ค่มู ือการขึ้นทะเบยี น/ปรบั ปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 ศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร กรมส่งเสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมษายน 2561
สารบัญ นิยามศัพท์ หนา้ บทท่ี 1 บทนํา บทที่ 2 หลกั เกณฑแ์ ละเง่ือนไขการข้ึนทะเบียน/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร 1 บทท่ี 3 ขัน้ ตอนและวธิ ีการปฏิบตั ิงาน 11 บทที่ 4 การกรอกข้อมูลในแบบคาํ ร้อง 13 บทที่ 5 สมุดทะเบยี นเกษตรกรและรายงานจากระบบฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร 18 ภาคผนวก 21 29 31
คูม่ ือการขึน้ ทะเบียน/ปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 นิยามศพั ท์การข้ึนทะเบยี นเกษตรกร นิยามศัพทท์ วั่ ไป อ้างอิงจากระเบียบคณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ว่าด้วยการข้ึนทะเบียน เกษตรกร พ.ศ. 2560 ข้อ 6 ใหน้ ายทะเบียนกาํ หนดการขน้ึ ทะเบยี นเกษตรกรเปน็ รายสนิ คา้ หรือรายครัวเรือน ได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขึ้นทะเบียนเกษตรกรให้เป็นไปตามท่ี หน่วยงานรบั ขึน้ ทะเบียนกําหนด กรมส่งเสริมการเกษตรในฐานะหน่วยงานรับขึ้นทะเบียน จึงขอกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข ในการขน้ึ ทะเบียน ดงั น้ี 1. เกษตรกร หมายถงึ บคุ คลธรรมดาท่ปี ระกอบการเกษตร หรือนิตบิ ุคคลทม่ี ีวัตถปุ ระสงค์ในการประกอบ การเกษตร และไดข้ นึ้ ทะเบยี นเกษตรกรไวก้ บั หนว่ ยงานท่ขี นึ้ ทะเบยี นตามระเบยี บฯ 2. ครวั เรือน หมายถงึ บุคคลเดยี ว หรอื หลายคนทอ่ี าศยั อยใู่ นบา้ นหรอื สถานทีอ่ ยเู่ ดยี วกนั และจดั หาหรือใช้สงิ่ อุปโภคบรโิ ภคอนั จําเป็นแก่การครองชีพรว่ มกัน ในฐานทะเบียนเกษตรกรของกรมส่งเสริมการเกษตร เมื่อถูกนําไปใช้เพื่อให้ความช่วยเหลือ ตามมาตรการภาครฐั ตา่ งๆ ตัง้ แต่เดอื นตุลาคม 2556 เปน็ ตน้ มา กาํ หนดให้ 1 ทะเบยี นบ้าน เทา่ กบั 1 ครัวเรอื น 3. ครัวเรอื นเกษตร หมายถึง บคุ คลในครวั เรือนคนใดคนหนงึ่ หรือหลายคนท่ปี ระกอบการเกษตร 4. ประกอบการเกษตร หมายถึง การปลูกพืช การเล้ียงปศุสัตว์ การเลี้ยงสัตว์น้ํา การทํานาเกลือสมุทร การปลูกหม่อน การเลี้ยงไหม การเพาะเล้ียงแมลงเศรษฐกิจ และเกษตรอื่นๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการบริโภค