คานา โครงการยกระดับมาตรฐานฟารม์ เพาะเลี้ยงปลานลิ เพอ่ื การสง่ ออกมวี ตั ถปุ ระสงค์เพือ่ ยกระดับ มาตรฐานการเพาะเลย้ี งปลานิลของเกษตรกร ตามมาตรฐาน จี เอ พี (Good Aquaculture Practice) ท่ีมีเปา้ หมาย ให้เกษตรกรผลิตปลานิลทีม่ ีคุณภาพ ไม่มีอันตรายต่อผบู้ รโิ ภค ปลานลิ เปน็ ปลาน้าจดื ที่ไดร้ บั ความนิยมบริโภค เพิ่มมากข้นึ ในปัจจุบนั ท้ังในประเทศและต่างประเทศ มแี นวโนม้ เพม่ิ ข้ึนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เป็นที่คาดหมายว่าผลผลิต และจ้านวนเกษตรกรผู้เพาะเล้ียงปลานลิ จะมี เพ่มิ ขน้ึ ตามไปด้วย การเผยแพรค่ วามรู้เรอื่ งการเลย้ี งปลานลิ ให้ เกษตรกรผเู้ พาะเลยี้ งปลานลิ ได้รบั ความรูท้ ี่ ถูกตอ้ งตามมาตรฐานจี เอ พี นบั วา่ มีความจา้ เป็น เพือ่ ให้ปลานิลที่ ผลติ ไดม้ คี ุณภาพและปลอดภยั สา้ หรบั การบริโภคและมีมาตรฐานสา้ หรับการสง่ ออก เกษตรกรมคี วามมั่นคงใน อาชพี เพาะเล้ยี งปลานิล การเพาะเล้ยี งปลานิลไดพ้ ัฒนามาเป็นเวลา 40 ปี มีการขยายตวั ไปท่ัวทุกพน้ื ทขี่ องประเทศ เกษตรกรผู้ เพาะเล้ยี งปลานลิ มีความชา้ นาญต่างกนั จา้ แนกได้เปน็ การเพาะพนั ธุ์ การเลย้ี งในบ่อ และการเล้ยี งในกระชัง นอกจากนี้ยงั มีความแตกต่างกันในด้านระดับการพฒั นา ท่มี ีทั้งเกษตรกรท่ีอยู่ในระยะแรกเริม่ หรือทเี่ ลย้ี งมาเป็น เวลานาน เป็ นเกษตรกรท่เี ลยี้ งเพ่อื การยงั ชีพหรอื เลยี้ งเพื่อการค้า ความหลากหลายของเกษตรก รผูเ้ ล้ยี งปลานลิ ท่ี กลา่ วมานี้ เปน็ เหตุผล ให้กรมประมงคดั เลอื กเกษตรกรทีป่ ระสบความสา้ เร็จในอาชพี เพาะเลี้ยงปลานิลท่มี ีความ ช้านาญในดา้ นตา่ งๆ ท่วั ประเทศจ้านวน 50 ทา่ นใน 50 จังหวดั ยกย่องใหเ้ ป็นปราชญป์ ลานิลของโครงการเพือ่ จะได้น้าความรู้ ประสบการณ์ ถา่ ยทอดให้กบั เกษตรกรอื่นๆ ท่ยี งั อยใู่ นระยะเรมิ่ ต้ นหรอื ท่ียังคงประสบปญั หา ตา่ งๆ ในการเพาะเล้ยี งปลานลิ หนงั สือเล่มน้ี จัดทา้ ข้นึ โดยการรวบรวมข้อมลู จากปราชญป์ ลานลิ ทัง้ 50 ทา่ น ประกอบกับข้อมลู ท่ีได้ จากการสมั มนาปราชญ์ในระดบั ภูมภิ าค 4 ภาค เน้อื หาประกอบดว้ ย การเพาะเล้ยี งปลานิล การเล้ียงปลานลิ ใน บอ่ การเลีย้ งปลานลิ ในกระชัง ปัญ หาการเพาะเลี้ยงปลานิล และภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ หวังว่าหนงั สอื เล่มนจ้ี ะเปน็ ประโยชน์สา้ หรับเกษตรกรผูเ้ พาะเลีย้ งปลานิลและผ้ทู เี่ กยี่ วข้อง ท่มี ีความสนใจเกยี่ วกบั ปลานลิ ซง่ึ จะเป็นส่วน ส้าคญั ในการพัฒนาการเพาะเล้ียงปลานลิ ของประเทศทั้ งระบบใหร้ ุดหนา้ ไปสมู่ าตรฐาน จี เอพี ตามวัตถุประสงค์ ของโครงการต่อไป (นายสมหวงั พมิ ลบตุ ร) ผูอ้ ้านวยการสา้ นักวจิ ยั และพฒั นาประมงน้าจืด
สารบญั หนา้ เรื่อง 1 2 1. การเพาะพันธปุ์ ลานลิ 3 1.1 ลักษณะเพศของปลานิล 4 1.2 การเตรยี มบ่อและกระชังเล้ยี งพ่อแม่พันธ์ุ 7 1.3 การเล้ียงปลานิลเพื่อเปน็ พอ่ แมพ่ นั ธ์แุ ละการคดั เลือกพ่อแม่พันธ์ุ 10 1.4 การเพาะพันธ์ปุ ลานิลแปลงเพศแบบพฒั นา 14 1.5 ระบบฟักไข่ปลานลิ 14 1.6 การแปลงเพศปลานิลโดยใช้อาหารผสมฮอรโ์ มน 15 1.7 การอนบุ าลลูกปลานลิ 1.8 การลา้ เลียงพันธป์ุ ลา 16 1.9 การปล่อยปลา 18 19 2. การเลีย้ งปลานิลในบอ่ 20 2.1 การเตรยี มบ่อ 2.2 การอนบุ าลลูกปลานลิ 28 2.3 การปลอ่ ยลกู ปลา 28 2.4 การเลี้ยง 29 30 3. การเล้ียงปลานิลในกระชงั 31 3.1 การเตรยี มกระชงั 34 3.2 การปล่อยลูกปลา 40 3.3 การเลยี้ ง 3.4 โรคและการปอ้ งกันรักษา 3.5 ผลผลติ และการเกบ็ เกยี่ ว ผลผลติ 4. ปญั หาการเพาะเลี้ยงปลานลิ 5. ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ภาคผนวกท่ี 1 ปราชญป์ ลานลิ ภาคผนวกที่ 2 คณะกรรมการบรหิ ารโครงการ
1. การเพาะพันธป์ุ ลานลิ 1.1 ลกั ษณะเพศของปลานิล ปลานลิ เพศผู้และเพศเมยี ขณะทีอ่ ายยุ ังน้อยมีลกั ษณะทีค่ ลา้ ยคลงึ กนั แตจ่ ะเริ่มแตกตา่ งกนั เมือ่ เขา้ สวู่ ยั เจริญ พนั ธุ์ ในรนุ่ เดยี วกันปลานิลเพศผจู้ ะมขี นาดใหญ่กว่าเพศเมีย และในฤดผู สมพันธ์ุเพศผูจ้ ะมสี สี นั สดใสกวา่ เพศ เมยี การแยกเพศต้องสังเกตจากอวัยวะสืบพนั ธแ์ุ ละลกั ษณะอ่ืนๆประกอบ ดั งน้ี ปลานิลเพศผู้ อวัยวะสบื พันธุอ์ ยทู่ ี่บริเวณใกล้กับช่องทวาร มลี กั ษณะเรียวยาวย่นื ออกมา มรี ูเปิด 2 รู คอื รูก้น (anus) และรเู ปิดรวมของท่อนา้ นา้ เชอ้ื และปัสสาวะ (urogenital pore) สขี องตวั ปลาจะเขม้ สดใส ครีบจะมีสชี มพู เขม้ ออกแดง และใตค้ างจะมสี ีคอ่ นขา้ งแดง ปลานลิ เพศเมยี อวัยวะสบื พันธ์มุ ลี ักษณะคอ่ นขา้ งกลมใหญ่ และมีชอ่ งเปดิ เป็นขดี ขวางตรงกลาง มีรเู ปดิ 3 รู คือ รูก้น (anus) รทู ่อน้าไข่ (genital pore) และรทู อ่ ปัสสาวะ (urinary pore) สขี องตวั ปลาจะซดี กว่า ปลาเพศผู้ มองเห็นแถบขวางข้างตวั ได้ชัดเจน ใตค้ างมีสเี หลอื งคอ่ นข้างขาวและขนาดตวั ปลาจะเล็กกวา่ ปลา เพศผู้
1.2 การเตรยี มบอ่ และกระชังเลี้ยงพ่อแม่พันธ์ุ เม่ือสบู นา้ ออกจากบอ่ เลย้ี งปลาจนแหง้ แล้ว ใช้ปู นขาวหว่านใหท้ ั่วบ่อในปรมิ าณ 160 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ หลงั จาก นั้นตากบอ่ ใหแ้ หง้ ทิง้ ไวอ้ ย่างน้อย 7 วัน ก่อนจ ะน้านา้ เขา้ ในบ่อเลี้ยงปลาจะตอ้ งตรวจดสู ภาพของไมไ้ ผท่ ่ีใชเ้ ป็น หลักในการผกู กระชงั วา่ ช้ารุดเสยี หายหรือใกลห้ มดสภาพ หากตรวจสอบพบจะต้องรบี ซอ่ มหรอื หาไมไ้ ผ่มา เปลย่ี นหลักใหม่ นอกจากการตรวจสภาพไมไ้ ผ่แล้วสภาพของกระชังท่จี ะนา้ มาใชใ้ นบ่อก็จะต้องตรวจดูว่าชา้ รุด เสียหายและท้าการซอ่ มแซมเพอ่ื ให้อยใู่ นสภาพพรอ้ มใชง้ าน เมื่อไดก้ ระชงั ทีส่ มบรู ณ์ครบตามจา้ นวนชดุ พอ่ แม่ พันธ์ุทีว่ างแผนในบ่อทเ่ี ตรยี มไว้ จึงจะสูบน้าเขา้ และน้ากระชังท่เี ตรยี มไว้มาผกู กับหลักไม้ไผ่ โดย กระชงั ขนาด 5x8 เมตร ผูกไวต้ รงกลางสา้ หรับใชใ้ นการเพาะพนั ธ์ปุ ลานิล และกระชัง 2x4 เมตร จา้ นวน 2-4 กระชัง ผูกไวค้ น ละดา้ นของกระชังเพาะพันธเุ์ พอื่ แยกปลานิลเพศผู้และเพศเมีย ในทกุ ชดุ การเพาะพนั ธกุ์ ระชงั พ่อแม่พันธุ์ทพี่ ัก ไว้จะต้องอยดู่ ้านเดียวกันเสมอ เพอื่ ความรวดเร็วในการปฏบิ ตั ิงานและป้องกนั การสับสนของผปู้ ฏิบตั ิงาน สูบน้าออกจากบ่อ จบั ปลาที่เหลอื คา้ งในบ่อ
ตรวจสอบหลักผูกกระชงั หวา่ นปูนขาวและตากบอ่ ใหแ้ หง้ ซ่อมแซมกระชัง เล้ียงพ่อแม่พนั ธ์ุในกระชัง การนา้ นา้ เข้ามาใชใ้ นบอ่ เลย้ี งปลาจะตอ้ งกรองผ่านถงุ กรองตาข่ายมงุ้ ฟา้ ทั้งทางนา้ เขา้ และทางน้าออกของปัม้ นา้ เพือ่ ป้องกันศตั รูป ลาทอี่ าจมากบั นา้ และปอ้ งกนั ปลาชนิดอนื่ ซง่ึ อาจมผี ลกระทบในการบรหิ ารจดั การ เชน่ ปลาซวิ และปลากินยงุ หากเขา้ มาอยู่ในบอ่ อนุบาลลกู ปลานิลแปลงเพศมกั จะเข้ามากนิ อาหารในกระชงั ท้าให้ เกดิ ปัญหาในการเสียต้นทนุ คา่ อาหารผสมฮอร์โมน และในการเก็บเกยี่ วผลผลติ ลกู ปลานลิ แปลงเพศเพ่ื อ จา้ หนา่ ย ปลาซิวและปลากินยงุ มกั จะปนกับลกู ปลานลิ ทา้ ใหจ้ า้ เป็นต้องเพม่ิ ขัน้ ตอนในการแยกปลาเหลา่ นท้ี งิ้ การผกู กระชังจะต้องให้พืน้ กระชังอยู่หา่ งจากพืน้ บ่ออยา่ งน้อย 30 เซนตเิ มตร และจะต้องผูกปากกระชังให้อยู่ เหนือนา้ ประมาณ 30 เซนตเิ มตรเพ่ือปอ้ งกนั ปลากระโดดออกจากกระ ชัง ระดับน้าในบอ่ เลี้ยงปลาประมาณ 1.2 เมตร 1.3 การเล้ยี งปลานิลเพื่อเปน็ พอ่ แมพ่ ันธแ์ุ ละการคัดเลอื กพอ่ แม่พนั ธุ์
พอ่ แมพ่ ันธ์ปุ ลานลิ ของฟารม์ ทง้ั หมดเปน็ ปลาที่เลย้ี งเองโดยใชป้ ลานิลสายพันธ์ุ จิตรลดา 3 จากศูนย์วจิ ยั และ พฒั นาพันธุกรรมสตั ว์น้า คลอง 5 จงั หวดั ปทมุ ธานี ด้ วยการอนบุ าลลูกปลานลิ ในกระชงั ขนาด 5x8x0.9 เมตร ความหนาแนน่ 2,000-3,000 ตัวตอ่ กระชัง หรอื 50-75 ตัวต่อตารางเมตร ท้ังน้ี การปล่อยปลาจ้านวนนอ้ ยจะท้า ใหป้ ลาเจริญเติบโตได้ดี อนบุ าลลกู ปลาด้วยอาหารส้าเรจ็ รปู เมด็ เล็กโปรตนี สงู ทร่ี ะดบั 40% ปรมิ าณการให้ อาหารในอัตรา 10% ของนา้ หนักตวั หรือวนั ละ 100 กรัม โดยแบง่ ให้อาหารวนั ละ 3 เวลา หลังจากอนบุ าลลกู ปลา 2 เดอื น จะทา้ การแยกปลาออกครึ่งหนึ่งลงเลย้ี งในกระชังขนาดเท่ากนั และเปล่ียนอาหารสา้ เรจ็ รปู เปน็ อาหารเม็ดสา้ เร็จรปู ปลาดุกเล็กระดบั โปรตีน 32% ใหอ้ าหาร 2 ครัง้ ตอ่ วนั ในตอนเช้าและตอนบ่าย ปรมิ าณการ ใหอ้ าหาร 2-3% ของนา้ หนักตวั หรอื ประมาณ 500 กรัม ต้องหมั่นสงั เกตการกนิ อาหารของลกู ปลาไมใ่ หอ้ าหาร เหลอื มากเกนิ ไปเพราะจะทา้ ให้นา้ เสียได้ง่าย เม่ือเลีย้ งปลาเปน็ ระยะเวลา 5-6 เดือน ปลานลิ จะมขี นาดและอายุทพี่ รอ้ มสา้ หรบั ใชเ้ ป็นพอ่ แมพ่ นั ธุไ์ ดแ้ ลว้ โดย ปลานลิ จะสมบูรณเ์ พศสามารถสืบพนั ธวุ์ างไข่ไดเ้ มื่อมีอายุประมาณ 6 เดอื น ในชว่ งนจี้ ะต้องแยกปลานลิ เพศผู้ และเพศเมยี ออกจากกัน โดยการคดั ปลาขนาด 200-250 กรมั หากใชแ้ ม่ปลาทข่ี นาดเลก็ เกินไปจะทา้ ใหไ้ ดไ้ ข่ ขนาดเลก็ และปริมาณไขน่ อ้ ย (หากใชป้ ลาท่มี ขี นาดใหญเ่ กินไป มากกว่า 800 กรมั การจบั ปลาเพ่อื เคาะไข่จาก ปากท้าไดย้ าก และการเกบ็ รวบรวมไข่จะเสยี หาย ) ทา้ การขนุ เล้ยี งพอ่ แมพ่ ันธดุ์ ว้ ยอาหารโปรตีน 32% เปน็ ระยะเวลา 20 วนั หลงั จากนน้ั จึงย้ายพ่อแม่พันธท์ุ เี่ ตรยี มไว้แลว้ ปล่อยลงในกระชังเพาะพนั ธุ์ โดยน้ามาทดแทน ปลานิลพ่อแม่พันธุ์เดมิ ทีว่ างไข่ลดลง อายุของพ่อ แม่พันธป์ุ ลานลิ ทีป่ ลดระวางไม่เกนิ 2 ปี โดยดจู ากปรมิ าณ ผลผลิตไข่ปลานิลทไ่ี ดใ้ นแต่ละชุดเพาะพนั ธุ์ การเพาะพนั ธุป์ ลานิลปลานิลสามารถด้าเนินการสปั ดาหล์ ะครง้ั โดยการเปิดปากแม่ปลาทีละตวั และเคาะไข่ ออกจากปากหากพบว่ามีไขอ่ ยู่ และเปลี่ยนแม่ปลาที่วางไขอ่ อกทุกครัง้ ทเ่ี คาะไข่ออกจากปากแลว้ (ให้พ่อแม่ ปลาได้พักหนง่ึ สปั ดาหจ์ ึงนา้ กลบั มาเพาะใหม่ ) การจดั การเช่นน้ี จะชว่ ยใหพ้ อ่ แม่พนั ธม์ุ คี วามสมบูรณแ์ ละ ให้ผลผลติ สูง 1.4 การเพาะพนั ธุ์ปลานลิ แปลงเพศแบบพฒั นา การเพาะพันธป์ุ ลานิลสามารถทา้ ไดท้ ั้งในบ่อดนิ กระชังในบ่อดิน หรอื บอ่ ซีเมนต์ แต่ปัญห าหลักทผี่ ้เู พาะพันธ์ุ ปลานิลพบเสมอกค็ อื ปลานลิ วางไขไ่ มพ่ รอ้ มกัน ท้าให้ปริมาณลกู ปลานลิ ทีผ่ ลิตไมส่ ม่า้ เสมอ สามารถ แก้ปัญหาไดโ้ ดยการใช้พ่อแมพ่ ันธจ์ุ า้ นวนมาก และเกบ็ รวบรวมไข่หรือลกู ปลาใหบ้ อ่ ยคร้ังขึน้ อย่างไรก็ตาม ใน การผลติ ที่มุง่ เน้นให้ผลติ ลูกปลาท่ีมีขนาดสมา้่ เสมอใ นจ้านวนมากตามทต่ี ้องการ จ้าเปน็ ต้องอาศัยระบบการ
