ร้อยตรีอนุชิต พงศ์พรหม อาจารย์ที่ปรึกษา นางสาวพรทิพย์ ถือทอง วิศวกรสังคม : บัณฑิตจบใหม่ นางสาวจุฑาทิพย์ จันทร์สว่าง วิศวกรสังคม : บัณฑิตจบใหม่ นางสาวโสรยา คชสวัสดิ์ วิศวกรสังคม : บัณฑิตจบใหม่ นางสาวชลธิชา หมื่นสะชุม วิศวกรสังคม : บัณฑิตจบใหม่ นางสาวพัชรีดา แม่น้ำ วิศวกรสังคม : บัณฑิตจบใหม่ นายจิรวัฒน์ นกเส้ง วิศวกรสังคม : บัณฑิตจบใหม่ นายสุริยา เจิกสูงเนิน วิศวกรสังคม : บัณฑิตจบใหม่ นางสาวชนิกานต์ ใจหาญ วิศวกรสังคม : บัณฑิตจบใหม่ นายปิยะชัย สิทธิอินทร์ วิศวกรสังคม : บัณฑิตจบใหม่ นางสาวอรณี ศรีสวัสดิ์ วิศวกรสังคม : บัณฑิตจบใหม่ นายณัฐวุฒิ พรมดาว วิศวกรสังคม : บัณฑิตจบใหม่ นายจิตนกรณ์ อุทัยอาจ วิศวกรสังคม : บัณฑิตจบใหม่ นายอนุรักษ์ บัวพรม วิศวกรสังคม : บัณฑิตจบใหม่ นางสาวกาญจนา ต้นวงศ์ วิศวกรสังคม : บัณฑิตจบใหม่ นางสาวศิริรัตน์ สังข์ทอง วิศวกรสังคม : ประชาชนทั่วไป นางสาวชุติมาภรณ์ กลับอำไพ วิศวกรสังคม : ประชาชนทั่วไป นางสาวจันทรกานต์ ห่อหุ้ม วิศวกรสังคม : ประชาชนทั่วไป นางวาสนา แคล่วคล่อง วิศวกรสังคม : ประชาชนทั่วไป นางสาวพัชรี ปานอุรัง วิศวกรสังคม : ประชาชนทั่วไป นายสุวิจักขณ์ เกิดนิล วิศวกรสังคม : ประชาชนทั่วไป นายธนวัฒน์ แซ่เลี้ยง วิศวกรสังคม : นักศึกษา นายธนานันท์ สุจิพงค์ วิศวกรสังคม : นักศึกษา นายวรกานต์ รัตนะ วิศวกรสังคม : นักศึกษา นางสาวจิราภรณ์ จันทวงศ์ วิศวกรสังคม : นักศึกษา นางสาวพัชรา สงชาติ วิศวกรสังคม : นักศึกษา นางสาวลภัสรดา อักษรไทย วิศวกรสังคม : นักศึกษา นางสาวมธุลิน ศร วิศวกรสังคม : นักศึกษา 67
วิศวกรสังคม บ้าน ตำบลบ้านนา นา U2T SRU
Search