หรือจาํ หนา่ ยหรือใช้งานในฟารม์ อยา่ งใดอย่างหนง่ึ หรอื หลายอย่างรวมกนั ดังต่อไปน้ี 1) การทํานาหรือทําไร่ อย่างใดอยา่ งหนึ่งหรือ รวมกัน บนเน้อื ทต่ี ้งั แต่หนง่ึ ไร่ขนึ้ ไป 2) การปลูกผัก หรือการปลกู ไม้ดอกไม้ประดับ หรือ การเพาะเหด็ หรอื การปลกู พืชอาหารสัตว์ อยา่ งใดอย่างหน่ึง หรอื รวมกนั บนเนื้อทตี่ ัง้ แตห่ นงึ่ งานข้นึ ไป 3) การปลูกไมผ้ ลไมย้ นื ตน้ หรอื การปลกู สวนป่า หรอื ปลกู ปา่ เศรษฐกิจแบบสวนเฉพาะอย่างใดอยา่ งหนง่ึ หรือรวมกนั บนเนือ้ ทีต่ งั้ แต่หนง่ึ ไร่และมจี าํ นวนต้นต้ังแต่สิบหา้ ตน้ ขึน้ ไป 4) การปลูกไม้ผล หรือไมย้ นื ตน้ แบบสวนผสม อยา่ งใดอย่างหนึง่ หรือรวมกนั บนเน้อื ทีต่ ้งั แต่หนึง่ ไร่ และมจี ํานวนตน้ ตั้งแตส่ บิ หา้ ต้นข้ึนไป 5) การเลย้ี งแมโ่ คนม ตั้งแตห่ นึง่ ตัวข้นึ ไป 6) การเลีย้ งโค หรือกระบอื อย่างใดอยา่ งหน่งึ หรือรวมกนั ต้ังแตส่ องตวั ขนึ้ ไป 7) การเลี้ยงสุกร แพะ หรือแกะ อย่างใดอยา่ งหน่ึงหรือรวมกนั ต้งั แต่หา้ ตวั ขน้ึ ไป 8) การเลีย้ งสตั วป์ ีก ตั้งแต่หา้ สิบตัวข้ึนไป 9) การเล้ยี งสัตว์น้าํ หรือการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า อย่างใดอย่างหนงึ่ หรอื รวมกนั 10) การทํานาเกลือสมุทร บนเนอ้ื ที่ตงั้ แต่หนง่ึ ไรข่ นึ้ ไป 11) การปลกู หมอ่ น การเลี้ยงไหม อย่างใดอย่างหน่ึงหรอื รวมกนั 12) การเพาะเล้ยี งแมลงเศรษฐกิจและเกษตรอนื่ ๆ หมายความวา่ การเล้ยี งผง้ึ พันธุ์ ผึ้งโพรง ชันโรง ครั่ง จงิ้ หรีด ด้วงสาคู ไสเ้ ดือนดิน ชวี ภัณฑ์ และอน่ื ๆ ที่มลี ักษณะเดียวกัน 13) ประกอบการเกษตร อยา่ งใดอย่างหนง่ึ หรอื หลายอย่างรวมกัน นอกเหนอื จากหลกั เกณฑ์ ทกี่ ําหนดตาม 1) ถึง 12) และมรี ายไดต้ ั้งแต่แปดพันบาทตอ่ ปีขึน้ ไป หน้า 1
คมู่ อื การข้ึนทะเบยี น/ปรบั ปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 5. นิตบิ ุคคล หมายถึง นติ บิ คุ คลท่มี ีวัตถุประสงค์ในการประกอบการเกษตรและไดข้ ้นึ ทะเบียนไว้แล้ว ตามระเบยี บคณะกรรมการนโยบายฯ 6. ผ้ขู อข้ึนทะเบยี น หมายถึง (1) บุคคลธรรมดา ซง่ึ ประกอบการเกษตรและเปน็ ผู้ขอขึน้ ทะเบียนเกษตรกร ในนามครัวเรือน (2) บุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากผู้มีอํานาจของนิติบุคคลให้เป็นผู้ขอข้ึนทะเบียนเกษตรกร