เพาะพนั ธป์ุ ลานลิ แบบพฒั นา ได้แก่ การใชร้ ะบบการเพาะพนั ธุป์ ลานลิ ในกระชังในบอ่ ดิน รว่ มกบั การใชร้ ะบบ การฟักในโรงเพาะฟักไข่ปลานิล ซึง่ มีขน้ั ตอนการด้าเนินการดงั ต่อไปนี้ 1.4.1 การเพาะพนั ธ์ุปลานิล โดยการเพาะ 1 ชดุ จะใชป้ ล านลิ พ่อแมพ่ นั ธุ์ทั้งหมด 480 ตัว แบ่งเป็นปลานิล เพศผู้ 240 ตวั และปลานลิ เพศเมยี 240 ตวั พ่อแม่พนั ธป์ุ ลานิล แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คอื กลมุ่ ทีใ่ ช้เพาะพันธ์ุ และกลุม่ ท่พี กั เตรยี มเป็นพอ่ แม่พันธค์ุ รั้งต่อไป โดยกลุ่มแรกท่ใี ชเ้ พาะพนั ธุ์จะใช้พอ่ แม่พันธปุ์ ลานิลในอัตราส่วน เพศผู้ จ้านวน 120 ตวั ต่อเพศเมยี จ้านวน 120 ตวั ปลอ่ ยรวมกนั ในกระชังขนาด 5x8 เมตร เป็นเวลา 7 วนั โดยไม่ให้ อาหาร หลงั จากท่ีเคาะไขอ่ อกจากปากแม่ปลาแล้วจะทา้ การแยกปลา นลิ เพศผู้และเพศเมียใส่ในกระชัง 2x4 เมตร จา้ นวน 2 กระชงั เพอ่ื พักปลาและขนุ เลี้ยงเตรยี มไว้เป็นพ่อแม่พันธ์ุ ครั้งต่อไป ในช่วงนี้ใหอ้ าหาร เมด็ ปลา ดุกขนาดเลก็ ระดับโปรตนี 32% ปริมาณการให้อาหาร 2% ของน้าหนักตวั หรือประมาณ 800 กรัมตอ่ กระชงั ตอ่ วัน แบ่งใหอ้ าหาร 2 คร้ัง เป็นเวลา 7 วนั และนา้ ปลากลุ่ มทพี่ ักไว้มาเพาะพันธใุ์ นกระชัง 5x8 เมตร แทนปลา กลุ่มแรกเพาะพันธุ์สลบั กันทกุ 7 วัน 1.4.2 การนาไข่ปลานลิ ออกจากปากแมป่ ลา โดยการใชส้ วิงตาห่างตกั ปลา แล้วซอ้ นดว้ ยสวิงตาถอี่ ีกช้ัน เพื่อเกบ็ ไข่ปลา ตรวจสอบปลาในสวิง ถ้าปลานิลอมไข่ไวใ้ นปาก จะเคาะไข่จากปากแมป่ ลาผา่ นสวงิ ตาห่างลง ในสวิงตาถ่ี และแยกแมป่ ลาไปยังกระชัง 1x1 เมตร ไข่ที่ไดจ้ ะอยใู่ นสวิงต าถี่ จากน้ันนา้ ไขม่ ารวมไว้ในกะละมงั ขนาดเล็กตามการพัฒนาระยะของไข่ปลานิล ซ่งึ แบ่งออกเปน็ 5 ระยะ โดยไข่ปลานลิ ที่พัฒนาเข้าสรู่ ะยะท่ี 5 จะ คัดทิง้ ไม่น้ามาใชใ้ นการแปลงเพศ หลงั จากทีเ่ คาะปากปลาครบท้งั หมด และแยก ปลานลิ เพศผูแ้ ละเพศเมียใน กระชัง 1x1 เมตร แล้วนา้ ปลาไปพักเพื่อขนุ เล้ียงในกระชงั ขนาด 2x4 เมตร จ้านวน 2 กระชงั แยกเปน็ กระชังเพศ ผู้และเพศเมีย การเคาะปากรวบรวมไขป่ ลานลิ ดว้ ยวธิ ีนที้ ้าให้สามารถเคาะปากปลานิลไดร้ วดเรว็ ใชค้ นนอ้ ย และป้องกัน อนั ตรายจากกา้ นครบี แขง็ ของปลานลิ หากจบั ตวั ปลาโดยตรง ป้องกนั การสูญเสยี พ่อแมพ่ ันธอ์ุ อกนอก กระชงั โดยเฉพาะปลานลิ พ่อแม่พันธ์ขุ นาดใหญ่ทไ่ี มส่ ามารถจับปลาไดถ้ นดั มากนกั อาจหลุดมอื ออกนอกกระชงั ได้ การใชพ้ ่อแม่พนั ธุ์ปลานลิ ทอ่ี ายปุ ระมาณ 6 เดือน ขนาดนา้ หนัก 200-300 กรัมต่อตัว ที่เปน็ ปลาทีน่ ้ามา เพาะพันธุ์คร้ังแรกจะใหไ้ ข่ฟองเลก็ ปรมิ าณนอ้ ย แมป่ ลาตนื่ ตกใจงา่ ย แ ละจะคายไข่ออกจากปากลงในกระชัง ก่อน ท้าใหร้ วบรวมไขป่ ลานลิ ไดย้ าก แตเ่ ม่อื มกี ารเคาะปากในคร้ังตอ่ ๆ ไป แมป่ ลาจะเริม่ เคยชินซ่ึงจะมกี ารคาย ไข่ออกก่อนเคาะปากน้อยลงท้าให้การรวบรวมงา่ ยข้นึ และปริมาณไข่ไม่สูญเสยี จากการคายไข่
รวบรวมไข่จากปากแมป่ ลา แยกพ่อแม่ปลาไปเล้ียงเพือ่ ใช้ในรุ่นตอ่ ไป แยกไขป่ ลานลิ ตามระยะการพัฒนา อยา่ งไรกต็ าม การเพาะพนั ธปุ์ ลานลิ ในกระชงั ท่ที ้าจากเนอ้ื อวนตาถี่ทงั้ หมด มักจะเกิดการอดุ ตนั ของสาหร่าย หรือตะไคร่นา้ ท้าใหไ้ มเ่ กดิ การหมุนเวยี นของนา้ ในกระชังและนอกกระชงั คุ ณภาพน้าในกระชังมปี ัญหาทา้ ใหผ้ ลผลิตของไข่/ลกู ปลาลดลง การใชก้ ระชงั ท่ีมพี ื้นและผนงั ดา้ นข้างเพยี งดา้ นเดยี วทท่ี ้าด้วยเน้ืออวนตาถี่ เพื่อ ใชเ้ ปน็ ท่ีใหแ้ มป่ ลาวางไขแ่ ละรวบรวมไข่จากแมป่ ลา สว่ นผนังขา้ งด้านยาว 2 ด้านและดา้ นกว้างอกี 1 ดา้ น จะ
ใช้เน้ืออวนไนล่อนขนาดตา 1 นว้ิ เปน็ วิธกี ารท่ใี ช้แก้ไขปญั หาการอุดตนั ของตาข่ายตาถี่ ชว่ ยใหเ้ กิดการ หมุนเวียนน้าภายในและภายนอกกระชงั ไดด้ ี นอกจากน้ี การใชก้ ระชงั ลกั ษณะดงั กลา่ ว ยงั สามารถลดการใช้ แรงงานในการท้าความสะอาดกระชังไดอ้ ีกด้วย กระชงั เพาะพันธุป์ ลา กระชงั เน้ืออวน 2 ชนดิ ชว่ ยถ่ายเทน้า 1.4.3 การนาไข่มาเพาะฟกั ในโรงเพาะฟัก หลงั จากท่ีแยกระยะของไขป่ ลานิล คัดแยกสงิ่ ปนเปอื้ น และลา้ ง ทา้ ความสะอาดไขแ่ ล้ว จะน้า ไข่ใสถ่ าดหรือกรวยฟกั ไข่ เพอ่ื จะไดล้ ูกปลาทฟ่ี กั ออกเปน็ ตวั (hatch out) มขี นาด สมา้่ เสมอและอายใุ กล้เคียงกัน ไข่ปลานลิ แตล่ ะระยะท่รี วบรวมจากบ่อเพาะพันธ์จุ ะถกู ล้าเลียงมายงั โรงเพาะฟกั น้าไปคัดแยกเศษขยะหรอื สง่ิ แปลกปลอมออกดว้ ยวธิ ีการกรองผ่านตาข่ายผา้ ในกะละมังใบเลก็ จากน้ันเทไข่ปลานิลใสส่ วงิ ตาถี่ และแช่ไข่ ปลานลิ ในน้าเกลอื ทม่ี ีความเข้มขน้ 5% แลว้ ล้างดว้ ยน้าสะอาดกอ่ นจะนา้ ไขป่ ลามาช่ังนา้ หนักด้วยเครอ่ื งช่งั ทศนยิ ม 2 ต้าแหน่ง และจดบันทกึ น้าหนกั ไขป่ ลาทกุ คร้งั เพอื่ ประเมนิ จ้านวนไข่ทัง้ หมด การประเมนิ ปรมิ าณไข่ปลานิลที่รวบรวมไดใ้ นแต่ละร่นุ จะใช้วิธีการช่ังน้าหนักไข่ปลานิ ลแยกแต่ละระยะ โดย น้ากะละมงั ใบเลก็ ใสน่ ้าครงึ่ หนึง่ วางบนเคร่ืองชั่ง และกดปุ่ม Reset จากน้ันนา้ ไข่ปลาในสวงิ เทใส่ในกะละมงั จด บันทึกน้าหนักไข่ปลาแยกระยะกนั เพอ่ื นา้ มาคา้ นวณหาปรมิ าณไข่ตอ่ ครงั้ ในแต่ละชุดเพาะพนั ธ์ุ การค้านวณหาปรมิ าณไขป่ ลานลิ ในแต่ละระยะ โดย นับไข่ปลานลิ จา้ นวน 200 ฟองจากนั้นน้าไข่ท้งั 200 ฟองมา ชัง่ น้าหนกั ด้วยเครือ่ งชัง่ ทศนยิ ม 2 ต้าแหน่ง จะได้นา้ หนักไขป่ ลานิล 200 ฟอง สมุ่ นับไขป่ ลานลิ แต่ละระยะ จ้านวน 2 คร้งั เพื่อหาคา่ เฉลี่ย จากนน้ั นา้ มาคา้ นวณหาปรมิ าณไข่ทัง้ หมดในระยะนัน้ ๆ ท้ังนี้ ขนาดไขป่ ลานลิ จะแตกตา่ งกนั ขึน้ อยู่กับอายขุ องพ่อแม่พันธ์ุ เชน่ ไขป่ ลานลิ จากพ่อแมพ่ นั ธุอ์ ายุ 1 ปี มขี นาดไข่ใหญ่กว่าไข่จาก
พ่อแมพ่ ันธอ์ุ ายุ 6 เดือน ซึ่งสังเกตได้อยา่ งชัดเจน ดังนั้นการประเมินปริมาณไข่ปลานลิ ในแต่ละรอบการ 1 เพาะพันธจ์ุ ะต้องมาจากชดุ เพาะพันธ์ทุ ่ีขนาดพ่อแม่พนั ธุ์ใกลเ้ คียงกนั ซ่งึ จากการ นบั ไข่ปลานลิ ในระยะที่ ระยะที่ 2 และระยะท่ี 3 พบว่า นา้ หนกั ของไข่ปลาท้ัง 3 ระยะไมแ่ ตกตา่ งกันมาก การล้างท้าความสะอาดและชงั่ น้าหนักไข่ น้าไข่ที่ท้าความสะอาดแล้วใสถ่ าดฟกั 1.5 ระบบฟกั ไขป่ ลานิล ไข่ปลานิลมีขนาดคอ่ นข้างใหญ่ มีนา้ หนักและไมอ่ มนา้ เมอ่ื ถูกปลอ่ ยจากปากแมป่ ลาจะตกลงสูพ่ ื้นกองทบั ถม กันหากอยใู่ นสภาพน้านิง่ จงึ ต้องออกแบบระบบฟกั ไขใ่ หม้ กี ารหมนุ เวยี นของกระแสน้า พัดพาใหไ้ ขม่ ีการ เคลือ่ นที่ ไม่กองทบั ถมกนั จนขาดออกซเิ จนทา้ ใหไ้ ขเ่ สยี ระบบฟกั ไขท่ ม่ี นี ้าหมุนเวียนอาจเป็นกรวยหรอื ถาดกไ็ ด้ ระบบถาดฟกั ไข่ ระบบกรวยฟกั ไข่
หลงั จากบันทึกปริมาณไขป่ ลานิลแลว้ น้าไข่ปลานลิ มายังถาดเพาะฟกั ที่เตรียมไว้ โดยเปดิ น้าใหไ้ หลเวียนใน ถาดในระดบั พอดี ไม่แรงจนเกนิ ไปและไมเ่ บาจนไมส่ ามารถท้าให้ไข่ปลานิลในนา้ ไหลเวยี นไมส่ ะดวก หม่นั ทา้ ความสะอาดตาขา่ ยที่กรุขา้ งถาดเปน็ ชอ่ งทางนา้ ออกด้วยแปรงขนาดเล็กเพื่อปอ้ งกนั การอดุ ตนั และเปลยี่ น ถาดเพาะฟกั ทุกวนั เพ่ือไม่ใหเ้ กดิ การสะสมของเสยี บรเิ วณพน้ื ถาด วิธกี ารเปล่ยี นถาด น้าไขป่ ลาในระยะเดยี วกนั เทใสส่ วงิ ตาถจี่ ุ่มแช่ในนา้ เกลอื แล้วล้างดว้ ยน้าสะอาด จากนน้ั น้า ไข่ปลาใส่คนื ในถาดเพาะฟกั ใบใหม่ ไข่ปลาในระยะท่ี 1 ถึงระยะที่ 3 จะใช้ถาดเพาะฟกั ที่มีรทู างนา้ ออก 3 แถว ปริมาณนา้ ในถาดประมาณ 2 ลติ ร ส้าหรบั ไข่ปลาในระยะที่ 4 ถึงระยะท่ี 5 จะต้องหมั่นสังเกตและคัดแยกปลา ไมส่ มบรู ณ์ เช่น ปลาวา่ ยน้า ผดิ ปกติ ปลาพกิ ารตัวงอ ปลาตาบอด และไขป่ ลาในระยะอน่ื ออก โดยการนา้ ปลา มาแยกในกะละมงั ขนาดกลาง ใชส้ ายยางขนาดเล็กดดู ปลานิลท่ีไมส่ มบรู ณอ์ อกจากก้นกะละมังใหม้ ากท่ีสดุ จากน้นั นา้ ปลาเทใสส่ วงิ ตาถี่ จุ่มแช่ในนา้ เกลือแลว้ นา้ ลูกปลานลิ ใสใ่ นถาดใหม่ โดยไขป่ ลานิลในระยะที่ 4 และ ระยะท่ี 5 จะใชถ้ าดท่มี รี รู ะบายน้า 2 แถว เพ่อื จะไดม้ ีปริมาณนา้ ในถาดมากขนึ้ ในช่วง บา่ ยจะนา้ ไขป่ ลานิล ระยะท่ี 5 ลงในกระชังอนุบาล และเรมิ่ ต้นใหอ้ าหารผสมฮอร์โมนในเช้าวนั รุ่งขึน้ ไข่ของปลานลิ สามารถแยกออกเปน็ 5 ระยะ ซึง่ มีสีทีแ่ ตกต่างกนั ชดั เจน ดงั นี้ ระยะท่ี 1 ไข่มสี ีเหลืองออ่ น ระยะท่ี 2 ไขม่ ีสีเหลืองเข้มขึ้น มจี ุดสดี า้ คลา้ ยตาสดี ้า 2 จดุ ระยะท่ี 3 ไข่พฒั นาจนเห็นสว่ นของตา ระยะท่ี 4 ไขฟ่ กั เป็นตวั มถี งุ ไขแ่ ดง
และหางชัดเจน ลูกปลานลิ เรม่ิ เคลอื่ นไหว ระยะที่ 5 ลูกปลาเรมิ่ กนิ อาหาร และถงุ ไข่แดงยุบหมด การพฒั นาระยะไข่ปลานลิ โดย ปกติไข่ปลานิลจะพัฒนาจากระยะที่ 1 ถงึ ระยะที่ 5 ใชเ้ วลา 7-8 วัน แต่ในฤดู หนาว อุณหภูมติ า้่ กว่า 20 องศาเซลเซียส จะทา้ ใหไ้ ขป่ ลานลิ ใชเ้ วลาในการพัฒนาระยะมากข้ึนโดยจะใช้เวลา ไมน่ อ้ ยกวา่ 14 วัน ทา้ ใหเ้ สยี เวลาในการฟกั ไขใ่ นโรงเพาะฟัก และไม่สามารถน้าไข่ปลาจากกระชงั เพาะพนั ธุ์ ข้ึนมาเพิม่ ในโรงเพาะฟักไดห้ ากไขป่ ลานิลในโรงเพาะฟักยังมปี รมิ าณมากอยู่ ทา้ ใหไ้ ด้ผลผลติ ตา่้ ในฤดูหนาว อยา่ งไรกต็ ามสามารถแกไ้ ขปญั หาอณุ หภมู นิ ้าต่้า ไดด้ ว้ ยการต้มนา้ แล้วผสมน้าที่ต้มกบั น้าในโรงเพาะฟกั ใหไ้ ด้ ระดบั อุณหภูมนิ ้าทเี่ หมาะสม ทา้ ใหก้ ารพัฒนาของไขเ่ ป็นไปอย่างปกติ การตม้ นา้ อาจใช้วิธกี ารตม้ ด้วยฟนื ดังเชน่ ทป่ี ฏิบตั โิ ดยปราชญจ์ งั หวดั อดุ รธานี หรือโดยการคดิ คน้ ประดิษฐเ์ คร่อื งตม้ น้าท่ใี ชน้ า้ มนั เคร่ืองทใ่ี ช้แล้ว โดยปราชญจ์ ังหวัดเชยี งราย การต้มน้าเพ่ือเพิม่ อณุ หภมู ิน้าในระบบฟักไข่ โดยปราชญจ์ ังหวดั อุดรธานี ใชถ้ งั น้า 200 ลติ ร จา้ นวน 4 ใบ และ ใช้ไม้ยคู าลปิ ตัสเปน็ เชื้อเพลิงในการตม้ น้า การต้ มน้าให้น้าเดอื ดในแตล่ ะครั้งจะใช้เวลาประมาณ 30-40 นาที หลงั จากท่ีน้าเดือดแล้วปลอ่ ยนา้ ลงในบอ่ พักนา้ กอ่ นจะสบู น้าข้นึ ไปพักในถังเกบ็ นา้ ต้มน้าทุกๆชว่ั โมงตลอดท้ัง กลางวันและกลางคืน ในเวลากลางคนื จะตอ้ งตม้ นา้ บ่อยกวา่ ในช่วงเวลากลางวัน เพราะอณุ หภมู ิน้าในเวลา กลางคนื จะต่้ากว่าในเวลากลางวันมาก บางวันอณุ หภมู ขิ องน้าต้่าว่า 16 องศาเซลเซยี ส การใช้วธิ ตี ้มน้าใน ระบบน้าในโรงเพาะฟกั ท้าให้อณุ หภมู ิน้าสูงขึน้ อยู่ในช่วง ประมาณ 23-28 องศาเซลเซียส ท้าใหไ้ ข่ปลานลิ สามารถพัฒนาได้ตามระยะเวลาทีเ่ ป็นปกติ
การต้มน้าดว้ ยฟนื การต้มน้าด้วยน้ามันเครอ่ื งท่ีใชแ้ ลว้ 1.6 การแปลงเพศปลานิลโดยใช้อาหารผสมฮอร์โมน แปลงเพศปลานิลให้เปน็ เพศผู้ โดยให้กินอาหารผส มฮอรโ์ มนเพศผู้ 17-แอลฟา เมทลิ เทสโทสเตอโรน (17-α methyltestosterone) ท่คี วามเข้มข้น 60 มลิ ลิกรัมตอ่ อาหาร 1 กิโลกรมั มขี นั้ ตอนการปฏิบตั ิดังนี้ 1.6.1 การเตรียมอาหารผสมฮอร์โมน ต้องเลอื กใชช้ นดิ อาหารท่ีมีความเหมาะสม มีขนาดเลก็ และมรี ะดับ โปรตีนสูงประมาณ 40% ได้แก่ ปลาปน่ ซึ่งก่อนน้ามาผสมฮอร์โมนให้ลกู ปลากินจะตอ้ งร่อนแยกเศษชิ้นสว่ น ขนาดใหญ่และสิง่ ท่ปี ะปนมากับปลาปน่ ใหไ้ ดข้ นาดเล็ก ซ่ึงถือว่ามคี วามส้าคญั มาก มีขน้ั ตอนการผสมอาหาร ดังน้ี - วธิ ีการท้าสารละลายฮอรโ์ มน (stock solution) ชั่งฮอรโ์ มน 17-α MT 0.5 กรมั แล้ว เตมิ เอทิลแอลกอฮอล์ ความเข้มขน้ 95% ปริมาณ 1,000 มลิ ลิลิตร (หรือซีซี) คนให้ละลายจนหมด ซงึ่ จะไดส้ ารละลายที่มคี วามเขม้ ขน้ 500 มิลลิกรมั ต่อ 1,000 มิลลิลิตร เก็บสารละลายไว้ในขวดสชี าในตเู้ ย็นซ่ึงจะช่วยรกั ษาคุณภาพสารละลาย ฮอร์โมนไวใ้ หใ้ ช้ไดเ้ ป็นเวลานาน - การน้าสารละลายฮอร์โมนมาใช้ จะเตมิ เอทิลแอลกอฮอลอ์ กี 1,000 มลิ ลลิ ติ ร เพ่ือเพม่ิ ปริมาณสารละลายให้ กระจายในอาหารไดอ้ ย่างท่ัวถงึ ผสมกับปลาป่น 8.3 กิโลกรัม โดยพ่นสารละลายฮอรโ์ มนใหท้ วั่ อาหาร คลุกเคล้าให้เขา้ กัน (แนะนา้ ให้ใชเ้ ครือ่ งผสมซึ่งมหี ลากหลายรปู แบบ เพอ่ื ให้ฮอร์โมนผสมกับอาหารได้อ ย่าง ทั่วถงึ ผ่งึ ลมให้แห้ง จากนัน้ นา้ อาหารมาเกบ็ ไวใ้ นห้องเก็บอาหารเพื่อป้องกันแดดและฝนไม่ให้อาหารเสือ่ ม คุณภาพ
เคร่ืองคลุกเคลา้ อาหารทใี่ ชม้ อื หมุน เครื่องผสมอาหารที่ใช้มอเตอร์ ผงึ่ แห้งอาหารท่ผี สมฮอรโ์ มนแปลงเพศ
หรบั ผู้ใช้ฮอร์โมนในกระบวนการผลิตจ้าเปน็ ต้องมีความระมัดระวงั ในการใช้เปน็ พิเศษ และมีการปอ้ งกันเพอื่ มิ ให้ร่างกายสมั ผัสฮอร์โมนโดยตรงเน่อื งจากฮอร์โมนเพศเปน็ สารเคมีทอ่ี อกฤทธติ์ าคณุ สมบัติเฉพาะ ควรศกึ ษา วิธกี ารใช้โดยละเอียดกอ่ นใช้ พงึ ใชด้ ้วยความระมัดระวังและหลีกเล่ยี งการสัมผสั โดยตรง 1.6.2 การใหอ้ าหารผสมฮอรโ์ มน เร่มิ เมือ่ ไขป่ ลานิลพัฒนาเขา้ สู่ระยะท่ี 5 ซ่ึงเป็นระยะลกู ปลาท่ีถงุ ไขแ่ ดงยบุ แลว้ และลกู ปลานิลระยะนีจ้ ะเริม่ พัฒน าระบบสืบพันธุ์ โดยในข้นั ตอนการเตรียมลกู ปลานิลในระยะนก้ี อ่ น ปลอ่ ยลงในกระชงั อนบุ าลเพือ่ ใหอ้ าหารผสมฮอรโ์ มน ทางฟารม์ จะทา้ การคดั แยกลกู ปลาท่ีลักษณะไม่สมบูรณ์ เชน่ พิการตัวคด และตาบอด รวมท้งั ไข่ปลานลิ ในระยะอ่ืนทป่ี ะปนมา ฟาร์มบางแห่งมกี ารแช่ลกู ปลาใน ฮอรโ์ มนกอ่ นนา้ ไปอนุบาลในกระชัง เพอื่ เพิ่มประสิทธิภาพการแปลงเพศ ลกู ปลานลิ แปลงเพศระยะท่ี 5 เตรียมลกู ปลาก่อนลงกระชงั เม่อื ลูกปลาในถาดทถี่ งุ ไขแ่ ดงยบุ และวา่ ยน้าแขง็ แรงดแี ล้ว จงึ ย้ายลกู ปลาลงอนบุ าลใน กระชงั ขนาด 2x4x0.9 เมตร ปล่อยในอตั รา 10,000-20,000 ตัวต่อกระชงั ทัง้ น้ี วิธกี ารนบั จ้านวนลูกปลานลิ ลงในกระชงั อนุบาลลูกปลา ของฟารม์ เร่ิมโดยการสุ่มลกู ปลานิลทกุ ถาดทจ่ี ะอนุบาล จากนัน้ นบั จ้านวนปลานิลทีส่ ุ่มมาทง้ั หมด 800 ตัว สุ่ม นับ 2 ซา้ น้าลูกปลานลิ ทนี่ บั แต่ละซ้ามาชงั่ นา้ หนกั เพอ่ื คา้ นวณจ้านวนปลาทจ่ี ะปล่อยในแตล่ ะกระชงั การส่มุ นับปลาจะทา้ ทุกครั้งทม่ี กี ารนา้ ลูกปลามาอนบุ าลในกระชงั เพื่อจะไดน้ ้าหนักของลูกปลาทั้งหมดมาค้านวณ ปริมาณอาหารทจี่ ะใช้ในแต่ละรุ่นแตใ่ นแต่ละกระชัง
กระชังอนบุ าลลูกปลานิล 2x4 เมตร การให้อาหารอนุบาลลูกปลา การให้อาหารผสมฮอรโ์ มนแบ่งเป็น 4 ชว่ งในระยะเวลา 21 วัน ในแต่ละช่วงจะใหป้ รมิ าณอาหารท่แี ตกต่างกัน ต่อหน่ึงม้ือต่อกระชัง ดงั น้ี ชว่ งท่ี 1 วันท่ี 1-5 ให้อาหาร 7 กรัม ช่วงท่ี 2 วนั ที่ 6-10 ใหอ้ าหาร 13 กรมั ช่วงท่ี 3 วนั ที่ 11-15 ให้อาหาร 21 กรัม และช่วงสดุ ทา้ ย วันที่ 16-21 ใหอ้ าหาร 32 กรมั ควรมกี ารเตรยี มอาหารสา้ หรับ ลกู ปลาแตล่ ะกระชังโดยชัง่ อาหารใสใ่ นถงุ พลาสติกใสขนาดเล็ก เขยี นเลขกระชงั รุน่ ของลูกปลานลิ แตล่ ะกระชัง และมัดรวมกันไว้เพ่ือใชใ้ นการให้อาหารอนุบ าลลูกปลานลิ ในแต่ละวนั ใหอ้ าหาร 5 คร้ังตอ่ วัน ทุก 2 ชั่วโมง เรมิ่ ต้งั แต่เวลา 0800 น การใหอ้ าหารผสมฮอร์โมนเพอ่ื แปลงเพศปลานิลใชเ้ วลา 21 วนั การใหอ้ าหารผสมฮอรโ์ มน ถอื เปน็ ขนั้ ตอนทีม่ ีความสา้ คัญมาก ท่ผี เู้ ลย้ี งจะต้องมีความพถิ พี ิถนั และหมน่ั สังเกตพฤตกิ รรมการกนิ อาหาร ของลูกปลา การชั่งน้าหนักอาหารอนุบาลลกู ปลา แยกถงุ อาหารในแต่ละกระชัง
หลงั จากอนบุ าลครบ 21 วัน หากต้องการลกู ปลาท่ีมขี นาดใหญ่ขึ้น ใหน้ า้ ลู กปลานิลไปอนุบาลต่อในกระชงั ขนาด 5x8x0.9 เมตร ในอัตรา 30,000 ตวั ต่อกระชงั ให้อาหารเมด็ สา้ เรจ็ รูป ระดับโปรตีน 40% เป็นระยะเวลา 3- 7 วัน จะไดล้ กู ปลานิลขนาด 2-3 เซนติเมตร พร้อมส้าหรับการจ้าหน่ายใหแ้ กเ่ กษตรกรผูเ้ ลี้ยงปลา ข้อแนะนาอาหารและการให้อาหาร ความต้องการโปรตนี จากอาหารเพื่อการเจริญเตบิ โตและสร้างเนือ้ ของปลานิลโดยท่ัวไปขึ้นกับปจั จัยต่างๆ ได้แก่ อายุของปลา คุณภาพของโปรตนี ในอาหาร และระดบั พลงั งานในอาหาร สา้ หรบั ปลานลิ ก็เช่นเดียวกัน โดยปกตลิ ูกปลานิลขนาดเลก็ มคี วามตอ้ งการโปรตีนสงู กวา่ ปลาขนาดใหญ่ การให้อาหารทีม่ ีระดบั โปรตนี เหมาะสมจะช่วยให้ปลาโตเรว็ และใชร้ ะยะเวลาการเลยี้ งส้นั ซงึ่ จะชว่ ยประหยัดตน้ ทุน พอ่ แม่พนั ธุป์ ลานิล มคี วามต้องการสารอาหารทีแ่ ตกต่างจากการเล้ียงปลาเพอ่ื ผลิตเป็นปลาเน้อื ทัง้ นี้ เนอ่ื งมาจากต้องการใหพ้ อ่ แมพ่ นั ธ์ใุ ห้ผลผลิตลกู ปลาปรมิ าณมาก ความถ่ีของการวางไข่ ขนาดของไข่ และ อตั ราการฟกั ไขส่ งู ระดับโปรตนี ในอาหารท่ใี ช้เลีย้ งพ่ อแม่พันธุค์ วรอยรู่ ะหวา่ ง 32-35% เปน็ ระดับทีเ่ หมาะสม ในการเจรญิ เตบิ โตและการผสมพันธุ์วางไข่ ปรมิ าณและความถใี่ นการใหอ้ าหาร ปลานิลเปน็ ปลาทกี่ นิ อาหารตอ่ เนือ่ งตลอดวัน ดังนั้น การใหอ้ าหาร น้อยๆ แตใ่ หบ้ อ่ ยครง้ั จะชว่ ยเพ่มิ ประสิทธิภาพการใช้อาหารไดด้ ี อาหารท่ีใชเ้ ลีย้ งปลานลิ ควรเปน็ อ าหารท่ีมี คุณภาพดี การประยกุ ตใ์ ช้วตั ถุดบิ ในท้องถนิ่ จะช่วยลดตน้ ทุนค่าอาหารได้เป็นอย่างดี ทีส่ ้าคญั การเลยี้ งปลา นิลควรเน้นการใชป้ ระโยชน์จากอาหารธรรมชาติโดยเฉพาะการใชป้ ๋ยุ เพ่ือชว่ ยลดต้นทนุ การผลิต 1.7 การอนุบาลลกู ปลา การอนุบาลลูกปลาเปน็ วธิ ีการที่สามารถช่วยให้อัต รารอดของปลาสงู ข้นึ และเรง่ การเจรญิ เตบิ โตได้เปน็ อยา่ งดี การจัดการอนบุ าลจงึ มีความจา้ เปน็ โดยเฉพาะการเล้ยี งปลานิลแปลงเพศเพราะชว่ ยให้ได้ลกู ปลาขนาดใหญท่ ี่ มคี วามสามารถในการเอาตัวรอดจากศัตรใู นบอ่ และลดอตั ราการสูญเสียจากการปล่อยลงเลย้ี งทนั ทใี นบ่อ นอกจากน้ยี ังช่วยให้สามารถคัดเลอื กปลาทมี่ ีขนาดใกลเ้ คียงกนั นา้ ไปเลีย้ งตอ่ เพอ่ื ให้ไดผ้ ลผลิตปลาเลี้ยงทมี่ ี ขนาดสม่า้ เสมอ การอนบุ าลลกู ปลานิลสามารถทา้ ได้ทงั้ ในบ่อดนิ กระชัง คอก หรือบ่อซีเมนต์ ท่เี กษตรกรนยิ ม ได้แก่ การอนบุ าลลูกปลานิลในกระชัง และการอนุบาลลูกปลานลิ ในบอ่ ดิน 1.7.1 การอนุบาลลูกปลานลิ ในกระชัง กระชงั ทใ่ี ชใ้ นการอนบุ าลไม่จา้ กดั ขนาด เนอ้ื ผ้าที่นา้ มาเย็บกระชัง คอื ตาขา่ ยไนลอ่ นมุ้งเขยี ว โดยสว่ นมากจะเยบ็ เปน็ กระชังขนาด 5x8x0.9 เมตร กระชังจะแขวนในบอ่ ดินท่ีผ่าน
การเตรียมบ่อเรียบร้อยแล้ว ระดับความลกึ น้า 1-1.5 เมตร แขวนกระชังในน้าทีค่ วา มลกึ ประมาณ 60 เซนตเิ มตร ปล่อยลกู ปลานลิ แปลงเพศขนาด 2-3 เซนติเมตร จ้านวน 2,000-2,500 ตัวตอ่ กระชัง ใชร้ ะยะเวลาใน การอนบุ าล 2-3 เดือน จะได้ลูกปลาขนาด 7-10 เซนติเมตร ซงึ่ เป็นขนาดท่เี หมาะแกก่ ารน้าไปเลยี้ งในบ่อหรอื ในกระชงั ต่อไป 1.7.2 การอนุบาลลูกปลานลิ ในบ่อดิน บ่อดินทใ่ี ช้ในการอนุบาลไมค่ วรมีขนาดใหญ่นัก ขนาดบ่อที่ เหมาะสมมีพืน้ ท่ี 400-800 ตารางเมตร ระดบั น้าในบอ่ ลกึ ประมาณ 0.8-1.0 เมตร บ่อที่ใชใ้ นการอนุบาลควรจะ ผ่านการเตรยี มบอ่ และก้าจดั ศัตรูเป็นอย่างดี การเตรียมบอ่ อนุบาลใชว้ ิธีการเดยี วกบั การเตรยี มบ่อเพาะพนั ธ์ุ ปลานิล อัตราการปลอ่ ยลกู ปลาขนาด 2-3 เซนตเิ มตร ประมาณ 10,000 ตัวตอ่ พ้นื ที่ 400 ตารางเมตร แมว้ า่ จะมี การเตรยี มอาหารธรรมชาติแลว้ ก็ควรมกี ารใหอ้ าหารเสริมเพื่อเรง่ การเจรญิ เตบิ โตควบคไู่ ปกับการใส่ปยุ๋ เพ่ือ สร้างอาหารธรรมชาติใหม้ ีในบอ่ สม่้าเสมอตลอดช่วงการอนบุ าล ส้าหรับอาหารทนี่ ้ามาใชใ้ นการอนุบาล ควรเป็นอาหารขนาด เม็ดเล็กและมีระดับโปรตีนสูง เชน่ อาหารกบเลก็ ระดบั โปรตนี 38% ซงึ่ จะชว่ ยเร่งการเจรญิ เติบโตของลกู ปลาได้ ระย ะเวลาในการอนบุ าลลูกปลาประมาณ 1-2 เดือน จะไดล้ ูกปลาขนาด 7-10 เซนติเมตร 1.8 การลาเลยี งและการปลอ่ ยพันธป์ุ ลา ก่อนการล้าเลียงพนั ธปุ์ ลาท่ีต้องขนส่งระยะไกล ปลาทีถ่ กู ล้าเลียงมคี วามจา้ เปน็ อย่างย่ิงท่ี จะต้องให้ อดอาหาร อยา่ งนอ้ ย 10 ชวั่ โมง เพ่อื ให้อาหารทอ่ี ยู่ในระบบทางเดนิ อาหาร ไดถ้ กู ขับถ่ายหรอื ใช้ใหห้ มดก่อนช่วย ลดของเสียทเ่ี กิดขนึ้ ระหวา่ งการล้าเลยี ง ส้าหรบั การล้าเลยี งพันธ์ุปลาใช้ถงุ พลาสติกเปน็ ภาชนะลา้ เลยี ง โดย จะตอ้ งอัดออกซเิ จนหรอื อากาศลงถงุ พลาสติกกอ่ นจะรดั ปดิ ด้วยยาง ถุงพลาสตกิ เป็นภาชนะลา้ เลยี งทร่ี าคาถกู และสะดวก เหมาะแก่การลา้ เลยี งลูกปลานลิ แปลงเพศเพ่อื จ้าหน่าย เทคนิคทชี่ ว่ ยใหก้ ารลาเลยี งพนั ธุ์ปลามปี ระสิทธภิ าพ 1. นา้ ท่ีใชใ้ นการล้าเลยี ง เปน็ สง่ิ ส้าคัญมากส้าหรบั การล้าเลียงพันธ์ปุ ลา ควรเป็นน้ากรองและสะอาด นา้ ท่ใี ช้น้ีควรเป็นน้าท่มี าจากแหล่งเดียวกบั ทใี่ ชข้ ังปลาก่อนลา้ เลยี ง 2. เกลอื แกง การเติมเกลอื แกงในน้าท่ใี ชล้ า้ เลยี ง ช่วยใหป้ ลาปรบั ตัวคืนสูส่ ภาพปกติได้ง่ายและลด อาการเครียดของปลา
3. อณุ หภมู ิ ช่วงเวลาทเี่ หมาะสมในการลา้ เลยี งพนั ธ์ปุ ลา คือ ตอนเยน็ กลางคืน หรือตอนเชา้ หากมี ความจ้าเปน็ ตอ้ งล้าเลียงในเวลาอื่นหรอื ขณะอุณหภมู ิสงู ตอ้ งหาทางลดอุณหภมู ิ เชน่ ล้าเลียงใน รถยนตท์ ่ีมเี คร่อื งปรบั อากาศ หรอื ใช้น้าแขง็ ในภาชนะล้าเลยี งเพอ่ื ลดอุณหภูมใิ ห้ตา่้ ลง ลดอุณหภมู ิน้าก่อนล้าเลียงพนั ธ์ปุ ลา อา่ งพักปลาก่อนบรรจถุ งุ 1.9 การปลอ่ ยปลา การปรับคุณภาพน้าในถงุ บรรจุลูกปลานลิ ให้ใกลเ้ คยี งกับคุณภาพน้า ในบอ่ อนบุ าลหรอื ใน กระชงั อนบุ าล โดยการน้าถงุ บรรจลุ กู ปลานลิ ลอยในบอ่ อนบุ าลในที่รม่ เพอื่ ปรับอณุ หภูมิ จากน้นั เปิดปากถงุ นา้ น้าจากบอ่ อนุบาลเติมเขา้ ภายในถุงพอประมาณ ก่อนปล่อยลกู ปลานิลลงในบอ่ โดยคอ่ ยๆเทออกจากถุง พยายามไมใ่ ห้มีปลาหลงเหลืออยภู่ ายในถงุ เพราะลกู ปลานลิ ทตี่ กค้างอยู่จะบอบชา้ ได้ ฟารม์ เกษตรกรบางรายที่มีผดู้ ูแล จะแนะนา้ ใหเ้ กษตรกรวัดคุณภาพน้าก่อน ทจ่ี ะน้าลกู ปลาไปปลอ่ ยอยา่ งน้อย 1 วัน หากว่าคณุ ภาพน้าไม่เหมาะสมตอ่ การอนุบาลลกู ปลากจ็ ะตอ้ งปรับคุณภาพน้าใหเ้ หมาะสมถึงจะนา้ ลูก ปลามาปล่อยได้
2. การเลีย้ งปลานลิ ในบ่อดิน 2.1 การเตรยี มบ่อ เป็นข้ันตอนขนั้ ตอนทส่ี ้าคญั ขนั้ ตอนหนึง่ ของการเลี้ยงปลา ก่อนปลอ่ ยพันธล์ุ กู ปลาเกษตรกรต้องเตรียมความพรอ้ มของบ่อให้เรี ยบรอ้ ย โดยการตากบ่อใหแ้ หง้ เพอ่ื ปรบั สภาพดินพืน้ บ่อ ฆ่า เชอ้ื กา้ จดั วชั พืชและพรรณไม้น้าต่างๆ ก้าจัดศัตรขู องปลา นา้ น้าเข้าบ่อ สร้างอาหารธรรมชาติ แล้วจงึ ปล่อยลกู ปลาโดย ซ่งึ มรี ายละเอยี ดดังน้ี การตากบ่อ ควรมกี ารตากบ่อทกุ ครั้งหลังการจบั ปลาขาย เพือ่ เป็นการปรับสภาพข องดนิ พืน้ บ่อ ท่ี อาจมกี ารสะสมของสิง่ ขบั ถ่ายจากสตั วน์ า้ ทเี่ ลี้ยง ซง่ึ หากสะสมเปน็ ปรมิ าณมากจะก่อให้เกิดกา๊ ซแอมโมเนยี ซึ่ง เปน็ พษิ ตอ่ สตั วน์ ้า การตากบ่อให้แหง้ จะเป็นวธิ กี ารก้าจดั ก๊าซแอมโมเนีย แนะนา้ ให้มีการตากบอ่ ใหแ้ ห้งเป็น เวลาอยา่ งน้อย 7 วนั หรอื มากกว่าขึน้ กับสภาพบ่อ และช่วงเวลาทต่ี ากบ่อ การใส่ปูนขาว มวี ัตถุประสงคเ์ พ่อื การฆา่ เชื้อตา่ งๆ ท่ีสะสมอยู่บรเิ วณพนื้ บ่อและปรับสภาพของ ดนิ ในบอ่ ปรมิ าณปนู ท่ใี ส่แตกตา่ งกันไปตามสภาพพน้ื ท่ี เช่นบรเิ วณท่ีเปน็ ดนิ กรดมีความตอ้ งการปนู ขาว มากกว่า หรือบอ่ ที่ผ่านการเลยี้ งปลามาเปน็ เวลานานมี ความตอ้ งการปูนขาวนอ้ ยกวา่ บอ่ ใหม่ อยา่ งไรกต็ ามมี ขอ้ แนะน้าสา้ หรับการใส่ปนู ขาวให้ใส่ในปริมาณ 100-150 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ โดยโรยให้ท่ัวพ้นื ก้นบ่อและขอบบ่อ กาจดั วัชพืชและพรรณไมน้ า้ ตา่ งๆ เชน่ กก หญา้ ผักตบชวา โดยนา้ มากองสมุ ไว้ เมื่อแห้งแลว้ น้ามาใชเ้ ป็นปุ๋ยหมักในขณะที่ปลอ่ ยปลาลงเลี้ยง ถา้ ในบ่อมีเลนมากจ้าเป็นตอ้ งสาดเลนขนึ้ โดยนา้ ไปเสรมิ คนั ดินทช่ี ้ารดุ หรือใชเ้ ป็นปุย๋ แก่พชื ผกั ผลไม้ บรเิ วณใกลเ้ คยี ง พร้อมทง้ั ตกแต่งเชงิ ลาดและคนั บอ่ ให้แนน่ ดว้ ย หรอื โดยการตากบ่อให้แหง้ แลว้ ดนั ดนิ ก้นบอ่ ขนึ้ หลงั จากตากบ่อแห้งแลว้ น้าดินไปเสรมิ คันบ่อให้ แนน่ กาจัดศัตรปู ลา ศตั รปู ลานิลไดแ้ ก่ กลุม่ ปลากนิ เนอื้ เช่น ชอ่ น ชะโด หมอ ดุก นอกจากน้กี ม็ สี ัตว์ พวก กบ เขียด งู เปน็ ตน้ ดงั นั้นก่อนปลอ่ ยปลานิลลงบอ่ เลย้ี ง จ้าเป็นตอ้ งกา้ จัดศตั รดู ังกล่าวเสยี ก่อน โดยวิธี ระบายน้าออกให้เหลือนอ้ ยที่สดุ ใช้โล่ตน๊ิ สดหรือแห้งประมาณ 1 กิโลกรัมตอ่ ปริมาณน้าในบอ่ 100 ลูกบาศก์ เมตร ทบุ หรือบดโลต่ นิ๊ ให้ละเอยี ดน้าลงแชน่ ้าประมาณ 1-2 ปบ๊ี ขย้าโล่ต๊ินให้นา้ สขี าวออกมาหลายๆ คร้ังจน หมด นา้ ไปสาดให้ทั่วบอ่ ปลาทค่ี า้ งอยู่ที่พ้นื บอ่ จะลอยหัวขน้ึ มาภายหลงั สาดโล่ติ๊นประมาณ 30 นาที ใชส้ วงิ จับ ขึน้ มาบรโิ ภคได้ ปล าที่เหลือตายพนื้ บ่อจะลอยในวันร่งุ ขนึ้ สว่ นศตั รูจ้าพวก กบ เขียด งู จะหนอี อกจากบอ่ ไป และกอ่ นปล่อยปลาลงเลี้ยงควรทง้ิ ระยะไว้ประมาณ 7 วันเพอ่ื ใหฤ้ ทธ์ิของโลต่ น๊ิ สลายตัวไปหมดเสยี ก่อน นอกจากใช้โล่ตนิ๊ ในการก้าจัดศตั รปู ลาในบ่อแลว้ ยังอาจใช้ปนู ขาวและกากชาในการกา้ จดั ศตั รู ปลาไดอ้ ีกดว้ ย ใช้กากชา 2 กิโลกรัมต่อนา้ 20 ลติ ร แช่ทิง้ ไวป้ ระมาณ 1 วนั หลงั จากนน้ั กน็ ้าเฉพาะน้าทไ่ี ด้ไปสาดให้ ท่ัวบ่อทมี่ ีเนอ้ื ทข่ี องบอ่ ประมาณ 2 ไร่