ในนามนิตบิ คุ คล ครวั เรอื นเกษตรกรหรือนติ ิบุคคลหนึง่ ใหม้ ผี ขู้ อขึน้ ทะเบยี นเกษตรกรไดห้ นง่ึ คนเท่านั้น 7. หน่วยงานรบั ขนึ้ ทะเบียน หมายถงึ สว่ นราชการและรฐั วิสาหกิจในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจากนายทะเบยี นใหด้ าํ เนินการข้ึนทะเบยี นเกษตรกรตามระเบยี บฯ 8. ผรู้ บั ข้ึนทะเบยี น หมายถึง เจา้ หน้าท่ขี องสว่ นราชการหรอื รฐั วิสาหกจิ ในสงั กัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากนายทะเบียนหรือผู้ช่วยนายทะเบียนแล้วแต่กรณี ให้ทําหน้าท่ีรับขึ้น ทะเบยี นเกษตรกรตามระเบยี บฯ 9. แบบคํารอ้ ง หมายถึง เอกสารท่ีนายทะเบยี นกาํ หนดขึน้ สําหรบั ใช้บันทึกขอ้ มูลเกษตรกรเพอ่ื เป็น หลักฐานการข้นึ ทะเบียนเกษตรกร ตามระเบียบฯ (ระเบียบคณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ว่าด้วยการข้ึนทะเบียน เกษตรกร พ.ศ. 2560 ฉบบั เตม็ รายละเอียดในภาคผนวก) นิยามศัพท์ในแบบ ทบก. 1. หัวหนา้ ครวั เรอื น หมายถึง เกษตรกรท่ไี ด้รับมอบหมายจากครวั เรอื นเกษตรกรให้เป็นผแู้ จ้งขอ้ มูล ขึน้ ทะเบยี น/ปรบั ปรุงทะเบยี นเกษตรกร โดยไมจ่ าํ เป็นตอ้ งเปน็ หัวหนา้ ครัวเรือนตามทะเบียนบ้าน 2. อาชีพหลัก หมายถึง อาชพี ที่ใช้เวลาส่วนใหญ่ ในการประกอบกจิ กรรมน้ันๆ กรณที ่ี ผูข้ อข้ึนทะเบียนเปน็ ผทู้ ม่ี ีเงินเดือนประจาํ ให้ถือวา่ อาชพี หลักคอื รบั เงินเดือนประจาํ 3. อาชีพรอง หมายถงึ อาชพี ที่ใช้เวลาประกอบกิจกรรมรองจากอาชพี หลกั อย่างไรกต็ าม มีความเป็นไปได้ว่าบคุ คลอาจมีอาชีพหลัก ไม่มอี าชีพรอง 4. รบั เงนิ เดือนประจาํ หมายถึง อาชพี ของบคุ คลที่เปน็ ขา้ ราชการ ลกู จ้าง พนกั งานรัฐวสิ าหกจิ ขา้ ราชการการเมอื ง เจา้ หน้าทข่ี องรัฐ พนักงานบริษทั ลกู จ้างที่รับเงนิ เปน็ รายเดอื น 5. รับจ้างทางการเกษตร หมายถงึ การรับจา้ งดาํ เนนิ กจิ กรรมทเี่ กี่ยวข้องอย่กู ับกระบวนการ ผลิตสินค้าเกษตร เช่น ไถ พรวน ปลูก ดายหญ้า สูบน้ํา ใส่ปุ๋ย เก็บเก่ียว โดยได้รับค่าตอบแทนท้ังที่เป็นเงินสด หรอื ไมเ่ ป็นเงนิ สด 6. ประกอบธุรกจิ การคา้ หมายถงึ การดาํ เนนิ กิจกรรมคา้ ขายภายใต้การบรหิ ารจดั การและ มีรายรบั รายจา่ ยของตนเอง 7. รับจ้างทั่วไป หมายถงึ การรับจา้ งดําเนินกจิ กรรมท่ีไมเ่ ก่ียวขอ้ งกบั กระบวนการผลติ สินค้าเกษตร เชน่ รับจา้ งกอ่ สร้าง รับจา้ งขนสง่ เป็นตน้ 8. สมาชิกในครวั เรอื น หมายถึง ผู้อยู่อาศัย กินและใชเ้ ครือ่ งอุปโภคบรโิ ภคร่วมกนั โดยอาศยั อยู่ในครวั เรือน ต้ังแต่ 6 เดอื น ขึน้ ไป 9. รายได้/หน้สี ิน ทง้ั ในภาคการเกษตรและนอกภาคการเกษตร ในปีท่ีผา่ นมา (พฤษภาคม 2560 ถึง เมษายน 2561) หนา้ 2