ลกั ษณะต้นหางไหล การลอกเลน มคี วามจ้าเป็นถ้าหากวา่ มกี ารสะสมของเลนในพื้นบอ่ ปรมิ าณมาก แ ละการตากบอ่ เพยี งอยา่ งเดยี วอาจไมเ่ พียงพอ ดังนนั้ จึงต้องมกี ารลอกเลน ซึง่ อาจมกี ารลอกเลนปลี ะครั้ง หรือทุก 2 ปี 3 ปี หรือ 5 ปี ขน้ึ อย่กู บั สภาพการสะสมของเลนพนื้ บ่อ การลอกเลนทา้ ได้โดยการตากบ่อให้แห้งแลว้ ใชร้ ถ แทรกเตอรด์ นั เลนแห้งท่บี รเิ วณผิวหน้าพืน้ บอ่ ขนึ้ ไปตบแต่งคั นบอ่ ให้แน่นหนา การนานา้ เขา้ บ่อ ใช้อวนตาถีส่ องชนั้ หุม้ ทปี่ ลายท่อนา้ นา้ เข้าบ่อ เพ่ือกรองไขแ่ ละลกู ปลาขนาดที่ จะเข้ามาในบอ่ การใสป่ ุย๋ ปลานิลเปน็ ปลาที่กินอาหารได้หลากหลายชนิด ในบ่อเล้ยี งปลาควรใหม้ ีอาหาร ธรรมชาติเกิดขึ้นอยู่เสมอ จงึ จา้ เป็นต้องใส่ปยุ๋ เพื่อเร่งให้ เกิดอาหารธรรมชาติจา้ พวกแพลงกต์ อนพชื (พชื น้า ขนาดเล็ก) เปน็ อนั ดบั แรก ซึง่ จะเหน่ยี วน้าใหเ้ กิดอาหารธรรมชาตอิ ืน่ ๆ ตามมา ได้แก่ แพลงกต์ อนสตั ว์ ไรน้า และตวั อ่อนของแมลง ปุ๋ยท่ีใช้ได้แก่ มูลวัว ควาย หมู เปด็ ไก่ นอกจากมูลสตั ว์แล้วอาจใชป้ ุย๋ หมักและฟางขา้ ว หรือปุย๋ พืชสดตา่ งๆ ไดเ้ ชน่ กนั การใสป่ ุย๋ คอกในระยะแรกควรใสป่ ระมาณ 250-300 กโิ ลกรมั ตอ่ ไรต่ ่อเดือน ส่วนในระยะหลังใ ห้ ลดลงครึง่ หนง่ึ โดยการสงั เกตสีนา้ ในบอ่ วธิ ี ใส่ป๋ยุ คอกควรตากให้แหง้ เสียก่อนเพราะปุ๋ยสดจะท้าใหม้ แี ก๊ส แอมโมเนียทีเ่ ปน็ อันตรายตอ่ ปลา การใส่ปุ๋ยคอกใชว้ ธิ ีหวา่ นลงไ ปในบอ่ ส่วนปยุ๋ หมกั หรือป๋ยุ พชื สดควรกองสุม ไว้ตามมมุ บอ่ 2-3 แห่ง โดยมีไม้ปักลอ้ มเปน็ คอกรอบกองปยุ๋ เพอื่ ป้องกันมิใหส้ ว่ นทย่ี งั ไมล่ ะลายตวั กระจดั กระจาย และในกรณีท่ีหาปุ๋ยคอกไมไ่ ดก้ ็อาจใช้ปยุ๋ วิทยาศาสตร์สูตร 15:15:15 ใส่ประมาณ 5 กิโลกรัมต่อไรต่ อ่
เดือน นอกจากปุย๋ วทิ ยาศาสตร์แลว้ การเตรยี มบ่อเล้ียงปลานลิ ในปัจจบุ ัน ยงั พบว่าปราชญ์อา่ งทองมกี ารใส่ อา มิ อามิ สาดทัว่ บอ่ (บ่อขนาด 25 ไร่) บ่อละ 100-200 ลิตร จะชว่ ยให้น้ามีอาหารตามธรรมชาติเร็วขน้ึ ปราชญ์ จังหวัดสมุทรปราการมกี ารใสน่ ้าหมกั ชีวภาพ ทกุ 7-10 วนั เตรียมนา้ หมกั ชวี ภาพโด ยผสม พด.2 และ พด .6 อยา่ งละ 1 ซอง กบั เศษผกั 20 กโิ ลกรัม เปลอื กสบั ปะรด 4 กิโลกรมั กากน้าตาล 5 กิโลกรมั แลว้ เตมิ นา้ จนได้ ปรมิ าตร 100 ลิตร หมักนาน 15-20 วัน จากนน้ั นา้ นา้ หมกั ชวี ภ าพทไี่ ด้ 20 ลิตร ผสมมูลไก่ 25 กิโลกรมั กากน้าตาล 4 ลิตร น้า 50 ลติ ร หมักนาน 4 วนั แล้ วผสมนา้ 100 ลิตร จากนั้นจึงนา้ ไปสาดใหท้ ว่ั บอ่ ท้งิ ไว้ ประมาณ 7-10 วัน จึงตรวจสอบคุณสมบตั ิของน้า เช่น ความเป็นกรดเปน็ ด่าง ความเปน็ ด่าง ความกระด้าง และความโปรง่ แสง ตวั อยา่ งการเตรียมบอ่ ของปราชญ์ จังหวดั ชัยภมู ิ การเตรยี มบ่อเลย้ี งจะเหมือนกันกบั การเตรยี ม บอ่ อนุบาลต่างกันตรงที่หลังจากหวา่ นปูนขาวปล่อยไว้ 1 อาทิตยแ์ ลว้ จะทา้ การหว่านขา้ วและปล่อยใหว้ ัชพชื เจรญิ เติบโตประมาณ 1 เดือน จากน้นั จะตัดต้นกลา้ และวชั พชื ที่ข้นึ ให้หมดน้าตน้ กล้าและวชั พชื ทีไ่ ด้ไปทา้ ปุย๋ หมกั ไว้มุมบ่อปลาเพ่อื เป็นแหลง่ อาหารธรรมชาติ โดยจะปักไม้กนั้ ไมใ่ หก้ องปุ๋ย หมักกระจดั กระจาย วางตน้ ข้าว และวชั พชื สลับกับข้ีววั แหง้ เปน็ ช้นั ๆ ใชข้ ีว้ วั แหง้ ประมาณ 100 กโิ ลกรมั ต่อไร่ จากนั้นนา้ น้าเข้าประมาณ 30 เซนติเมตร พกั ไว้ 1 อาทิตย์ เพ่มิ น้าอีกประมาณ 20 เซนตเิ มตร สงั เกตสุ ีนา้ ถ้าเปน็ สขี ุ่นแกไ้ ขโดยใส่ปุย๋ ยเู รยี 5-6 กิโลกรมั แต่ปกติจะเปน็ สเี ขียวโดยไมต่ ้องใสป่ ุย๋ ยูเรีย (การท้าป๋ยุ หมกั นจี้ ะทา้ ไปเรือ่ ยจนกวา่ จะจับปลาจา้ หนา่ ย หากกองปยุ๋ หมักเหลือน้อยกจ็ ะหาฟางหรือหญ้าทตี่ ัด จากขอบบ่อมาท้าปยุ๋ หมกั เพิม่ โดยใช้ข้วี วั แห้งมาสลับชน้ั เหมอื นเดิม ) 2.2 การอนุบาลลกู ปลา ก่อนการเล้ยี งจา้ เปน็ ตอ้ งมีการอนุบาลลูกปลาก่อน หากวา่ ปลาทซี่ ้อื มามขี นาดเล็ก ข้ันตอนการ อนบุ าลมีประโยชนท์ ่ีทา้ ใหป้ ลาที่เลยี้ งโตมีอัตรารอดเพมิ่ ข้ึน ปลาทจ่ี บั มีขนาดไม่แตกโซซ์ ซึง่ ทา้ ใหก้ ารบริหาร จัดการการเลีย้ งสะดวกปลาทจ่ี ับขายมีคณุ ภาพดี ขายได้ราคาเพ่ิมข้ึน สามารถอนุบาลลูกปลาในบ่อดนิ นาขา้ ว บอ่ ซีเมนต์ หรอื ในกระชงั ไนลอ่ นตาถ่ี แตส่ ้าหรับการอนบุ าล เพอ่ื เล้ียงต่อในบ่อดินนน้ั พบวา่ เป็นการอนุบาลในบ่อดินเปน็ หลัก จงึ ขอกล่าวถึงแต่เฉพาะการอนุบาลในบ่อดิน เท่าน้นั บอ่ อนบุ าลควรมขี นาดประมาณ 200 ตารางเมตร นา้ ในบ่อควรมรี ะดับลึกประมาณ 1 เมตร การ เตรยี มบ่อดนิ ส้าหรับอนุบาลลกู ปลามขี ้ันตอนต่างๆ เช่นเดยี วกับการเตรียมบ่อเลยี้ งปลาโต ควรดา้ เนนิ การ ล่วงหนา้ ประมาณ 1 สัปดาห์ บ่อขนาดดงั กล่าวใชอ้ นบุ าลลกู ปลานิลขนาด 1-2 เซนติเมตร ได้ครั้งละประมาณ 50,000 ตัว
การอนุบาลลูกปลานลิ นอกจากใชป้ ๋ยุ เพาะอาหารธรรมชาตแิ ล้ว จ้าเปน็ ตอ้ งใหอ้ าหารสมทบ เช่น รา้ ละเอียด และกากถั่ว วนั ละ 2 ครง้ั พรอ้ มท้งั สังเกตความอดุ มสมบูรณ์ของอาหารธรรมชาตจิ ากสขี องน้า ถ้ามี ปริมาณนอ้ ยกเ็ ติมป๋ยุ คอก ในช่วงเวลา 5-6 สัปดาห์ ลกู ปลาจะโตมีขนาด 3-5 เซนตเิ มตร ซึง่ เปน็ ขนาดท่ี เหมาะสมจะน้าไปเล้ยี งเปน็ ปลาใหญ่ อยา่ งไรกต็ ามในทางปฏิบัตมิ ีการอนุบาลลูก ปลาลกู ปลานิลขนาด 1-2 เซนติเมตร ที่ความหนาแนน่ 14,000-100,000 ตัวตอ่ ไร่ หรอื ลูกปลาขนาด 2-3 เซนตเิ มตร ท่ีความหนาแน่น 5,000-20,000 ตัวต่อไร่ เลีย้ งด้วย อาหารลกู กบผง หรือร้าละเอยี ด หรืออาหารปลาดุกเล็กหรอื เลก็ พิเศษ ใชเ้ วลาอนุบาลตงั้ แต่ 45-120 วัน ไดป้ ลา ขนาดต่างๆ กนั ขนึ้ กับระยะเวลาที่อนบุ าล การปอ้ งกันศตั รขู ณะอนบุ าลลกู ปลาวยั ออ่ นควรใชอ้ วนไนล่อนตาถีส่ ูงประมาณ 1 เมตร ทา้ เป็นร้ัว ลอ้ มรอบเพ่ือปอ้ งกนั ศตั รูจา้ พวก กบ งู เป็นต้น การก้นั ตาขา่ ยรอบบอ่ ปอ้ งกันศัตรูปลาจ้าพวก กบและงู 2.3 การปล่อยลูกปลา (ปราชญ์จงั หวดั ชัยภูมิ) ย้ายลูกปลาท่ผี า่ นการอนบุ าลแลว้ ซ่งึ จะทา้ ในตอนเช้าก่อน 8 โมง มาพกั ในกระชงั ในบอ่ เล้ยี งทีจ่ ะ ปลอ่ ย ประมาณ 2 ชั่วโมง เพอื่ สงั เกตปลาถา้ ตัวไหนไมแ่ ขง็ แรงก็จะคดั ออก ส่วนที่แข็งแรงกป็ ล่อยลงเลี้ยงใน อัตราความหนาแน่น 4,000 ตวั ต่อไร่ เพ่ิมน้าวันละ 10 เซนติเมตร นาน 10 วนั กจ็ ะได้น้าความลกึ 1.5 เมตร 2.4 การเล้ยี ง 2.4.1 ระบบเล้ียง การเล้ียงปลานลิ ในบ่อมที ัง้ ที่เลยี้ งเพ่อื การคา้ และเลี้ยงไวบ้ ริโภคในครวั เรอื น แต่ จากขอ้ มลู ทร่ี วบรวมจากปราชญ์ พบว่าปราชญ์ปลานิลมีการเลย้ี งปลานลิ เพื่อการค้าท้ังสนิ้ มีความแตกต่างกัน
ในเรื่องของระบบการเลี้ยง สามารถจ้าแนกไดเ้ ปน็ การเล้ียงปลานลิ เพียงชนิดเดยี ว เลีย้ งปลานิลร่วมกับปลา ชนดิ อื่นๆ ได้แก่ นวลจันทร์เทศ ยส่ี กเทศ ตะเพียน จนี และไน เป็นต้น หรอื เล้ยี งปลานลิ ร่วมกบั ปลาสวายและ ปลาดุกแบบผสมผสานกับไกไ่ ข่ การเล้ียงปลานิลทีม่ รี ะบบการเล้ยี งท่ีหลากหลายน้ีแสดงให้เห็นถงึ ภูมปิ ญั ญาของเกษตรกรในการลด ความเสี่ยง เพมิ่ ผลผลติ และรายไดจ้ ากการเลีย้ ง โดยการใช้สัตวน์ ้าหลายชนดิ ควบคุมความสมดลุ ของบอ่ ใช้ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดข้ึนในบอ่ ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นการเพ่ิมผลผลติ การจดั การท่ีแตกตา่ งกันของระบบการเลย้ี งที่ตา่ งกนั การจัดการ ระบบเลยี้ ง ปลานลิ ปลานิลกับปลาอ่นื ๆ ปลานลิ ปลาอน่ื ๆ และไก่ ไข่ ขนาดบ่อ (ไร่) 2-6 0.5-18 8 ระดับน้า (ซม) 100-180 80-150 100 หนาแน่น (ตัวตอ่ ไร่) 2,500-5,000 ขนาดที่ปล่อย (ซมหรือกรมั ) 1-2 ซม ถงึ >1 นว้ิ 1-2 ซม ถึง 50 กรมั 34,800 อาหาร อาหารเมด็ ธรรมชาติ อาหารธรรมชาติ รา้ 45 กรมั สมทบ แหน ข้าวโพดปน่ สมทบ เม็ด อาหารธรรมชาติ ระยะเวลาเลย้ี ง (เดอื น) อาหารเม็ด ขนาดจบั (กรมั ต่อตัว) 4-8 7-12 12-18 ผลผลติ (ตันตอ่ ไร่) 500-800 200-1,000 500-1,000 อตั รารอด (%) 0.7-1.2 1.2 3.0 >80 60-80 - เนือ่ งจากปลานลิ เป็นปลาท่ีเลี้ยงงา่ ย กินอาหารไดแ้ ทบทกุ ชนดิ การเลีย้ งปลาชนดิ นเ้ี พ่ือจ้าหนา่ ยจึงมี ความจา้ เปน็ ตอ้ งลดตน้ ทุนการผลิตให้มากทส่ี ุด โดยเฉพาะในเร่ืองอาหารท่ีใชเ้ ล้ียง ต้องเป็นอาหารที่หาได้งา่ ย ราคาตา่้ นอกจากนน้ั ตอ้ งมกี ารจัดการฟารม์ ทีเ่ หมาะสม การเลยี้ งท่ีจะใหผ้ ลดเี ป็นทพี่ อใจจ้า เปน็ ต้องปฏิบัติให้ ถูกต้องตามหลักวิชาการประเภทของการเล้ยี ง 2.4.2 ตวั อยา่ งการเลี้ยงปลานลิ ของปราชญ์ จากข้อมูลความแตกตา่ งด้านเทคนิคของการเลี้ยงทั้ง 3 ระบบขา้ งต้น ชนิดปลาท่เี ลีย้ ง ความหนาแนน่ การเตรียมอาหารและการใหอ้ าหาร และการจัดการน้า นบั วา่ มีความส้าคญั ยิ่งทจ่ี ะทา้ ให้การเลีย้ งประสบ
ความส้าเร็จ ได้กา้ ไรหรอื ขาดทุน จงึ ขอยกตวั อยา่ งของปราชญ์เพอื่ ให้ได้ ทราบขอ้ มลู การปฏิบตั เิ กย่ี วกับด้าน ต่างๆ ดงั ทีก่ ล่าวมาแลว้ ของการเลี้ยงทง้ั 3 ระบบ เล้ยี งปลานิลอย่างเดยี ว ปราชญจ์ งั หวัดนครศรีธรรมราช (ใช้อาหารเมด็ ร่วมกับอาหารสมทบท่เี ต รยี มจากวัตถุดบิ ใน ทอ้ งถิน่ ) ข้ันตอนการปลอ่ ยลกู พนั ธป์ุ ลานลิ หลงั จากเตรียมอาหารธรรมชาตภิ ายในบอ่ เสรจ็ แลว้ กป็ รับระดับ นา้ ใหม้ ีความลกึ ประมาณ 1 เมตร พักไว้ประมาณ 3 วนั โดยปกติแล้วอัตราการปล่อยลกู พนั ธปุ์ ลานลิ จะขึ้นอยู่ กบั คณุ ภาพของน้าทใี่ ชเ้ ลย้ี งปลานลิ อาหารท่ีใช้ ในการเลย้ี งปลานลิ และการจดั การเป็นสา้ คัญ ซง่ึ ปกติแล้วลูก พันธุ์ปลานิลท่ีน้ามาปลอ่ ยน้ันเปน็ ปลานลิ ดา้ แปลงเพศที่มีขนาดประมาณ 6 มิลลเิ มตร ซง่ึ จะทา้ การปล่อยลูก พนั ธ์ุปลานิลในอตั รา 2 ตวั ตอ่ ตารางเมตร หรอื 3,000-3,500 ตวั ตอ่ ไร่ และมวี ิธีการปลอ่ ยลูกพนั ธุป์ ลานลิ ดังนคี้ ือ ควรปล่อยลูกพนั ธปุ์ ลานลิ ในชว่ งเวลามีปริมาณแสงแดดไมร่ ้อนจนเกินไป หรอื เวลาประมาณ 0800 น เนื่องจาก อากาศและน้ามีอุณหภมู ิต่้าทา้ ให้ลูกพันธ์ุปลานิลไม่ช๊อคในขณะที่ปลอ่ ย แต่ก็อย่าลกู พันธ์ุปลานิลในช่วงเช้าตรู่ เพราะเปน็ ชว่ งท่ปี รมิ าณออกซเิ จนภายในน้ามีคา่ ตา้่ และทสี่ า้ คญั ควรนา้ ถงุ ทบ่ี รรจลุ กู พันธุป์ ลานิลไปแชไ่ ว้ใน บ่อที่ตอ้ งการเลย้ี งปลานลิ ท้ิงไวป้ ระมาณ 15 นาที เพือ่ เป็นการปรับอุณหภูมภิ ายในถงุ ลูกพนั ธป์ุ ลานิลให้เท่ากบั อุณหภูมิภายในบอ่ ซงึ่ เปน็ การป้องกนั การช็อคของลกู พันธป์ุ ลานลิ อกี ทางหนงึ่ ด้วย และเมือ่ ครบ 15 นาที แลว้ ก็ ค่อยๆ เตมิ นา้ เขา้ ไปในถุงเพอ่ื ให้อุณหภูมิใกล้เคียงกนั แลว้ จึงเทลูกพนั ธ์ุปลานลิ ลงบอ่ และจะใชเ้ วลาในการเล้ียง ปลานิลประมาณ 4 เดอื น โดยปลานิลทไ่ี ด้จะมขี นาดประมาณ 500 กรมั อตั ราการรอดประมาณ 80% เดือนท่ี 1-3 ใหก้ ินอาหารท่ีมีโปรตีนไม่น้อยกวา่ 30 เปอร์เซ็น ไขมนั ไม่นอ้ ยกว่า 4% ความชื้นไม่ มากกว่า 12% และกากไมม่ ากกว่า 6% เดือนท่ี 4 จนถึงสามารถจับปลานิลจ้าหน่าย ใหก้ ินอาหารท่มี ีโปรตนี ไมน่ ้อยกวา่ 25% ไขมันไมน่ อ้ ย กวา่ 4% ความช้ืนไมม่ ากกวา่ 12% และกากไมม่ ากกวา่ 8% นอกจากจะใช้อาหารอาหารส้าเรจ็ รูปเปน็ หลักในการเลยี้ งปลานลิ แล้วยัง มกี ารใหอ้ าหารสมทบทผี่ ลติ ขนึ้ ใชเ้ องโดยใชว้ ตั ถุดิบท่ีสามารถหาไดภ้ ายในท้องถิน่ ซ่ึ งมีส่วนผสมดงั นีค้ ือ ปลาปน่ 100 กโิ ลกรมั ร้าขา้ วหยาบ 10 กิโลกรัม รา้ ข้าวละเอียด 10 กโิ ลกรัม และนา้ มันพชื ท่ใี ชแ้ ล้ว 10 ลติ ร นา้ วตั ถุดบิ ท้ังหมดมาผสมให้เขา้ กนั แล้ว นา้ ไปให้ปลากนิ ซง่ึ มโี ปรตนี ประมาณ 30% ส้าหรับการให้อาหารน้นั จะทา้ การให้อาหารวันละ 4 ครง้ั ซึง่ สาเหตุ ท่ตี ้องให้อาหารวนั ละ 4 คร้ัง เน่ืองจากปลานลิ เปน็ ปลาทีก่ ินอาหารเรว็ และมีระบบการยอ่ ยอาหารทด่ี ีจึงท้าให้ ตอ้ งใหอ้ าหารถ่ีกวา่ ปกติ และควรสงั เกตอาการปลาทุกครงั้ ท่ใี ห้อาหาร ดูความผิดปกตขิ องรา่ งกาย การวา่ ยนา้