คูม่ อื การขึน้ ทะเบียน/ปรับปรงุ ทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 9.1 รายได้ หมายถงึ รายไดจ้ ากผลผลิตทางการเกษตรและรายไดจ้ ากแหล่งอื่นๆ ทไ่ี ดร้ บั ในปที ่ผี ่านมา (ทัง้ ทีเ่ ป็นตวั เงนิ และไมเ่ ปน็ ตวั เงิน) 1) รายได้ในภาคเกษตร หมายถึง รายได้จากการประกอบกจิ กรรมการเกษตร ท้ังพชื ประมง ปศุสตั ว์ และนาเกลือสมุทร 2) รายไดน้ อกภาคเกษตร หมายถึง รายไดท้ มี่ าจากแหลง่ อ่ืนทไี่ ม่ใช่กจิ กรรมการเกษตร 9.2 หนสี้ นิ หมายถงึ หนีท้ ่ีกยู้ ืมจากแหล่งเงินทุนต่างๆ ทงั้ ทีเ่ ปน็ สถาบันการเงนิ บคุ คล และสถาบันตา่ งๆ ทไ่ี ม่ใชธ่ นาคารหรอื สถาบนั การเงนิ ท่ีถูกตอ้ งตามกฎหมาย เช่น นายทนุ พ่อค้า ในปที ผ่ี ่านมา 1) หน้ีสินในภาคเกษตร หมายถึง การกู้ยืมมาเพอื่ การลงทุนในการประกอบการเกษตร 2) หนี้สนิ นอกภาคเกษตร หมายถึง การกู้ยมื มาเพือ่ เปน็ ประโยชน์นอกเหนือจากการลงทุน ในการประกอบกิจกรรมการเกษตร เชน่ การประกอบอาชีพอ่ืนๆ การบรโิ ภค การศกึ ษา 10. เครอื่ งจกั รกลการเกษตร หมายถึง เครอ่ื งจักรที่ใช้ในงานเกษตร ซึ่งอาจมกี ารใชเ้ พ่ือการอน่ื ด้วยก็ได้ แบ่งเปน็ 9 หมวด อธบิ ายเฉพาะบางรายการ ดงั น้ี 10.1 เครอ่ื งตน้ กาํ ลงั หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้เปน็ ตน้ กําลังขบั เคลือ่ น หรือฉดุ ลากเครอ่ื งมอื ตา่ งๆ เช่น รถแทรกเตอร์ เครอื่ งยนต์เกษตรสูบเดยี ว รถไถเดนิ ตาม เครอื่ งปน่ั ไฟ เปน็ ตน้ 1) เครื่องปน่ั ไฟ (Generator) หมายถึงอุปกรณ์กาํ เนิดไฟฟา้ ตน้ กาํ ลงั เป็นเคร่อื งยนต์ดเี ซลหรือ เครื่องยนต์เบนซนิ 2) เครอ่ื งยนต์เกษตรดีเซล (สูบเดียว) 9-14 แรงม้า หมายถึง เครื่องยนต์ต้นกําลังขนาด 1 สูบ ที่ใช้ นาํ้ มนั ดเี ซล ใชเ้ ป็นตน้ กาํ ลังในการทาํ การเกษตร เช่น รถแทรกเตอร์ รถไถเดนิ ตาม เครอ่ื งสบู นํา้ 3) เคร่อื งยนต์เบนซิน หมายถึง เครื่องยนต์ต้นกําลังขนาด 1 สูบ ท่ีใช้นํ้ามันเบนซิน ใช้เป็นต้นกําลัง ในการทําการเกษตร เชน่ เครื่องสูบนาํ้ เครอ่ื งปน่ั ไฟ 10.2 เครือ่ งมอื เตรยี มดนิ หมายถงึ อุปกรณเ์ ตรียมดนิ เพื่อการเพาะปลูก ชนดิ ติดทา้ ยรถแทรกเตอร์ หรือมีเคร่อื งยนตข์ บั เคลื่อนในตัว 1) ผาลไถ 3-4 จาน หรอื ผาลไถบกุ เบิก หมายถึง อปุ กรณต์ ่อพว่ งทา้ ยรถแทรกเตอร์ ใชไ้ ถเตรยี มดิน ข้นั แรก ผาลไถมีจํานวน 3 หรือ 4 จาน 2) ผาลพรวน 5-7 จาน หรือ ผาลพวง หมายถึง อุปกรณ์ต่อพ่วงท้ายรถแทรกเตอร์ใช้ไถย่อยดิน ผาลไถมจี าํ นวน 5 จาน 6 จาน หรือ 7 จาน 3) ไถระเบดิ ดนิ ดาน (ริปเปอร)์ หมายถงึ อปุ กรณต์ ่อพ่วงท้ายรถแทรกเตอร์ ใช้ไถทําลายช้ันดินดาน ขาไถระเบิดดินดานที่จํานวน 1 – 5 ขา 4) ไถหัวหมู หมายถงึ อปุ กรณต์ ่อพว่ งท้ายรถแทรกเตอร์ ใชไ้ ถเตรยี มดนิ ขนั้ แรก ผาลไถมจี ํานวน 1 จานขึน้ ไป 5) พรวน 2 แถว หมายถึง อุปกรณต์ อ่ พ่วงท้ายรถแทรกเตอร์ ใช้ไถยอ่ ยดิน จานพรวน มจี าํ นวน 20 จานขนึ้ ไป 6) รถตีดิน (แบบตีนตะขาบ) หมายถึง เคร่ืองต้นกําลังท่ีใช้ขับเคร่ืองมือเตรียมดินแบบโรตาร่ี เคล่อื นทีโ่ ดยล้อแบบตนี ตะขาบ 7) จอบหมุน (โรตาร่ี) ติดท้ายรถแทรกเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่อพ่วงท้ายรถแทรกเตอร์ใช้ไถย่อย ดนิ ทํางานในลกั ษณะการหมุนตีดิน โดยต่อพว่ งจากเพลาอาํ นวยกําลงั ของรถแทรกเตอร์ หน้า 3
คมู่ ือการขนึ้ ทะเบียน/ปรับปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 10.3 เครอื่ งปลูก/เครอื่ งมือหยอด หมายถึง เคร่ืองปลูก หรอื เคร่ืองหยอด ชนิดตดิ ท้ายรถแทรกเตอร์ หรอื มีเคร่ืองยนต์ขับเคล่ือนในตัว 1) เคร่ืองเพาะกล้า หมายถึง เครอื่ งมือที่ทําการผลิตกล้าข้าวใช้กับเครื่องดํานา 2) รถดาํ นาแบบเดินตาม หมายถึง อุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการปลกู กล้าขา้ ว ใช้คนเดนิ ตามเครอื่ งปลูก เครอ่ื งต้นกาํ ลงั เป็นเครอื่ งยนต์สูบเดียว 3) รถดาํ นาแบบนงั่ ขบั อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการปลกู กล้าข้าว เครื่องตน้ กาํ ลงั เปน็ เครือ่ งยนต์สูบเดียว ใชค้ นนง่ั ขบั เครอ่ื งปลูก เครื่องยนต์ต้นกําลังมจี าํ นวน 2-3 สบู 4) เคร่ืองหยอดขา้ ว หมายถงึ อุปกรณ์ใชใ้ นการปลกู ข้าว แบบตดิ ท้ายรถไถเดนิ ตาม หรือติดทา้ ย รถแทรกเตอร์ 5) เครอื่ งพ่น/หว่านข้าว หมายถงึ อปุ กรณใ์ ชใ้ นการปลกู ขา้ วแบบเคร่ืองยนต์สะพายหลัง ทาํ งาน