ความกระตือรอื ร้นในการกินอาหาร หากปลานิลแสดงอาการเบือ่ อาหารเปน็ สญั ญาณแสดงความผิดปกติ และ ควรลดปรมิ าณอาหาร หรอื งดอาหาร ในวนั ทท่ี ้องฟ้ามดื ครม้ึ ปราศจากลมพดั เพราะปรมิ าณออกซิเจนในบ่อจะ ต่้า การใหอ้ าหารเป็นการส้ินเปลืองและสูญเปล่า ซ้ายังเปน็ ส าเหตุของน้าเสียอกี ดว้ ย ซึ่งใน 1 สัปดาหจ์ ะใหก้ นิ อาหารสา้ เร็จรูป 3 วัน คอื วันที่ 1-3 ของสปั ดาห์ และวนั ท่ี 4 จะปล่อยใหป้ ลากนิ แพลงคต์ อนและพืชน้าภายใน บ่อ และส้าหรบั วันท่ี 5-7 จะให้ปลากนิ อาหารสมทบทผ่ี สมขึน้ มาเอง การจดั การน้า มกี ารตรวจสอบคุณภาพน้าอยา่ งสมา่้ เสมอ โดยการวัดความโปร่งใสของนา้ ดว้ ย วธิ กี ารนา้ วตั ถผุ ูกตดิ กับเชอื กแล้วหยอ่ นลงน้าและวัดความลึกสดุ ท้ายที่สามารถมองเห็นวตั ถไุ ด้ นอกจากน้ยี งั มี การสงั เกตสแี ละกลน่ิ ของน้าอยา่ งต่อเนื่องอีกด้วย ผลผลติ สามารถเลี้ยงปลานิลได้ 2 รอบต่อปี โดยได้ผลผลิตประมาณ 9,600 กิโลกรมั ต่อปี หรือได้ ผลผลิตประมาณ 1,200 กิโลกรมั ต่อไร่ ซ่ึงใช้ต้นทุนในการเล้ียงปลานลิ ประมาณ 30 บาทต่อกโิ ลกรมั ปราชญ์จงั หวัดชยั ภูมิ (ท้าปยุ๋ หมัก) การอนุบาลลกู ปลาแตก่ อ่ นจะมีบ่อสา้ หรับอนุบาลโดยเฉพาะ ขนาด 0.25 ไร่ จา้ นวน 2 บ่อ ปัจจุบนั มี การปรับปรงุ บ่อใหม่ จึงมกี ารหมุนเวยี นใ ช้เป็นบอ่ อนุบาลทกุ บอ่ บ่อไหนว่างจะใช้บอ่ น้นั ในการอนบุ าลตาม ความสะดวกและเหมาะสม เรม่ิ ต้นด้วยการสบู น้าออกจากบ่อให้หมด ทา้ ความสะอาดตัดหญา้ บริเวณขอบบอ่ ไว้ทา้ ปยุ๋ หมกั เตรยี มนา้ ผงซกั ฟอก 1ชอ้ นโต๊ะในน้าประมาณ 10 ลติ ร จากนนั้ น้าโลต่ น๊ิ หรือที่เรียกว่าหางไหลมา ทบุ และขย้ีในนา้ ผงซกั ฟอกท่ีเตรยี ม ให้ตวั ยาละลายในน้าดงั กล่าว นา้ น้าท่ไี ด้ไปสาดในบอ่ บริเวณทน่ี ้ายังไม่แหง้ จะสังเกตมปี ลาและศัตรปู ลาขน้ึ มาตาย ทา้ การเกบ็ ไปฝังดิน จากน้นั หว่านปนู ขาวในปริมาณ 100 กิโลกรัมตอ่ บ่อขนาด 1ไร่ ทิ้งไว้ 1 อาทิตย์ นา้ น้าเข้าบ่อลกึ 50 เซนตมิ เตร โดยใช้ม้งุ เขยี วมดั ปากท่อเพอื่ ปอ้ งกนั ศตั รปู ลาเขา้ บอ่ พักน้าไว้ 1 วนั จึงน้าลูกปลาขนาด 2-3 เซนตเิ มตร ลงในอัตรา 20,000 ตัวตอ่ บ่อ โดยให้อาหารปลาดกุ วันละ 2 ครั้ง ครั้งละประมาณ 2 กิโลกรัม ซึง่ ระยะเวลาในการอนบุ าลจะมี 2 แบบ คืออนบุ าล 2 เดอื น กบั อนบุ าล 4 เดือน จะได้ลกู ปลา ขนาด 7-10 เซนติเมตร ยา้ ยลกู ปลาทีผ่ า่ นการอนบุ าลแล้วซึ่งจะทา้ ในตอนเชา้ กอ่ น 0800 น มาพักในกระชังในบ่อเลย้ี งท่ีจะ ปล่อย ประมาณ 2 ชว่ั โมง เพื่อสังเกตปลาถ้าตัวไหนไม่แขง็ แรงกจ็ ะคดั ออก ส่วนที่แข็งแรงก็ปลอ่ ยลงเล้ียงใน อัตราความหนาแน่น 4,000 ตวั ตอ่ ไร่ เพ่มิ นา้ วันละ 10 เซนติเมตร นาน 10 วนั กจ็ ะไดน้ ้าความลกึ 1.5 เมตร ขนาดบอ่ เล้ียงมี 3 ขนาดคอื 2 ไร่ 4 ไร่ และ 6 ไร่ การเตรียมบอ่ เล้ยี งจะเหมือนกนั กับการเตรียมบ่อ อนุบาลต่างกนั ตรงทหี่ ลังจากหว่านปนู ขาวปลอ่ ยไว้ 1 อาทิตยแ์ ล้วจะทา้ การหวา่ นขา้ วและปล่อยให้วชั พืช
เจริญเตบิ โตประมาณ 1 เดือน จากนั้นจะตดั ตน้ กลา้ และวชั พชื ทีข่ ้นึ ใหห้ มดน้าตน้ กล้าและวชั พชื ท่ีไดไ้ ปท้าป๋ยุ หมกั ไว้มมุ บอ่ ปลาเพ่ือเปน็ แหลง่ อาหารธรรมชาติ โดยจะปักไม้กัน้ ไมใ่ หก้ องปุ๋ยหมักกระจัดกระจาย วางต้นขา้ ว และวัชพืชสลับกบั ขวี้ วั แหง้ เป็นช้ันๆ ใช้ข้ีววั แห้งประมาณ 100 กโิ ลกรมั ต่อไร่ จากนัน้ น้าน้าเข้าประมาณ 30 เซนติเมตร พักไว้ 1 อาทติ ย์ เพ่ิมนา้ อกี ประมาณ 20 เซนตเิ มตร สังเกตุสนี ้าถ้าเป็นสีขุ่นแก้ไขโดยใสป่ ยุ๋ ยเู รยี 5-6 กิโลกรัม แต่ปกติจะเปน็ สีเขียวโดยไมต่ อ้ งใส่ปุย๋ ยูเรีย (การท้าป๋ยุ หมักนจ้ี ะท้าไปเร่ือยจนกว่าจะจับปลาจ้าหนา่ ย หากกองปุย๋ หมักเหลอื น้อยก็ จะหาฟางหรอื หญ้าที่ตดั จากขอบบ่อมาทา้ ป๋ยุ หมักเพิ่มโดยใช้ขว้ี วั แหง้ มาสลบั ชนั้ เหมอื นเดมิ ) หากน้าลดลงกจ็ ะทา้ การเพ่มิ น้าหรอื หากนา้ สเี ขยี วคล้าผดิ ปกตกิ จ็ ะทา้ การถา่ ยน้าออกส่วนหนึ่งเอา น้าดีเข้ามาแทนจนสีน้าเขยี วปกติ (การเพิ่มและเปลยี่ นถา่ ยน้าจะไม่คอ่ ยท้าในช่วงหน้าหนาวเ นอ่ื งจากกลัวติด โรค) ระยะเวลาเล้ยี งต่อร่นุ 8 เดือน โดย 4 เดอื นแรกจะให้ปลากินอาหารแหลง่ อาหาร ธรรมชาตทิ สี่ รา้ งข้ึนไป กอ่ นซง่ึ 4 เดอื นปลาจะมขี นาด 45 ตัวตอ่ กิโลกรัม เริ่มเดอื นท่ี 5 จงึ จะให้อาหารเมด็ สา้ เร็จรปู โดยใชอ้ าหารปลา ดุก โปรตนี 30% วันละ 1 ครั้ง ครงั้ ละประมาณ 40 กิโลกรมั เดือนที่ 6 ครัง้ ละประมาณ 50 กิโลกรัม เดอื นท่ี 7 ครง้ั ละประมาณ 80 กโิ ลกรมั เดือ นที่ 8 ครง้ั ละประมาณ 100 กิโลกรัม สงั เกตถ้าปลากินอาหารหมดจะเพ่มิ ปริมาณข้ึนเรอ่ื ยๆ ระยะเวลาในการเลยี้ ง 8 เดือน จะได้ขนาดปลา 2 ตวั ต่อกโิ ลกรัม จึงเรมิ่ ทยอยจบั ขาย ส่วนตัวทเ่ี ล็กกวา่ น้นั จะแยกไปเลย้ี งตอ่ จนกว่าจะไดข้ นาด 2 ตัวตอ่ กิโลกรมั จึงจะจบั อัตรารอดประมาณ 80- 85% บ่อเลีย้ งทัง้ หมดจา้ นวน 10 บอ่ จะถูกหมนุ เวยี นจบั ให้หมดไปทีละบอ่ โดยให้มีผลผลติ ออกสู่ตลาดทกุ วนั จ้านวนการเลี้ยง1.5 รอบต่อปี ผลผลิตประมาณ 20 ตนั ตอ่ ปี ตน้ ทนุ การเล้ี ยงประมาณ 30 บาทต่อ กโิ ลกรมั ผลผลิตประมาณ 600 กโิ ลกรัมต่อไรต่ ่อปี เลี้ยงปลานิลรว่ มกบั ปลาชนิดอ่นื ปราชญ์จงั หวัดอ่างทอง มกี ารบรหิ ารจัดการ การเลี้ยงปลาโดยเนน้ การเล้ยี งสัตวน์ ้าแบบอินทรยี ์ โดยไมใ่ ช้สารเคมแี ละยา ปฏิชีวนะในการเล้ยี ง ไม่ใชอ้ าหารสา้ เรจ็ รูป แต่ใช้อ าหารประเภท รา้ ปลายขา้ ว ข้าวโพดป่น อามอิ ามิ ปยุ๋ เปน็ ตน้ สูตรการให้อาหารปลา แบ่งตามระยะของการเจริญเติบโต ปลาขนาดเล็ก อายุ 1-2 เดอื น ใหร้ ้าละเอยี ด (โปรตนี ประมาณ 12%)
ปลารุ่น อายุ 2-4 เดอื น ใหร้ ้าปลายข้าว (โปรตีนประมาณ 8%) ปลาโต อายุ 4 เดอื นข้นึ ไป ให้ร้าปลายข้าว และขา้ วโพดป่น (โปรตีนประมาณ 11%) การเพิม่ อาหารเสรมิ อาหารจากธรรมชาติ ปลูกข้าวใหป้ ลากนิ ใส่ปุย๋ มูลนกกระทาเสรมิ ให้เกดิ แพลงกต์ อน ใส่ป๋ยุ น้าหมักจลุ ินทรีย์ ท่ีเกิดจากการหมักของตน้ กล้วย การให้อาหารจะไมห่ วา่ นให้โดยตรงแต่จะท้าหลกั ทบ่ี รรจุอาหารซ่งึ ท้าจากมุง้ เขียว แล้วน้าไปปกั ไว้เปน็ จุดๆ โดยปัก 1 หลัก ต่อปลา 15,000 ตัว ถ้าปลอ่ ยปลา 150,000 ตวั ควรปกั 10 หลัก และจะปกั กองฟางลงในบอ่ เล้ยี งปลาด้วยเพื่อเป็นแหลง่ เกิดของของแพลงกต์ อนและลูกไร ซ่ึงเป็นอาหารธรรมชาตขิ องปลาสังเกตการกิน อาหารของปลา ถ้าปลากินหมดก็จะเพม่ิ อาหาร ถ้ากินไม่หมดควรลดอาหารลง มกี ารตรวจสอบการเจริญเติบโตและความหนาแน่นของปลาตลอดระยะเวลาการเลีย้ งโดยการ เจรญิ เตบิ โตของปลาจะตอ้ งมขี นาดตามอายุของปลา เช่น ปลานลิ อายุ 4 เดอื น ควรมีน้าหนักประมาณ 200 กรัม เป็นตน้ โดยมีการสุม่ ปลาข้นึ มาชั่งน้าหนักทุกๆ เดอื น การเตรียมอาหารธรรมชาตจิ ากการหมกั ฟางร่วมกบั มลู สตั ว์ ปราชญ์จงั หวัดสกลนคร (เลย้ี งปลาในนาขา้ ว) พน้ื ที่ในการเล้ียงปลาในนาขา้ วของปราชญ์ การเตรยี มแปลงนาข้าวเพอ่ื ใชเ้ ล้ียงปลาในมีการเตรียม บ่อเสร็จก่อนระยะเตรียมดินและไถคราด แปลงนาเปน็ ทีล่ ุม่ และรอ่ งนาสามารถเก็บกกั น้าไดล้ ึก 1 เมตร ตลอด ฤดูท้านา มีการเสริมคนั นาให้สูงขน้ึ จากระดบั พ้นื นาเดิมประมาณ 1–2 เมตร และมคี วามมั่ นคงแข็งแรงปอ้ งกัน
น้าท่วมและ การพังทลายของคนั นา เปน็ อยา่ งดี โดยทีน่ ้าท่วมไมถ่ ึง มีการทา้ นาตลอดทัง้ ปีโดยจะนยิ มเล้ยี ง ปลานลิ แปลงเพศอัตราการปล่อย 3,000 ตัวตอ่ ไร่ อัตรารอด 60% ผลผลิต 500-600 กิโลกรมั ต่อไร่ อาหารและการให้อาหาร การเล้ยี งปลาในนาเป็นการใหอ้ าหารธรรม ชาติในผืนนาท่ีมอี ยูใ่ หเ้ กิด ประโยชน์ แตอ่ าหารธรรมชาตนิ ้ีไมเ่ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของปลา จา้ เปน็ ตอ้ งเร่งใหเ้ กิดอาหารธรรมชาตโิ ดย การทา้ น้าเขียว มูลสตั วท์ หี่ าไดใ้ นทอ้ งถน่ิ ใสใ่ นอัตราเดอื นละ 100 กโิ ลกรัมต่อไร่ โดยการหวา่ นในรอ่ งนาหรือ กองไว้ท่มี ุมแปลงนา ปราชญ์จงั หวัดชลบรุ ี (การเลย้ี งปลานิลแปลงเพศร่วมกับการเลีย้ งก้งุ ขาว) ส้าหรบั การปลอ่ ยกงุ้ ขาวเพื่อเลี้ยงรว่ มกบั ปลานิลแปลงเพศเปน็ เทคนิคการเลย้ี งสตั วน์ ้าแบบ ผสมผสานอย่างหนงึ่ ทส่ี ามารถเพิม่ รายได้ให้กับเกษตรกรไดโ้ ดยท่ีการเ ลยี้ งกงุ้ ขาวในบอ่ ปลานลิ แปลงเพศไม่ ต้องให้อาหาร เพราะกงุ้ ขาวสามารถเกบ็ เศษอาหารของปลานิลท่กี ินเหลือไวห้ รอื ไมห่ มด ก ารปลอ่ ยกงุ้ ขาวจะใช้ ลกู กุง้ ขนาด พี 15 อตั ราปล่อย 20,000 ตวั ต่อไร่ เลย้ี งเปน็ ระยะเวลา 2-3 เดอื นจนไดข้ นาดทส่ี ามารถเก็บเก่ยี วได้ วธิ กี ารเกบ็ เกยี่ วปราชญ์ฯจะใช้อุปกรณท์ ่ีเรยี กว่า “ไอโ้ ง่” ซึง่ เปน็ ลักษณะคล้ายลอบท่ที ้ามาจากตาขา่ ยท่มี ขี นาด ตาประมาณ 2.5 เซนติเมตร โดยตอนกลางคนื จะนา้ ไปใส่ไว้ในบอ่ และตอนเช้าจะเกบ็ ขน้ึ มาและสามารถเก็บ เกย่ี วกงุ้ ขาวไดท้ กุ วันจนกระท่ังจับปลานิลขายกุง้ ขาวกจ็ ะหมดบ่อพอดี แตห่ ากวา่ กงุ้ ขาวมอี ัตรารอดน้อยหรือ ระยะเวลาในการเลยี้ งปลานลิ ยาวข้นึ อาจลงกงุ้ ขาวเพ่ิมได้เช่นหลงั จากปลอ่ ยกุง้ ชุดเดิมไป 2 เดือนจะปล่อยชุดท่ี 2 อีกในอตั รา 10,000 ตัวตอ่ ไร่ แตท่ ้งั นปี้ ราชญแ์ นะนา้ วา่ ขนึ้ อยกู่ บั ความเหมาะสม ส้าหรบั ประโยชนข์ องการ เลีย้ งกงุ้ ขาวกับปลานลิ นอกจากเกษตรกรจะมีรายได้เพิ่มข้นึ แล้ว จะทา้ ให้สามารถลดลดปรมิ าณเศษอาหาร หรือของเสียที่พนื้ ก้นบ่อไดม้ ากขนึ้ และ กงุ้ ขาวที่เล้ียงควบคกู่ บั ปลานิลน้ันมีขนาดเสมอกนั เกือบทั้งหม ดจึงทา้ ให้ เกษตรกรขายได้ในราคาดี ปราชญ์ จึงเปน็ ผหู้ น่ึงทค่ี ิดหาวิธีการเพ่ิมรายได้ใหแ้ กต่ นเอง และส่งเสรมิ ให้กลุ่มของ ตนเองเล้ียงวธิ ีเดียวกนั นี้ การให้อาหารลูกปลาเนอ่ื งจากปลามขี นาดเลก็ ปลายังตอ้ งการอาหารไมม่ ากนัก ดงั นน้ั จึงตอ้ ง ควบคมุ การใหอ้ าหารโดยไม่ใหม้ ากเกนิ ไป เพราะอาจท้าให้นา้ เนา่ เสีย และลูกปลาตายได้ การเลีย้ งปลาในบ่อ ช้าจะใชร้ ะยะเวลา 3-4 เดือน กลา่ วคอื ควรเลีย้ งปลาในบอ่ ช้าให้ไดข้ นาด 10-15 ตวั ต่อกิโลกรัม แลว้ จึงย้ายบอ่ เพือ่ ปล่อยลงบอ่ เลี้ยงตอ่ ไป ปลอ่ ยลูกปลาลงเล้ียงในบ่อเล้ียงในอัตราการปล่อย 2,000 ตัวตอ่ ไร่ แลว้ ทา้ การเล้ยี ง ประมาณ 6 เดือนสามารถจ้าหนา่ ยปลานิลขนาด 500-800 กรมั ตอ่ ตัว ในราคาสง่ 35-40 บาทตอ่ กิโลกรัม โดย โดยใชร้ ะยะการเล้ียงทง้ั สิ้นประมาน 10 เดอื น การจัดการน้า ในการเลย้ี งปลาแตล่ ะรุน่ ปราชญจ์ ะใช้วิธีการหมนุ เวยี นนา้ ภายในฟารม์ ส่วนใหญ่เวลา จบั ปลาในฟาร์มจะจับแบบค้า่ บอ่ ปราชญจ์ ะดูดน้าในบอ่ ท่ีจะจับปลาไปใส่ไว้ในบอ่ เลย้ี งปลาบอ่ อืน่ หรอื มบี ่อ