โดยอาศยั แรงลมจากเครอ่ื งยนต์ในการหว่านขา้ ว หรือแบบทใ่ี ช้ตอ่ พ่วงท้ายแทรกเตอร์ 6) เครื่องปลูกมันสําปะหลัง หมายถึง อุปกรณ์ใช้ในการปลูกท่อนพันธุ์มันสําปะหลังต่อพ่วง ทา้ ยรถแทรกเตอร์ 7) เครื่องปลูกออ้ ย หมายถงึ อปุ กรณใ์ ช้ในการปลูกทอ่ นพนั ธอุ์ ้อยตอ่ พ่วงท้ายรถแทรกเตอร์ 8) เครอื่ งปลูกข้าวโพด หมายถงึ อุปกรณใ์ ชใ้ นการปลูกข้าวโพดต่อพ่วงท้ายรถแทรกเตอร์ 10.4 เคร่อื งมือดแู ลรกั ษา หมายถงึ เคร่อื งมอื ดูแลรักษาพืช ประเภทเครื่องพน่ ยา เคร่ืองใสป่ ๋ยุ ฯลฯ ชนิดตดิ ทา้ ยรถแทรกเตอร์ หรอื มีเคร่ืองยนต์ขบั เคล่อื นในตัว 10.5 เคร่อื งมอื เกบ็ เกย่ี ว 1) รถเกี่ยวนวดขา้ ว (คอมไบน์ขา้ ว) ขนาดหน้ากว้างนอ้ ยกว่า 3 เมตร 2) รถเกย่ี วนวดขา้ ว (คอมไบน์ขา้ ว) ขนาดหนา้ กวา้ งตง้ั แต่ 3 เมตรข้นึ ไป 3) รถเกี่ยวนวดข้าวโพด (คอมไบน์ข้าวโพด) 4) เครื่องตดั ออ้ ยเปน็ ลํา หมายถงึ เคร่ืองตัดออ้ ยทไี่ ม่มีระบบตดั เปน็ ทอ่ นสน้ั ๆ ตอ่ พว่ งกบั รถแทรกเตอร์ 5) รถตดั ออ้ ยเป็นท่อน หมายถงึ รถตดั ออ้ ยทม่ี ีระบบตัดเปน็ ทอ่ น 10.6 เคร่อื งสบู นาํ้ 1) เครื่องสูบนํ้าใช้เคร่ืองยนต์ หมายถึง เคร่ืองสบู นาํ้ ท่ใี ช้ตน้ กาํ ลงั เป็นเคร่อื งยนต์เบนซนิ หรอื เครอ่ื งยนต์ดเี ซล 2) เคร่อื งสูบนาํ้ ใชไ้ ฟฟา้ เครอ่ื งสูบนาํ้ ทใ่ี ช้ต้นกาํ ลังเปน็ มอเตอรไ์ ฟฟา้ 3) เครื่องสูบน้าํ บอ่ บาดาล/บอ่ ตอก เคร่ืองสูบน้ําที่สบู นา้ํ จากนํา้ ใต้ดิน 10.7 รถบรรทกุ การเกษตร ไมร่ วมถงึ รถกระบะ (รถป๊กิ อพั ) 10.8 เครื่องมอื หลังการเก็บเก่ยี ว 10.9 ระบบให้น้ําทางทอ่ 1) สปริงเกลอร์ หมายถงึ ระบบให้นาํ้ แบบฝนโปรย จ่ายนาํ้ เป็นวงกวา้ ง ประมาณ 9 – 24 เมตร 2) มินิสปริงเกลอร์ หมายถงึ ระบบให้นํ้าแบบฝนโปรย จ่ายน้าํ เปน็ วงกว้าง ประมาณ 4 – 8 เมตร 11. แปลง หมายถึง ผนื ทด่ี นิ ที่ประกอบการเกษตรขนาดย่อยสุดที่สามารถจําแนกได้ ในกรณีเอกสารสิทธ์ิ ฉบบั เดยี วแตม่ กี ารแบง่ แยกท่ดี ินประกอบการเกษตรกนั อย่างชดั เจน ใหจ้ าํ แนกเอกสารสทิ ธฉ์ิ บบั น้นั ออกเปน็ คนละแปลง หนา้ 4
คู่มือการข้ึนทะเบียน/ปรบั ปรงุ ทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 12. การถอื ครองทด่ี ิน หมายถงึ สิทธิในการครอบครองหรอื ใชท้ ดี่ ินเพือ่ ทาํ การเกษตร ในลกั ษณะตา่ งๆ ของผ้ถู ือครอง อาจเปน็ เนอื้ ที่ของตนเอง หรือเป็นเน้ือท่ีไม่ใชข่ องตนเอง โดยแบ่งออกเปน็ 3 ลักษณะคอื ของครัวเรอื น เช่า และอ่ืนๆ ตามรายละเอียด ดังนี้ 12.1 ของครวั เรอื น หมายถึง ทีด่ ินทม่ี ีเอกสารสทิ ธิต์ ามกฎหมายหรอื เอกสารแสดงว่าไดเ้ ขา้ ถอื ครอง เช่น โฉนด นส.4 นส.3 สปก.4-01 สค.1 กสน. นส.2(ใบจอง) นส.5(ใบไต่สวน) นค.3 ใบเหยียบย่ํา หรอื สทก. เป็นต้น ทค่ี รอบครองโดยคนในครัวเรอื น 12.2 เช่า หมายถึง ที่ดินที่เช่าจากผู้อื่นโดยจ่ายค่าเช่าเป็นเงินสดหรือผลผลิต ตามแต่จะตกลง หรอื ทําสัญญากับเจ้าของทีด่ นิ 12.3 อน่ื ๆ หมายถงึ ท่ดี ินท่ีผถู้ อื ครองเขา้ ไปทําการเกษตร โดยไมม่ ีกรรมสทิ ธห์ิ รือไมไ่ ดจ้ า่ ยคา่ เชา่ เชน่ ทดี่ ินทบี่ คุ คลอื่นอนญุ าตให้ทําประโยชนไ์ ด้โดยไมต่ อ้ งจ่ายค่าตอบแทน 13. นิยามศัพท์เอกสารสทิ ธ์ิในทีด่ ิน หมายถึง ทดี่ นิ ท่มี ีเอกสารสทิ ธิ์ตามกฎหมายหรอื เอกสารท่แี สดงวา่ ได้เข้าถือครอง เช่น โฉนด นส.4 นส.3/นส.3ก น.ส.3ข สปก.4-01 กสน นค.3 นส.2 (ใบจอง) สค.1. ใบไตส่ วน (นส.5) และ สทก. เป็นต้น โดยความหมายของเอกสารสทิ ธ์ิบางชนิด ดงั น้ี 13.1 น.ส.3 หนังสือรับรองการทําประโยชน์ หรือ มาตรา 1 แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ.2497 ได้ให้ความหมายว่าเป็น หนังสือคํารับรองจากพนักงานเจ้าหน้าที่ว่า ได้ทําประโยชน์ในท่ีดินแล้ว จะต้อง เป็นที่ดินท่ีผู้มีสิทธ์ิในท่ีดินได้ครอบครองและทําประโยชน์แล้ว และเป็นท่ีดินท่ีสามารถออกหนังสือรับรอง การทําประโยชน์ ได้ตามกฎหมาย คือ จะต้องไม่ใช่ที่ดินที่ราษฎรใช้ประโยชน์ร่วมกัน เช่น ทางน้ํา ทางหลวง ทะเลสาบ ท่ีชายตล่ิง ที่เขา ท่ีภูเขา ท่ีเกาะ ในการดําเนินการออกหนังสือรับรองการทําประโยชน์ พนักงาน เจ้าหน้าที่จะออกให้แก่ผู้ครอบครองท่ีดินท่ีได้ทําประโยชน์ในที่ดินครบตามหลักเกณฑ์ท่ีกฎหมายได้กําหนดไว้ การออกหนงั สือรบั รองการทาํ ประโยชน์มคี วามสาํ คัญแก่ราษฎรเป็นอย่างมากเพราะสามารถจะใช้เป็นหลักฐาน ในการแสดงการครอบครองของเจ้าของที่ดิน แต่การออกหนังสือรับรองการทําประโยชน์จะต้องมีการรังวัด ตรวจสอบจาํ นวนเน้อื ทใ่ี ห้แนน่ อนและมกี ารปักหลกั กาํ หนดเขตที่ดิน โดยหนงั สือรบั รองการทาํ ประโยชนม์ ี 3 แบบ ดังนี้ (1) แบบ น.ส.3 ก. ใช้ในการออกหนังสือรับรองการทาํ ประโยชนใ์ นทอ้ งทที่ ่มี ีระวางรปู ถ่ายทางอากาศ (2) แบบ น.