พกั นา้ โดยจะใช้ระบบหมุนเวยี นน้าในการเลี้ยงปลาโดยไมส่ บู น้าท้งิ ออกนอกฟารม์ จึงมนี า้ ใช้ตลอดทง้ั ปี ปราชญ์ และสมาชกิ งส่วนใหญภ่ ายในกลมุ่ จะใช้ยาหมกั ชีวภาพหรอื จุลลินทรี , EM ในการเลยี้ งปลาโดยน้ามาหมกั ไวใ้ น ถัง ใชว้ ิธกี ารสาดใหท้ ่วั บอ่ เลี้ยง ในฤดูฝนและฤดูหนาวจะใส่จุลลนิ ทรีย์ หรอื EM เดอื นละ 2 ครง้ั ส่วนฤดรู ้อนจะ ใส่ 7-10 วันต่อคร้ัง ในการเลี้ยงปลาแตล่ ะรนุ่ ปราชญ์จะเลี้ยงปลาให้ได้ขนาดตามความต้องการของผูซ้ อื้ จะใช้ระยะเวลา เลย้ี งในแตล่ ะบ่อไมเ่ ท่ากันสว่ นใหญจ่ ะใช้เวลาเลย้ี งประมาณ 10-12 เดือน จะได้ปลาขนาด 700-1,000 กรัมตอ่ ตวั ผลผลิตทจ่ี ะไดร้ บั ประมาณ 700-1,000 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ แตข่ ึ้นอยูก่ บั การจดั การในการเลยี้ ง ขณะท่ีกา้ ลงั เล้ี ยง อยูป่ ลามกี ารตายมากหรอื น้อยขึ้นอยกู่ บั การดแู ลในการเล้ียงด้วย เลย้ี งปลานิล ปลาชนิดอ่นื ๆ และไกไ่ ข่ ปลอ่ ยลูกปลานิลขนาด 45 กรมั ในบ่อท่เี ตรียมน้าไว้ ในอตั รา 8,000 ตวั ต่อไร่ ถ้าเป็นการเลย้ี งแบบ ผสมผสาน อัตราการปลอ่ ยปลา คือ ปลอ่ ยปลานลิ 60,000 ตวั ต่อโรงเรือนเล้ียงไกไ่ ข่ ปลาสวาย 14,000 ตวั ต่อ โรงเรือนเล้ียงไกไ่ ข่ และปลาดกุ 200,000 ตัวตอ่ โรงเรือนเลยี้ งไกไ่ ข่ มโี รงเรอื นเล้ยี งไก่ไข่ด้านบนบอ่ เลี้ยงปลา ขนาดบอ่ เลย้ี งมีขนาดพ้นื ทีโ่ ดยประมาณ 8 ไรต่ ่อ 1 โรงเรือน มกี ารผลิตเครอ่ื งอัดอาหารท่ีผลิตอาหารได้ 2.6-3.0 ตนั ตอ่ วัน โดยใช้เครอ่ื งอดั อาหารเมด็ เองและการ ผลิตอาหารสา้ เรจ็ รูปใช้ในฟารม์ ทั้งหมด เคร่ืองอัดเม็ดสามารถลอยน้าผลิตอาหารทม่ี โี ปรตีน 30-32% คาร์โบไฮเดรต 10% ไขมัน 5-8% การใหอ้ าหารในฤดูร้อน จะให้อาหาร 2 ม้ือต่อวัน โดยใหอ้ าหารเวลาเช้า และ เวลาเยน็ ส่วนในชว่ งฤดหู นาว จะให้อาหาร 2 ม้อื ตอ่ วนั โดยใหอ้ าหารเวลาเช้า และเวลาเยน็ และในฤดูฝนให้ อาหาร 2 ม้ือต่อวัน โดยให้อาหารเวลาบา่ ยเป็นต้นไป สว่ นผสมของอาหารท่ผี ลติ เอง มนั ส้าปะหลงั 300 กโิ ลกรมั วิตามินซี 0.3 กรัม ข้าวโพด 40 กโิ ลกรมั ปลาปน่ 200 กิโลกรัม พรมี กิ ซ์ไกไ่ ข่ 5 กิโลกรัม ถวั่ อบไขมนั เต็ม 195 กโิ ลกรัม น้ามนั รา้ 10 กิโลกรัม ตรวจสอบคณุ ภาพน้าอย่างสม่า้ เสมอโดยตรวจเช็คค่า ความเป็นกรด-ด่าง ซึ่งมีคา่ เป็นกลาง และดแู ล ทางดา้ นการจัดการสงิ่ แวดล้อมโดยการตดั หญ้าบรเิ วณรอบๆ บ่อและบริเวณรอบๆ ฟารม์ มีการเตรยี มน้าจาก น้าฝนไว้ในบ่อที่พักน้าไว้ ประมาณ14 ไรแ่ ละเปลยี่ นถ่ายน้าทบี่ ่อนา้ ทิง้ มที างระบายน้าเข้าและออกสะดวก
3. การเลย้ี งปลานิลในกระชัง 3.1 การเตรียมกระชัง ใช้กระชงั ขนาด 33x6.5x3 เมตร กอ่ นการนา้ กระชงั มาใชจ้ ะตอ้ งมกี ารตรวจสอบสภาพพร้อมการใชง้ านกอ่ นโดยการน้า กระชังลงนา้ เพ่อื ใหก้ ระชงั สร้างความสมดุลกับน้าและหาขอ้ บกพร่ องของกระชัง เพราะเมอ่ื นา้ ลูกปลาลงเลี้ยงแลว้ จะแก้ไข ไม่ได้ การวางกระชงั จะวางกระชงั โดยไมใ่ หก้ ดี ขวางทางไหลของน้า นา้ สามารถไหลผ่านได้ทกุ กระชัง ให้หลีกเหลยี่ ง การวางกระชงั บริเวณทเี่ ป็นจดุ อับเน่ืองจากจะเปน็ ทส่ี ะสมของเชื้อโรค และหากมีการวางกระชงั จ้านวนมาก การติด ตัง้ เครื่องตี นา้ หรอื การสเปรย์น้า เพ่ือใหน้ ้ามีการไหลเวียนเพ่อื เพม่ิ ออกซิเจนเป็นสิ่งจ้าเปน็ การทาความสะอาดกระชงั ใช้การตัดอวนทีผ่ ูกตดิ กับโครงกระชังออก แล้วนา้ อวนขึน้ ไปฉดี นา้ ท้าความสะอาด จากนัน้ จงึ นา้ ไปแช่โซดาไฟเป็นเวลา 2 ชัว่ โมง เพ่อื ฆา่ เช้อื โรค แลว้ นา้ ไปพึ่ งแดดให้แห้ง ท้าเช่นนท้ี ุกๆ ๑๕ วนั หรือเม่ือกระชงั เร่มิ มีการอุดตนั วธิ กี ารน้เี ป็นการท้าความสะอาดกระชงั ท่สี ะอาดท่วั ถงึ ปอ้ งกันเชื้อโรคเม่อื น้ากระชังไปเล้ียงในครง้ั ตอ่ ไป 3.2 การปลอ่ ยลกู ปลา น้าลกู ปลาท่ีไดจ้ ากการอนุบาลในบอ่ ดนิ ขนาดประมาณ 50 กรมั ขน้ึ รถขนส่ง โดยใชผ้ ้ าใบขงึ ใส่น้าและถงั ออกซิเจน ปลาทขี่ นสง่ ตอ้ งทา้ ให้สลบก่อน โดยการแช่ในน้าที่ผสมน้ามนั การพลู การขนส่งลูกปลาโดยใชผ้ ้าใบ ถงั ใสล่ กู ปลาส้าหรบั เตรียมขนยา้ ยลงกระชัง เม่อื ขนส่งถงึ บรเิ วณกระชงั จึงตกั ปลาจากรถขนสง่ ใสถ่ งั พลาสติกท่ีเตรียมไวส้ ้าหรบั ขนยา้ ย จากน้ันน้าปลาเทลง ตะแกรงไนลอนเพอ่ื คดั ขนาดในกระชงั วธิ ีการน้ีเป็นวธิ ีท่งี ่ายและสะดวกในการขนย้ายลูกปลา โดยลกู ปลาจะมีความบอบซ้า
นอ้ ยมาก และการคดั ปลาท่มี ขี นาดเท่ากันลงเลี้ยงในแตล่ ะกระชงั ทา้ ใหส้ ามารถจัดการการเล้ียงและการใหอ้ าหารได้อย่าง สะดวกอีกด้วย การย้ายลกู ปลาจากถังใส่ตระแกรงเพอ่ื คัดขนาด การคดั ขนาดลูกปลาลงกระชัง ปล่อยลกู ปลาขนาด 50 กรมั จ้านวน 2,000 ตัว ในกระชงั ขนาด 3x6.5x3 เมตร ลูกพนั ธท์ุ ่ีมีขนาดใหญ่ มีความทนต่อโรค สงู กว่าขนาดเล็ก การปลอ่ ยลกู พันธ์ุควรเลอื กปล่อยในกระชังท่อี ยู่บริเวณรอบนอกซงึ่ โดยปกตนิ ้ามีคุณภาพดกี วา่ เนื่องจากเป็น บริเวณที่มีความลึกมากกว่าและมีการไหลผา่ นของนา้ ดีกวา่ คณุ ภาพนา้ ที่ดชี ว่ ยใหล้ กู ปลามีความแข็งแรงและเส่ียงต่อการเกดิ โรคน้อยกวา่ 3.3 การเลยี้ ง ในการเล้ยี งควรจัดกระชังปลาทมี่ ขี นาดใกล้เคยี งกันไวแ้ ถวเดยี วกนั เพอื่ สะดวกในการจัดการ โดยปลาท่มี ขี นาดเลก็ สดุ จะไว้ด้านนอกดว้ ยเหตผุ ลดังท่ีได้กลา่ วมาแล้ว จัดท้าแผนผังฟารม์ เพอื่ สะดวกในการจดั การและมีการจดบันทึกจา้ นวนการตายของแต่ละกระชงั เพ่อื ทราบถงึ ผลผลิตครา่ วๆ และใชใ้ นการปรบั เปลย่ี นปริมาณการใหอ้ าหาร ตดิ ตัง้ เครือ่ งตีน้าหรือเครอื่ งสเปรย์น้า ส้าหรบั การเลย้ี งทม่ี กี ารวางกระชังอย่างหนาแนน่ ทง้ั นีเ้ พอ่ื ชว่ ยเพมิ่ การ ไหลเวยี นของน้าในกระชงั เป็นการเพ่มิ ปริมาณออกซเิ จนละลาย การติดตามวดั คณุ ภาพนา้ โดยเฉพาะออกซเิ จนละลายจะช่วย ใหม้ กี ารใช้เครือ่ งตีนา้ หรอื สเปรยน์ ้าไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและประหยดั หรอื หากไม่มี เครอื่ งมือวัดหรือวเิ คราะหอ์ อกซิเจน
ละลายกอ็ าจใชก้ ารสังเกตอาการลอยหัวของปลา ประกอบกบั การสังเกตสภาพอากาศ โดยปรมิ าณออกซเิ จนละลายมกั จะลด ต้่าลงหากมสี ภาพอากาศทมี่ แี สงแดดนอ้ ยติดตอ่ กนั มากกว่า2 วันขน้ึ ไป การใหอ้ าหาร ปริมาณอาหารทีใ่ หใ้ นแต่ละวนั ขึ้นกบั ขนาดปลา ดังน้ี ปลาขนาด 50-150 กรมั ให้ 7% ของน้าหนักตวั ปลาขนาด 150-250 กรัม ให้ 5% ของน้าหนกั ตวั ปลาขนาด 250 กรมั ขนึ้ ไป ให้ 3.5% ของน้าหนักตัว สุ่มชงั่ นา้ หนกั ปลาทกุ ๆ 15 วัน เพือ่ ปรับเปลี่ยนปรมิ าณอาหารให้ตรงตอ่ ความต้องการในแตล่ ะชว่ ง และค้านวณคา่ FCR ปรมิ าณโปรตนี ในอาหารทป่ี ลาแตล่ ะขนาดควรได้รบั เพอื่ การเจริญเตบิ โตทด่ี ี ปลาขนาด 30-100 กรัม โปรตนี 32% ปลาขนาด 100 กรัม-จบั ขาย โปรตนี 30% หากเปน็ เกษตรกรรายเลก็ ท่ีมจี ้านวนกระชังไมม่ าก การให้อาหารโดยการสาดในแต่ละมื้อเปน็ สิง่ ทปี่ ฏิบตั กิ ันโดย ปกตทิ ั่วไป แตห่ ากเปน็ เกษตรกรผ้เู ลี้ย งกระชังรายใหญ่ การให้อาหารโดยใชเ้ ครอ่ื งใหอ้ าหารอัตโนมตั ิจะช่วยประหยัดแรงงาน อีกทั้งเครอ่ื งให้อาหารปลาอตั โนมตั ิจะช่วยให้ปลาทุกตัวไดร้ ับอาหารอย่างท่วั ถงึ อยา่ งไรก็ตามผเู้ ลย้ี งปลาด้วยเครื่องใหอ้ าหาร อตั โนมตั คิ วรจะตอ้ งมีการสังเกตการกินอาหารของปลาด้วยวา่ เป็นไปอ ย่างปกตหิ รือไม่ เพอื่ เปน็ ขอ้ มลู ส้าหรบั การจัดการดา้ น อาหารและการเลย้ี งได้อย่างเหมาะสม
ภาพแสดงการให้อาหารโดยเคร่ืองใหอ้ าหารอัตโนมตั ิ 3.4 โรคและการปอ้ งกันรกั ษา ผลผลิตปลานลิ ในปัจจบุ นั ไม่เพียงพอตอ่ ความต้องการของตลาด ทา้ ใหเ้ กษตรกรส่วนใหญ่เรง่ เพมิ่ ก้าลังการผลิต โดยการปลอ่ ยปลาในอตั ราที่หนาแนน่ มาก หากฟารม์ ใดไมม่ วี ิธกี ารจดั การที่ดี จะทา้ ให้ปลาเกดิ ความเครยี ด เป็นสาเหตใุ หเ้ กิด โรคไดง้ า่ ย โรคทเี่ กดิ ในปลานิล อาจเกิดจากสาเหตุจากการเลอื กสถานท่ี เชน่ เลย้ี งในแหล่งน้าธรรมชาติที่มีปริมาณและ คณุ ภาพน้าท่ีไมเ่ หมาะต่อการเลี้ยง หรือการจดั การการเล้ียงที่ไมถ่ ูกต้อง เช่น ไม่มกี ารเตรยี มบอ่ ที่ดี อาหารและการใหอ้ าหารที่ ไม่เหมาะสม การเลี้ยงปลาในกระชงั มีความเส่ยี งต่อการเปน็ โรคมากกว่าการเล้ียงในบ่อดนิ เน่อื งจากขอ้ จ้ากัดในการจัดการ คณุ ภาพนา้ โรคท่ีเกิดกบั การเลี้ยงปลานลิ ในกระชัง ไดแ้ ก่ แอโรโมแนส สเตรปโตคอคโคซิส ตวั ดา่ ง ปรสิต (Microsporidia, เห็บปลา หมัดปลา เห็บระฆงั ปลิงใส หนอนสมอ) เชอื้ รา (ปยุ ฝา้ ย) เลือดออกตามเกล็ด เหงือกบวม ตาโปน ครีบกุด หางขาด แบคทีเรีย ขอ้ แนะนาการปอ้ งกนั การเกดิ โรค - ระวังไม่ใหป้ ลาเกดิ ความเครยี ด โดยการดแู ลสภาพแวดล้อ มใหเ้ หมาะสม ไมค่ วรปลอ่ ยปลาหนาแน่น จนเกนิ ไป ใหอ้ าหารที่มคี ุณภาพในปริมาณทเ่ี หมาะสม - เมอื่ น้าปลาใหม่เข้ามาในฟารม์ ควรแชฟ่ อร์มาลินความเขม้ ข้น 25-30 สว่ นในล้านส่วน เพอ่ื กา้ จดั ปรสิต ทีอ่ าจตดิ มากับตัวปลา - เมื่อมกี ารขนส่งปลา ควรแช่เกลอื ในอัตรา 0.1-0.5 เปอร์เซ็นต์ เพือ่ ลดความเครียดปลา - การควบคุมโรคแบคทเี รยี ตอ้ งใชย้ าปฏิชีวนะที่สามารถยบั ย้ังแบคทเี รียชนิดนนั้ ได้ ซึ่งควรน้าปลาทีป่ ่วย มาตรวจวินจิ ฉยั โรคก่อนใช้ยา ควรใช้ยาดว้ ยความระมดั ระวัง ควรเลือกใช้ยาที่ไดร้ บั การขึ้นทะเบียน มี ฉลากแนะน้าการใช้ และปริมาณการใชใ้ หถ้ กู ต้อง - ถ้าพบว่าปลานลิ เป็นโรคตวั ดา่ งกลังการลา้ เลยี งขนส่ง ใหใ้ ช้ดา่ งทับทิม 1-3 สว่ นในลา้ นสว่ น แช่นาน 24 ชัว่ โมง สว่ นการป้องกนั ให้ใช้ยาเหลือง(Acriflavin) เขม้ ขน้ 0.4 สว่ นในล้านสว่ น นาน 30 นาที ก่อนปลอ่ ย ลงเลี้ยง ข้อแนะนาการปอ้ งกันและรักษาโรค (ภูมปิ ัญญาปราชญ์) ผสมออกซ่เี ตตรา้ ซยั คลินกับอาหารใหป้ ลากนิ เปน็ เวลา7-10 วนั เพ่อื ปอ้ งกนั ปลาเป็นโรค 3.5 ผลผลติ และการเก็บเกย่ี วผลผลติ
ผลผลิตจะมากหรอื นอ้ ยขน้ึ กบั ปจั จัยหลายอยา่ ง เช่น สภาพภมู อิ ากาศ คุณภาพน้า การจดั การการเล้ยี ง อตั รารอด และโรค ฯ นอกจากนก้ี ารผลิตยังต้องคา้ นึงถึงคณุ ภาพของสินคา้ ท่สี ่งถึ งผูบ้ ริโภค จะต้องมคี ณุ ภาพดี ปลอดภยั ในการบรโิ ภค ไมม่ เี ชื้อโรคหรือสารตกค้าง เพ่อื เพิ่มความมน่ั ใจให้กับผู้บริโภค ใชน้ ้ามันกานพลู ในการสลบปลาในช่วงเวลาสัน้ ๆ เพ่ือรกั ษาสภาพของตัวปลาในระหว่างการเกบ็ เกี่ยวและหลังการ เก็บเก่ยี ว การใช้น้ามันกานพลจู ะชว่ ยใหป้ ลามีสภาพบอบช้านอ้ ย เนือ่ งจากลดการเคลือ่ นไหวของปลาในระหว่างการเกบ็ เกยี่ ว และยังท้าให้ปลาท่ีไม่ไดข้ นาดตามความตอ้ งการของตลาด ถกู คดั แยกไปเลีย้ งตอ่ ไดโ้ ดยไม่มปี ญั หาการกนิ อาหารที่เกิดจาก ความเครียดหลงั จากการเก็บเก่ียว ใชผ้ ้าใบคลุมรองใต้กระชัง ใช้นา้ มันกานพลู 50 มิลลิลติ รต่อกระชัง (ปลา 2ตัน) สลบปลา เป็นเวลาประมาณ 10 นาที จากนนั้ น้าไมพ้ าดบรเิ วณกลางกระชงั เปน็ รูปกากบาท เพ่ือใชใ้ นการคัดปลา ท้าใหไ้ ม่ตอ้ งลากปลามารวมกนั ลดการบอบ ชา้ ของปลา คดั ขนาดปลาใส่ตะกรา้ ภายในตะกร้าจะมถี ุงอวนสามารถรดู ปดิ ปากถุงได้ ยกขน้ึ รถขนสง่ ทบี่ รรจุถังออกซิเจน การคดั ขนาดปลา ปลาขนาดทตี่ ลาดตอ้ งการ
การขนยา้ ยปลาขึน้ จากกระชงั ถังใส่ปลาบรรจอุ อกซเิ จน เคร่อื งให้อาหารอัตโนมตั ิ ลกั ษณะภายนอกของเครือ่ งให้อาหารอัตโนมตั ิ ลักษณะภายในของเครือ่ งใหอ้ าหารอตั โนมัติ บรเิ วณปลายท่อท่ีอาหารลอดผา่ น
4. ปัญหาการเพาะเลี้ยงปลานลิ ปญั หาที่พบจากการรายงานของปราชญ์ปลานลิ มมี ากมาย ทัง้ ที่มขี อ้ แนะนา้ การแก้ไขแล้ว และที่ยัง ตอ้ งการค้าแนะน้าการแกไ้ ขปญั หาจากผู้รหู้ รือจากการศึกษาเพิม่ เตมิ ปญั หาตา่ งๆ สามารถจัดเปน็ กลมุ่ ได้ดงั น้ี คือ ปัญหาทเี่ กย่ี วขอ้ งกับทรพั ยากรน้า สภาวะอากาศแปรปรวน โรคปลา เทคนคิ และอนื่ ๆ ดงั ทจ่ี ้าแนกไว้ใน ตาราง ซงึ่ ได้แบ่งปัญหาที่พบตามความเช่ียวชาญของปราชญ์ ได้แก่ ปัญหาท่ีพบจากการเพาะพนั ธุ์และอนบุ าล ปลานิล จากการเล้ียงปลานิลในบอ่ และจากการเลีย้ งปลานิลในกระชงั ปญั หาที่พบวา่ เปน็ ประเดน็ ร่วม พบท้ังในการเพาะพันธแ์ุ ละอนบุ าล ก ารเลี้ยงในบอ่ และการเลย้ี งใน กระชังได้แก่ ปญั หาเกีย่ วกับทรัยพากรน้า สภาวะอากาศแปรปรวน และโรค ปัญหาทรัพยากรนา้ ท้ังประเด็นด้านปรมิ าณและคุณภาพนัน้ เก่ียวข้องกบั สถานท่ีตั้งฟาร์ม วา่ ตง้ั อยู่ ใกล้แหล่งน้าเพยี งประเภทใด อยบู่ รเิ วณตน้ นา้ กลางน้า หรือปลายน้า และบริ เวณแหล่งน้าน้ันอยใู่ กลช้ ุมชน โรงงานอตุ สาหกรรม หรือแหล่งเกษตรกรรม ทอี่ าจเป็นแหล่งก้าเนิดของมลพิษ ท้าให้การเพาะเล้ียงปลานลิ เกดิ ปัญหา อยา่ งไรกต็ ามปญั หาเกยี่ วกบั แหลง่ น้าสา้ หรบั การเพาะพนั ธแุ์ ละอนบุ าล รวมทั้งการเลย้ี งในบ่อมีน้อยกว่า การเล้ยี งในกระชงั เนือ่ งจากท้ังกา รเพาะพนั ธุแ์ ละการเลย้ี งในบอ่ จะมกี ารใช้นา้ ในระบบปดิ และสรา้ งบอ่ พักน้า เก็บน้าไว้ใชใ้ นยามจ้าเป็น แตกต่างโดยสน้ิ เชิงกบั การเลีย้ งในกระชงั ท่ตี อ้ งอาศัยนา้ ธรรมชาติท่ีมีการเปลีย่ นแปลง ในรอบปี และตามสภาพแวดล้อมทแ่ี หลง่ นา้ นั้นตง้ั อยู่ ซ่ึงมีท้ังปญั หานา้ แลง้ และน้าทว่ ม ที่เกดิ ขึ้นเป็นวัฏจักรใน รอบปี สภาวะอากาศแปรปรวน มคี วามชดั เจนขนึ้ ในระยะ 2-3 ปมี านี้ ไดส้ ่งผลกระทบต่อการเพาะพนั ธุ์และ การเลยี้ งปลานิลอยา่ งเห็นได้ชดั อุณหภูมทิ ่ีรอ้ นข้ึนหรอื ลดลงอย่างมากเมื่อเทียบกับในอดตี ลว้ นแต่มีผลกระทบ ตอ่ การเพาะเล้ียงปลานิลทั้งส้ิน ปราชญ์ ไดพ้ ยายามแก้ไขปญั หาต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั สภาวะอากาศแปรปรวนนี้ ด้วยภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน ดงั ทป่ี รากฏในตาราง โรคปลานลิ มคี วามเกยี่ วขอ้ งกบั ปัจจยั ตา่ งๆ ดังทก่ี ล่าวมาแลว้ คือ นา้ และสภาวะอากาศ นอกจากนี้ สว่ นส้าคัญทจี่ ะทา้ ให้เกดิ โรคหรอื ไมเ่ กดิ โรคคือ การบรหิ ารจดั การ พนั ธกุ รรมปลานลิ กเ็ ป็นอีกประเดน็ ที่มกี าร ตงั้ ข้อสงั เกตวา่ การทป่ี ลานิลในปัจจบุ ันมีความต้านทานโรคต่า้ ลง อาจจะมสี าเหตุมาจากการปรับปรุงพันธุกรรม ท่ีมงุ้ เนน้ แตใ่ หป้ ลาโตเร็วเพียงอย่างเดยี วหรือไม่ การพัฒนาสายพันธทุ์ มี่ งุ่ เนน้ การเจริญเตบิ โต อาจเป็นสาเหตทุ า้ ให้ความตา้ นทานโรคลดต่้าลงกเ็ ป็นได้ ดังนัน้ จึงมีความตอ้ งการให้มกี ารพัฒนาปลานลิ สายพันธ์ทุ ตี่ า้ นทานโรค มากขึ้น ปญั หาท่ีพบจา้ แนกตามความเช่ยี วชาญของปราชญ์ 3 ดา้ นดังน้ี 4.1 การเพาะพันธุ์ปลานิล
ปญั หา การแกไ้ ข น้า - ใชร้ ะบบหมุนเวียนน้าภายในฟาร์ม และสรา้ งบอ่ - น้าแลง้ และคณุ ภาพน้า พกั น้า - ปญั หาอุทกภยั สภาวะอากาศแปรปรวน - อณุ หภมู ิที่สูงเกนิ ไปในชว่ งฤดูรอ้ น สง่ ผลใหล้ ูก - พลางแสงเพอ่ื ลดอณุ หภูมขิ องนา้ โดยอาจใช้ตาขา่ ย ปลานิลทอ่ี นบุ าลในกระชงั ลดการกินอาหารลง พรางแสง หรอื ท้าหลงั คาคลมุ กระชังส้าหรบั การ อนบุ าลลูกปลานลิ - อณุ หภมู ิทีส่ ูงเกินไปในช่วงฤดูรอ้ นและอณุ หภมู ิ - ท้าหลงั คาคลมุ กระชงั ส้าหรับบอ่ พอ่ -แม่พันธุ์ และ ต้่าชว่ งฤดูหนาวท้าให้ผลผลติ ลูกปลาลดลง บอ่ เพาะพันธ์ุ ส่วนในฤดหู นาวจะยืดระยะเวลาใน การเกบ็ ไข่ - คุณภาพและปริมาณไข่ไมด่ ใี นหน้าหนาว - - อณุ หภมู ติ ่า้ ท้าให้การฟกั ไข่ใชเ้ วลานานกว่าปกติ - ตม้ นา้ และปรบั อุณหภูมนิ ้าให้พอเหมาะ โรคปลา - เชือ้ รา อาก ารปลาไม่กินอาหาร เป็นแผลที่ - ใช้เกลอื 1 ช้อนชาต่อน้า 1 ลติ ร หรือ ออกซี่เตตรา ผิวหนัง ปลายครบี ขาว ปลาลอยทผี่ วิ น้า พบ ไซคลิน 5 มลิ ลกิ รมั ต่อนา้ 1 ลติ ร แชใ่ นระหวา่ งการ ตลอดท้ังปชี ่วงเปล่ยี นฤดู หรอื ชว่ งการขนย้ายลูก ขนย้าย ปลา - ใชอ้ อกซ่ีเตตราไซคลนิ 3-4 กรมั ต่ออาหาร 1 กโิ ลกรัม ผสมอาหารให้ปลากนิ เทคนคิ - อนุบาลในบอ่ คอนกรตี ใหอ้ าหารผสมฮอร์โมนกิน - แปลงเพศได้ไมส่ มบรู ณ์ 100% อย่างพอเพียง เพอื่ ลดการกินน้าเขยี วของลกู ปลา หมายเหตุ การอนุบาลในบ่อดินกส็ ามารถแปลงเพศ 100% ได้หากลกู ปลาได้รับฮอร์โมนอยา่ งเพียงพอ - การอดุ ตนั ชอ่ งทางน้าออกของถาดเพาะฟกั ไข่ - หมั่นมาดแู ลทา้ ความสะอาดโดยใช้แปรงขนาดเลก็ ปลานิล ท้าความสะอาดบริเวณทางนา้ ออกอย่างสม่า้ เสมอ ทั้งกลางวันและกลางคืน - การอดุ ตันของตาขา่ ยกระชังพ่อแม่ปลา - ควรเจาะรูน้าออกให้มีขนาดใหญ่ขน้ึ หรือเพิม่ รูน้า ถา่ ยเทน้าไมด่ ี ออกข้ึนอกี หน่ึงแถว เพอ่ื ปอ้ งกนั การไหลลน้ ของนา้ ในถาดฟักจากการอดุ ตนั ทา้ ให้ - ใชก้ ระชังทม่ี พี ้ืนและผนังดา้ นข้างเพยี งด้านเดียวที่ ทา้ ดว้ ยเน้อื อวนตาถ่ี เพ่ือใ ช้เป็นที่ใหแ้ มป่ ลาวางไข่
อืน่ ๆ และรวบรวมไข่จากแม่ปลา สว่ นผนังขา้ งดา้ นยาว - ขาดแคลนแรงงาน 2 ด้านและดา้ นกว้างอีก 1 ดา้ น จะใชเ้ นือ้ อวนไน ลอ่ นขนาดตา 1 นิ้ว เป็นวิธกี ารทใี่ ช้แก้ไขปญั หาการ - ปจั จยั การผลิต โดยเฉพาะอาหาร มรี าคาแพง อดุ ตนั ของตาขา่ ยตาถี่ ชว่ ยให้เกดิ การหมุนเวียนน้า ภายในและภายนอกกระชังได้ดี นอกจากนี้ การใช้ กระชงั ลักษณะดงั กล่าว ยังสามารถลดการใช้ แรงงานในการท้าความสะอาดกระชงั ไดอ้ กี ด้วย - รับคนงานเขา้ ทา้ งานโดยไม่เลือกสัญชาติ ทัง้ คน ไทยและคนต่างด้าว เช่น พม่า ลาว เปน็ ตน้ 4.2 การเล้ยี งปลานิลในบ่อ
ปญั หา การแก้ไข น้า - มบี ่อพกั น้า ใชน้ ้าหมุนเวยี นภายในฟารม์ ไม่ทิ้งนา้ ออก - ปรมิ าณของน้ามไี ม่เพียงพอในหนา้ แลง้ นอกฟาร์ม - ปญั หาน้าข่นุ ในฤดฝู น - - ปญั หาอุทกภัย - สภาวะอากาศแปรปรวน - การเปล่ยี นแปลงสภาวะอากาศ เชน่ ร้อนจดั หรอื - ลดหรอื หยุดใหอ้ าหาร ฝนตกทงั้ วัน ทา้ ใหป้ ลาเครียด - รักษาระดับ pH น้าไมใ่ ห้เปล่ียนแปลงมากในรอบวนั ไมก่ ินอาหาร - มบี ่อพักนา้ สา้ หรับเปลี่ยนถ่ายน้า - ปลาตายชว่ งอากาศเปล่ยี นแปลง - อากาศหนาว ปลานิลแปลงเพศทอ่ี ยใู่ นถาดฟักไข่ และในกระชงั ติดเชอื้ รา โรคปลา - ใส่จลุ ินทรียใ์ นบ่อเลี้ยงปลานลิ 7-10 วนั ตอ่ ครัง้ - ในชว่ งฤดรู ้อนจนถงึ ต้นฤดฝู นของทกุ ปจี ะมกี าร - ตดิ เครือ่ งใหอ้ ากาศทกุ เช้า กลางวนั เพื่อเพมิ่ ออกซิเจน ในน้าและท้าใหอ้ ณุ หภูมนิ า้ ไมแ่ บ่งชั้น ระบาดของเช้อื แบคทเี รยี ท้าใหป้ ลาตาย อ่นื ๆ - ปล่อยตะเพียน ยส่ี ก จีน ใหก้ นิ ไข่ปลานิล - ลกู ปลานลิ แปลงเพศไม่ 100% ออกลกู ท้าใหป้ ลาหนาแนน่ เลี้ยงไมโ่ ต - ปัญหาการใชย้ าในการเกษตรของพื้นทีใ่ กล้เคียง - สงั เกตพฤตกิ รรมการใช้ยาของเกษตรกรเหล่าน้ัน หาก มกี ารใช้ยากบั การเกษตรก็จะรอประมาณ 2 อาทิตย์ ค่อยสูบน้าเข้าฟาร์ม - ตลาดและราคาไมแ่ นน่ อน (ราชบรุ ี) - ผลผลิตไม่พอจา้ หนา่ ย (สกลนคร) - ซอ้ื ปลามาจากแหลง่ อนื่ ๆ - ขาดแคลนลกู พันธ์ุ ผลผลิตไมท่ ันตอ่ ความ ตอ้ งการ - ขาดแคลนปยุ๋ คอก ราคาแพง - อาหารราคาแพง 4.3 การเลี้ยงปลานิลในกระชงั การแกไ้ ข ปัญหา
นา้ - ภัยธรรมชาติ นา้ ท่วมและน้าแลง้ - ตะกอนดนิ ทีเ่ พิม่ ข้นึ ในหน้าฝนอดุ ตันซ่เี หงือก - ช่วงนา้ หลาก เศษไม้ ขยะต่างๆ สร้างความ -ใช้ไม้ไผย่ าว 1-2 ท่อน วางขวางกนั้ เหนอื กระชงั เพื่อ เสยี หายใหก้ ับกระชัง ป้องกนั เศษไม้ เศษถงุ ขยะต่างๆที่มากับกระแสน้า ไมใ่ หก้ ระทบกบั กระชัง ทา้ ใหก้ ระชังเสยี หาย - ลดปรมิ าณปลาให้น้อยลง เพือ่ ป้องกนั การสูญเสีย หรอื ทยอยจับจ้าหน่ายกอ่ นถึงฤดูน้าหลาก และวางแผน การเล้ยี งใหเ้ หมาะสมกบั ฤดูกาล - ลดปริมาณอาหารใหน้ อ้ ยลง เพราะปลาไม่ค่อยกนิ อาหาร โดยทยอยใหท้ ลี ะนิดและคอยสังเกตการกนิ อาหารของปลาถ้าปลากนิ หมดค่อยเพิ่มอาห ารตาม สมควร ไม่ให้ครง้ั ละมากๆ ทเี ดียว เพราะอาหารจะ เหลอื และตกคา้ งลงในกน้ กระชงั เปน็ สาเหตุทา้ ใหป้ ลา เครยี ด ในการใหอ้ าหารจะใหช้ ว่ งสายๆ ท่ีมีแสงแดด ออกเพราะปลาจะกนิ อาหารได้ดขี นึ้ สภาวะอากาศแปรปรวน - ปลาตายในช่วงเปลี่ยนฤดกู าล ห รือ สภาพ - มกี ารจดั การระหวา่ งทีเ่ ลี้ยงให้ดี เช่น การทา้ ความ อากาศแปรปรวนท้าให้ปลาออ่ นแอ เกิดโรคได้ สะอาดกระชงั ไมท่ ง้ิ ปลาทีต่ ายลงในแม่ น้า ในการวาง ง่าย กระชงั จะตอ้ งเว้นชอ่ งว่างระหว่างกระชังใหน้ ้าถา่ ยเท ไดส้ ะดวกช่วยลดการสะสมของเสยี บริเวณกระชงั เลีย้ ง ปลา - ปลอ่ ยลูกปลาใหน้ ้อยลงและปลอ่ ยลกู ปลาตัวใหญ่ กวา่ เดิมเพือ่ ลดระยะเวลาในการเลยี้ งให้ส้นั ลงลดความ เส่ยี ง โรคปลา - เคล่อื นยา้ ยกระชังจากท่ตี ัง้ เดมิ ออกไป ท้าความ - เห็บระฆงั และโปรโตซัว อิพิสไทลสิ (Epistylis สะอาดกระชังโดยเฉพาะทก่ี ้นั อาหารหลงั จากให้ sp) เกาะบริเวณเหงอื ก ครีบและลา้ ตัว ท้าให้ อาหารแล้วยกผา้ ก้ันอาหารขนึ้ มาตากแดด ในชว่ ง สภาพรา่ งกายออ่ นแอและติดเชอ้ื ได้ง่าย กลางคืนยกผา้ กั้นอาหารขึ้น เพ่อื ให้น้าไหลเวียนได้ สะดวก ลดปรมิ าณอาหารลง ตกั ปลาที่ตายหรือมี อาการหนกั ออกจากกระชัง น้าปลาทต่ี ายแล้วไปฝงั ดนิ และใช้ยาปฏชิ วี นะ powdex – 5000 ขนาด 120-200 มิลลิกรมั /น้าหนักตวั 1 กก ให้ตดิ ต่อกัน 7-10 วันๆละ
เทคนคิ 2 มื้อ และหมัน่ สังเกตสขุ ภาพปลาสม่า้ เสมอ - ปลาแตกไซส์ - หว่านอาหารใหท้ ่วั ถึงท้ังกระชัง และหม่นั สังเกต - ปลาชะโดกัดกระชงั ขาดและกนิ ปลา สขุ ภาพปลา - ซื้อปลาจากแหล่งทม่ี ี FMD เชื่อถอื ได้ และไปรับซอ้ื - นกกนิ ปลาเลก็ ทีอ่ นบุ าล ปลาดว้ ยตวั เอง เพ่อื เข้าไปดแู ละตรวจสอบให้แน่ใจ - ปลาขนาดเลก็ ในธรรมชาติเขา้ ไปแยง่ อาหารปลา - ดว้ ยตนเองวา่ ปลาที่เราซ้ือมีคณุ ภาพจริงๆ ในกระชงั - ซือ้ ปลาจากแหล่งท่เี ชือ่ ถอื ได้มาอนุบาลเอง อนื่ ๆ - ปลอ่ ยปลานิลตัวใหญล่ งในกระชงั ทุกกระชงั กระชัง - ราคาอาหารเพ่ิมข้นึ แต่ราคาสตั วน์ า้ ลดลง ละ 2 ตัว ซ่งึ กส็ ามารถช่วยลดการถกู รบกวนจาก ปลาธรรมชาตไิ ด้ และใชต้ าขา่ ยคลุมกระชังท่ีมีปลา - ลูกพันธุ์ออ่ นแอ ตาย จากการขนสง่ ระยะทางไกล ขนาดเลก็ เพ่อื ป้องกันนก ทมี่ ากดั กินปลาใ นกระชงั - ลกู พันธ์ไุ ม่พอ - จดั ให้มีผู้เฝ้ากระชงั เฝา้ หรอื คลมุ กระชงั ดว้ ยตาข่าย - ลกู ปลาราคาสงู - ปลาลน้ ตลาด - ผลติ อาหารเอง ใชเ้ ปน็ อาหารสมทบเพ่ือเป็นการลด - ปญั หาไมส่ ามารถขน้ึ ทะเบียนเกษตรกรผู้ ตน้ ทนุ การเลี้ยง เพาะเลีย้ งสตั ว์น้าได้ แม้จ ะเริ่มดา้ เนนิ การเพอ่ื ขอ ข้ึนทะเบยี นต้งั แต่ปี 2550 และมีการอนุญาตจาก เจา้ ของพน้ื ท่แี ล้วได้แก่ กรมปา่ ไม้ กรม ชลประทาน และ องค์การบริหารส่วนตา้ บล
5. ภมู ิปัญญาท้องถิ่น ควบคกู่ ับการเพาะเลยี้ งปลานลิ ที่พฒั นามาเปน็ เวลาชา้ นาน คอื การพฒั นาเทคนิค วธิ ีการต่างๆ ที่อาจ กลา่ วไดว้ ่าเปน็ ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ทเี่ กิดขน้ึ ควบคู่กบั การพฒั นาการเพาะเลี้ยงปลานลิ ภูมปิ ญั ญาดังกล่าวอาจเปน็ สิง่ ประดิษฐ์ หรือองคค์ วามรู้ ทเ่ี ป็นการพัฒนาต่อยอดหรอื เป็นการคิดคน้ ขึ้นใหม่ของปราชญ์ จากการรวบรวม องคค์ วามรู้ปราชญ์ปลานลิ 50 คนท่ัวประเทศ พบภมู ปิ ัญญาท่ีเป็นประ โยชน์ สมควรนา้ เสนอให้เป็นทปี่ รากฏ และเผยแพรใ่ ห้กบั เกษตรกรผ้เู พาะเลย้ี งปลานิลได้รบั ทราบ เปน็ ข้อมูลสา้ หรับการปฏิบัตเิ พ่ือแกไ้ ขปัญหาทอ่ี าจ เปน็ ปัญหาในลกั ษณะเดียวกัน ซึ่งจะเปน็ การชว่ ยประหยัดเวลาในการคิดค้นหาวิธี อันเปน็ การช่วยพัฒนาการ เพาะเลย้ี งปลานิลทง้ั ระบบให้รุดหนา้ ไดร้ วดเรว็ ย่งิ ข้ึน สมตามเจตนารมณข์ องการจดั ทา้ โครงการยกระดบั มาตรฐานฟาร์มเพาะเลยี้ งปลานลิ เพ่อื การส่งออก โดยมีการรวบรวมองคค์ วามรู้ปราชญ์เพือ่ เผยแพร่ อยา่ งไรก็ ตามภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ ทน่ี า้ เสนอน้บี างอยา่ งเป็นเรื่องทม่ี ีความเหมาะสมจ้าเพาะกับพ้ืนที่ เช่น การใช้วัตถุ ดิบใน ทอ้ งถ่ินเป็นอาหารสมทบเลี้ยงปลานิล หรอื การใช้สมนุ ไพรต่างๆ ในการป้องกันรกั ษาโรค จงึ เปน็ เร่อื งทีผ่ ู้ที่จะ นา้ องค์ความรู้ ภูมปิ ญั ญาท่เี ผยแพร่นไ้ี ปปรับใชต้ ้องใช้วจิ ารณญาณในการใช้หรือปรับใช้ให้เหมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มของตนเองเปน็ ส้าคญั ภูมปิ ัญญาที่น้าเสนอน้ไี ด้มี การจัดให้เปน็ ภูมิปญั ญาที่เกิดข้ึนตามความ เชี่ยวชาญของปราชญ์ 3 ดา้ นไดแ้ ก่ ดา้ นการเพาะพนั ธุป์ ลานลิ การเลี้ยงปลานลิ ในบอ่ และการเล้ยี งปลานลิ ใน กระชัง ดังต่อไปน้ี 5.1 การเพาะพนั ธ์ุปลานิล 5.1.1 ถงั ผสมอาหารแบบใชม้ ือหมนุ (ปราชญป์ ลานิลจงั หวัดนครสวรรค์) สว่ นประกอบ ใช้ถังพลาสตกิ ขนาดความจปุ ระมาณ 100 ลติ ร มีที่คลุกเคล้าอาหารภายในตวั ถัง ประกอบด้วยแกนเหลก็ 3 แกน แต่ละแกนมีตะแกรงเหลก็ จ้านวน 3 อัน เอยี งท้ามมุ 45 องศา ต้งั อยทู่ างดา้ นลา่ ง ของตวั ถัง ซึง่ การใช้เหลก็ เปน็ ท่คี ลุกเคล้าอาหาร เพราะเหลก็ ไม่คอ่ ยเปน็ สนมิ เน่อื งจากฮอร์โมนแปลง เพศทผ่ี สม กับอาหารที่ให้ลูกปลากินนน้ั มสี ว่ นผสมของเอทิลแอลกอฮอล์ โดยสารตัวน้ีสามารถระเหยไดง้ ่าย ส่วนด้านนอก ของถงั ผสมอาหารบริเวณด้านทา้ ยมีทีส่ วมถงั ซง่ึ ท้าดว้ ยเหลก็ เพอ่ื ใชส้ า้ หรับรองรบั น้าหนักของถัง และมีเหลก็ ย่นื ออกมา 2 ขา้ ง ความยาวประมาณ 15 เซนติเมตร เพอื่ ใ ช้เป็นด้ามจับในขณะเคลื่อนย้าย ส่วนด้านล่างของถัง ผสมอาหารประกอบดว้ ยขาต้งั 4 ขา มลี ้อเล่อื น 2 ขา อย่ดู า้ นหนา้ ของถงั เพื่อใชใ้ นการเคล่ือนยา้ ยการผสมอาหาร จะใชม้ อื หมนุ เพอื่ ผสมอาหารใหเ้ ข้ากัน ราคาเคร่ืองละประมาณ 3,000-4,000 บาท ใช้ผสมอาหารของพ่อแมพ่ นั ธ์ุ ซึ่งเป็ นอาหารเม็ดสา้ เรจ็ รูปท่ี ผสมกับวติ ามิน แรธ่ าตแุ ละฮอร์โมนเรง่ ไข่ และอาหารกบั ฮอรโ์ มนแปลงเพศท่ีใช้กบั ลกู ปลา
เคร่อื งผสมอาหารบรรจอุ าหารได้ครง้ั ละประมาณ 40 กโิ ลกรัม ผสมนานประมาณ 5 นาที หลังจากน้นั ผึ่งลมให้แห้งแล้วจึงน้าไปให้ปลากิน อายกุ ารใชง้ านของถังผสมอาหาร โดยเฉล่ี ยใชไ้ ด้ประมาณ 10 ปี ประโยชน์ คือ ชว่ ยในการคลกุ เคล้าอาหารกับฮอร์โมนให้สามารถผสมกนั ไดอ้ ยา่ งทัว่ ถึง ถงั ผสมอาหารแบบใชม้ อื (ดา้ นขา้ ง) ถงั ผสมอาหารแบบใชม้ อื (ด้านหลงั ) ถงั ผสมอาหารแบบใช้มอื (ดา้ นใน) 5.1.2 กะละมงั ใหอ้ าหารลูกปลา (ปราชญป์ ลานิลจงั หวัดกาฬสนิ ธุ์)
กะละมงั ใหอ้ าหารลูกปลานลิ และการจัดวาง การใหอ้ าหารปลานิลวัยออ่ น โดยการใช้ กะละมังเจาะเปน็ ช่องสเี่ หลีย่ มผืนผ้า ทง้ั 4 ด้าน ให้จมนา้ ประมาณ 30 เซนติเมตร จากนน้ั ปกั หลกั ดว้ ยไมใ้ ชเ้ ชอื กผูก เพื่อป้องกนั การลอยออกจากขอบบอ่ วางริมขอบบอ่ ประมาณ 5-10 จุด แล้วใส่อาหารลงไป สงั เกตการกนิ อาหารภายใน 20-30 นาที หากปลากนิ หมดแสดงว่าอาหาร ไมเ่ พยี งพอ ท้าการเพ่มิ ปริมาณการให้อกี เล็กน้อย ถา้ อาหารคงเหลือให้ลดปรมิ าณอาหาร ประโยชน์ คอื ชว่ ยลดการสูญเสียอาหาร และยงั ลดการตกคา้ งของสารอนิ ทรียท์ กี่ น้ บ่อ 5.1.3 การผลิตอาหารเสรมิ สาหรับการเลย้ี งพอ่ แมพ่ นั ธป์ุ ลานิล การผลติ อาหารเสริมสาหรับเลย้ี งพ่อแมพ่ ันธ์ุปลานิล (ปราชญป์ ลานลิ จงั หวดั นครราชสีมา) ใชไ้ ข่ปลานลิ ทเี่ สียนา้ มาหมักกับน้าตาลทรายแดงและน้า ในอัตราสว่ น 1:1:1 หมักในแกลลอน ขนาด 12 ลิตร เป็นระยะเวลา 3 เดือนขึน้ ไป จะได้ของเหลวมีลักษณะคลา้ ยน้าสารอนิ ทรีย์ มกี ล่ินเหมน็ สีด้าอมน้าตาล วธิ ีการใชโ้ ดยนา้ ไปผสมกับอาหารในอัตราส่วน นา้ อนิ ทรยี ์ 1 ชอ้ นโต๊ะตอ่ อาหาร 5 กิโลกรัม คลุกเคล้าใหเ้ ขา้ กันแล้วน้าไปใหพ้ ่อแม่พนั ธป์ุ ลานลิ วนั ละ 2 ครง้ั (เชา้ -เยน็ ) ทกุ วนั ประโยชน์ คือ นา้ สารอนิ ทรยี จ์ ะกระต้นุ ใหแ้ ม่ปลานิลมีความสมบรู ณ์ และออกไขเ่ ร็วข้ึน การทานา้ หมกั มะขามปอ้ ม และมะขามเปยี กในการผสมอาหาร (ปราชญป์ ลานิลจงั หวดั เชยี งราย) น้าหมักมะขามป้อม มะขามปอ้ มเป็นผลไมท้ ่ีมีวติ ามินซสี งู หาง่ายในทอ้ งถน่ิ และยงั มีราคาถูก เมอ่ื นา้ มาหมกั แล้วน้าไปผสม อาหารใหพ้ ่อแมพ่ ันธ์กุ นิ จะทา้ ให้พอ่ แมพ่ ันธ์แุ ข็งแรงมีภูมิตา้ นทานโรค มีปรมิ าณไขม่ าก จากการสงั เกตของ ปราชญ์ ปลานลิ ดา้ มีปริมาณไข่ประมาณ 2,300 ฟองตอ่ แมต่ อ่ รอบ ประโยชน์ คือ ไขป่ ลาจะไมเ่ สียมาก ลกู ทไี่ ด้มอี ตั ราการรอดสงู และแขง็ แรง นอกจากนี้ในมะขามป้อม ยงั มีสารแทนนนิ มผี ลในการยับยง้ั การเจรญิ เติบโตของแบคทีเรียอีกด้วย ข้นั ตอนการหมกั
1. น้ามะขามปอ้ มจา้ นวน 10 กิโลกรัม มาล้างให้สะอาด แล้วใส่ลง ในถังหมัก 2. เติมนา้ เปล่า 12 ลิตร 3. ใสน่ ้าตาลทรายแดง 2 กิโลกรัม 4. คนจนนา้ ตาลละลายหมด ปิดฝาหมกั ทงิ้ ไว้ประมาณ 3-6 เดอื น จงึ น้ามาใชไ้ ด้ วิธีการใช้ 1. น้าน้าหมกั ทไี่ ดป้ ริมาณ 10 มลิ ลลิ ติ รต่อน้า 1 ลติ ร คนให้เข้ากัน 2. น้าไปคลกุ เคลา้ กบั อาหาร 10 กโิ ลกรมั ผ่งึ ลมให้แห้งแล้วผสมใหป้ ลากนิ ทุกมื้อ น้าหมกั มะขามป้อม ถังน้าหมกั มะขามปอ้ ม นา้ หมักมะขามเปยี ก มะขามเป็นผลไมท้ ีม่ วี ิตามินซีสงู มีสรรพคุณเป็นยาระบาย เมื่อนา้ มาผสมให้ปลากินจะทา้ ใหป้ ลามี ระบบขัยถ่ายที่ดี เจริญอาหาร มีสขุ ภาพแข็งแรง ข้ันตอนและวธิ ีการใช้ 1. นา้ มะขามสุกท่ีแกะเอาเปลือก และเมลด็ ออกแล้ว (มะขามเปยี ก) จ้านวน 200 กรัม นา้ มาขย้ากบั นา้ เปล่า 1 ลิตร 2. เม่ือไดน้ ้ามะขามเปียกแล้วน้าไปผสมกับอาหาร 10 กโิ ลกรมั น้าไปผึ่งลมให้แหง้ แล้ว จึงนา้ ไปให้ปลากนิ ประโยชน์ คือ จะทา้ ใหป้ ลากินจะทา้ ให้ปลามรี ะบบขัยถา่ ยที่ ดี เจรญิ อาหาร มสี ุขภาพแขง็ แรง หมายเหตุ : อาจใช้ทั้ง 2 ชนดิ ผสมกนั ในอตั ราเดมิ ในน้า 1 ลิตร ผสมอาหาร 10 กิโลกรมั 5.1.4 การเพ่มิ อุณหภูมนิ า้ ในระบบฟักไข่ โดยเครอื่ งตม้ นา้ ทใี่ ช้นา้ มนั เครือ่ งท่ีใชแ้ ล้ว (ปราชญ์ปลานิลจงั หวดั เชียงราย)
การฟกั ไข่ในชว่ งฤดูหนาวของภาคเหนือ จะมีอณุ หภมู อิ ยใู่ นชว่ งระหวา่ ง 10-22 องศาเซลเซยี ส ซึง่ มี ผลต่อการฟักไขข่ องปลานลิ ทา้ ให้มอี ตั ราฟกั ตา้่ ดังน้ันทางปราชญป์ ลานิลจงึ หาวิธีการท้าให้ไขป่ ลานิลมอี ัตราฟกั มากขึ้น โดยควบคมุ อุณหภมู ิ โรงเพาะฟกั มีการปิดอยา่ งมดิ ชิดเพอ่ื ปอ้ งกันลม และรกั ษาอณุ หภมู ขิ องห้องให้ อยู่ท่ี 30 องศาเซลเซียส และนา้ นา้ ในระบบฟกั ทผ่ี า่ นการกรองแล้วมาเข้าเคร่ืองต้มน้าทีใ่ ชน้ า้ มันเครอื่ งเป็นเชื้อเพลิง โดยมหี ลกั การท้างาน คอื ใหน้ ้ามันเครือ่ งหยดลงในเตาทม่ี ีกาบมะพร้าวเป็นตัวเผาไหม้ ทีละหยดแลว้ ใชเ้ คร่อื ง เป่าลมเป่าเข้าไปในเตาเผา เมื่อมีลมมากจะทา้ ให้ นา้ มนั เคร่ืองตดิ ไฟได้ง่ายและให้ความร้อนสูง ลมร้อนท่ีไดจ้ าก การเผาไหม้จะไปผา่ นท่อเหล็กทข่ี ดเปน็ รปู ตวั s และมนี ้าจากระบบฟักไหลเวียนอยภู่ ายใน ท้าให้อณุ หภมู ขิ องน้า สงู ขน้ึ และสง่ ผา่ นนา้ ทไ่ี ดเ้ ขา้ บ่อพักน้าของระบบฟักตอ่ ไป ซ่ึงอณุ หภูมขิ องนา้ ทีไ่ ดจ้ ะให้อย่ทู ี่ 27-28 องศา เซลเซยี ส ประโยชนข์ องเครือ่ งตม้ น้า คอื ชว่ ยเพม่ิ อุณหภมู ิน้าใหร้ ะบบฟกั ไข่ สามารถท้าให้อัตราการฟักไข่ของ ลูกปลานิลเพ่ิมขนึ้ ในชว่ งฤดหู นาว เครอ่ื งตม้ น้าใช้ในการฟักไขช่ ว่ งฤดหู นาว
5.1.5 การลดอุณหภมู ิ โดยสแลนพรางแสง (ปราชญป์ ลานิลจงั หวัดเชียงใหม่ และพิษณุโลก) การใชส้ แลนสีดา้ คลมุ บ่อ (จ.เชยี งใหม่) การใช้สแลนสดี ้าคลุมบ่อ (จ.พิษณุโลก) 5.1.6 ดา้ นการใชจ้ ุลินทรยี ์ และฮอร์โมน จลุ นิ ทรียห์ น่อกลว้ ย (สูตรหวั เช้ือ) (ปราชญ์ปลานลิ จังหวดั อยุธยา) ส่วนผสม 1. หนอ่ กล้วยใบธง สูงประมาณ 1 เมตร ท้งั เหงา้ ตน้ (ใช้ท้งั ใบและดินทตี่ ดิ มาดว้ ย) จา้ นวน 10 กิโลกรมั 2. กากน้าตาล (หรือน้าตาลทรายแดงฯลฯ) จ้านวน 10 กโิ ลกรมั วธิ กี ารเตรยี ม - นา้ หน่อกล้วยมาหัน่ สบั ต้า จากนัน้ นา้ ไปใสใ่ นถงั หมักแลว้ คลุกเคล้าให้เข้ากันด้วย กากน้าตาลโดยไมต่ ้องใส่น้า - หมกั ไว้เปน็ เวลา 1 เดือน หมน่ั คนทุกอาทิตย์ เม่ือครบ 1 เดอื น จงึ คน้ั น้าท่ีไดจ้ ากการหมักหน่อ กลว้ ยออกมาใส่ถังหรือขวด แลว้ ปิดฝาใหส้ นิท วิธีใช้จุลนิ ทรยี ห์ นอ่ กลว้ ย (สตู รหวั เชื้อ) - จุลนิ ทรีย์ 1 ลติ ร + น้า 100 ลติ ร ฉีดพน่ ใหท้ ว่ั บอ่ หลังจากสูบนา้ ออกจากบ่อจนแห้ง ประโยชน์ - ใชป้ รับปรงุ ดินบ้ารุงดิน ปรับสภาพน้า ป้องกัน และกา้ จดั ศตั รพู ืช เร่งการเจรญิ เตบิ โตของพชื - ใช้ก้าจัดกลิ่นเหม็นในคอกสตั ว์ ยอ่ ยสลายอนิ ทรยี ว์ ตั ถุ และฟางในนาขา้ ว โดยไม่เกิดก๊า ซ มีเทน ฮอร์โมนผลไม้ (ปราชญป์ ลานลิ จงั หวดั อยธุ ยา) ส่วนผสม กล้วยน้าวา้ สุก ฟกั ทองแก่จดั มะละกอสกุ สับปะรด อยา่ งละ 1 กโิ ลกรัม นา้ หมักพชื 10 มลิ ลิลติ รกากน้าตาล 10 มิลลิลติ ร และน้าสะอาด 9 ลติ ร
วิธกี ารเตรยี มสับกลว้ ย ฟักทอง มะละกอ และสบั ปะรด ให้ละเอยี ด (สว่ นแรก) น้าน้าหมกั พืช กากน้าตาล และน้าสะอา ดให้เขา้ กนั (ส่วนท่ีสอง) จากนนั้ น้าส่วนผสมทง้ั สองสว่ นมาคลกุ เคล้า ให้เขา้ กันแลว้ บรรจลุ งในถังหมกั โดยหมักไว้ในถังพลาสติกปิดฝานาน 15-20 วัน ประโยชน์ น้าสว่ นที่เปน็ นา้ จากการหมัก (ในถงั พลาสติก) ผสมกบั อาหารในอตั ราส่วน 10 มลิ ลลิ ิตร ตอ่ อาหาร 2 กโิ ลกรัม จะช่วยให้ลูกปลามีระบบการยอ่ ยอาหารดีขึน้ และเรง่ เจรญิ เตบิ โตใหด้ ขี ึน้ ดี 5.2 การเลย้ี งปลานิลในบอ่ 5.2.1 เครือ่ งผลิตอาหารเม็ดสาเรจ็ รูป (ปราชญ์ปลานลิ จงั หวดั สโุ ขทัย) เคร่อื งผลิตอาหารเมด็ ส้าเร็จรูปทป่ี ราชญจ์ งั หวดั สโุ ขทัยผลิต หลักการ เปน็ ระบบเอก็ ซ์ทรเู ดอร์ ซึ่งเป็นร ะบบสว่ นบน เป็นสว่ นของการผสมอาหารและน้า ระบบ สว่ นกลาง เปน็ ทส่ี ่งปล่อยอาหาร ภายในเปน็ เกลียว ชว่ ยใหอ้ าหารผสมผสานกัน อาหารท่ีผ่านความร้อนจะท้าให้ อาหารนัน้ สกุ และเมื่ออาหารถกู ดันออกมาจะผ่านกระบวนการดดู ความชืน้ ออกไป อาหารที่ได้นั้นจะแหง้ และ สามารถลอยน้าได้ เครือ่ งอัดเม็ดอาหารใชม้ อเตอรข์ นาด 40 แรง กา้ ลงั การผลติ 300-500 กิโลกรมั ตอ่ ชั่วโมง สามารถอัด อาหารสา้ เร็จรูปในรปู แบบเสน้ และรูปแบบเมด็ สา้ เรจ็ รปู ชนดิ ลอยน้าได้
Search