ส.3 ข. ใชใ้ นการออกหนงั สือรับรองการทําประโยชนใ์ นทอ้ งทที่ ี่ไมม่ รี ะวางรปู ถา่ ยทางอากาศ (3) แบบ น.ส.3 ใช้ในการออกหนังสือรับรองการทาํ ประโยชน์ในทอ้ งที่อืน่ นอกจากทรี่ ะบไุ วข้ ้างตน้ 13.2 ส.ป.ก.4 คือ หนังสืออนุญาตให้เข้าทําประโยชน์ในเขตปฏิรูปท่ีดินในที่ของรัฐไม่ใช่เอกสาร แสดงกรรมสิทธ์ใิ นที่ดิน จะไมส่ ามารถโอนสทิ ธ์กิ ารทาํ ประโยชน์ในพ้ืนที่ให้แก่บุคคลอ่ืนได้ ยกเว้น คู่สมรส บุตร เท่าน้ัน มีแบบต่างๆ ดังนี้ ส.ป.ก. 4 / ส.ป.ก. 4 - 01 ก /ส.ป.ก. 4 - 01 ข /ส.ป.ก. 4 - 01 ค / ส.ป.ก. 4 - 28 / ส.ป.ก. 4 - 14 / ส.ป.ก. 4 – 18 / ส.ป.ก. 4 - 98 รวมถึง ส.ป.ก./สร 5 ก 13.3 ก.ส.น. เป็นหนังสือแสดงการทําประโยชน์ ซ่ึงออกให้นิคมสหกรณ์ ตาม พ.ร.บ. จัดท่ีดิน เพ่ือการครองชีพ พ.ศ. 2511 การได้สิทธ์ิในท่ีดินของสมาชิกนิคมสหกรณ์ การจัดการที่ดินลักษณะนี้ กฎหมายมุ่งที่จะให้สมาชิกนิคมสหกรณ์ผู้ได้รับการจัดสรรท่ีดินท่ีได้รับกรรมสิทธิ์ท่ีดิน (โฉนดที่ดินหรือตราจอง ท่ีตราว่าไดท้ าํ ประโยชน์แล้ว) หรือสทิ ธ์คิ รอบครอง (น.ส.3) เมื่อสมาชกิ นิคมสหกรณ์นั้น ๆ ปฏบิ ัตติ ามกฎหมายไว้ คือ (1) เมอื่ สมาชกิ นิคมสหกรณไ์ ดท้ ําประโยชน์ทด่ี ินแลว้ (2) เปน็ สมาชกิ นิคมสหกรณม์ าแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ 5 ปี (3) ชําระเงินคา่ ช่วยทุนรัฐบาลเรียบร้อย (4) ชําระหนเ้ี ก่ียวกับกจิ การของนคิ มใหแ้ ก่ทางราชการเรียบร้อยแล้ว หน้า 5
คูม่ ือการขนึ้ ทะเบียน/ปรับปรงุ ทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 สมาชิกนิคมสหกรณ์ท่ีปฏิบัติครบตามหลักเกณฑ์ ท้ัง 4 ข้อ ดังกล่าว กรมส่งเสริมสหกรณ์จะออกหนังสือ แสดงการทําประโยชน์ให้แก่สมาชิกนิคมสหกรณ์น้ัน ๆ เพื่อนําเสนอต่อท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนินการ ท่ตี นเป็นสมาชิกอยู่ เม่ือได้รบั อนุญาตแล้วสมาชิกนิคมสหกรณ์ผู้น้ันก็สามารถนําหลักฐานดังกล่าวไปออกโฉนดท่ีดิน หรือ น.ส. 3 ผู้ได้มาซ่ึงที่ดินจะโอนที่ดินไปให้ผู้อื่นไม่ได้ นอกจากตกทอดทางมรดกหรือโอนไปยังสหกรณ์ที่เป็น สมาชิกอยู่ และภายในกาํ หนดเวลาดงั กลา่ ว ทด่ี ินน้ันไม่อยใู่ นความรับผิดชอบแห่งการบังคบั คดดี ว้ ย 13.4 น.ค. มี 2 แบบ คอื น.ค.1 และ น.ค. 3 (1) น.ค. 1 คือทด่ี ินเขตนิคม การเข้าครอบครองทาํ ประโยชน์ กรรมสิทธเิ์ ป็นของรัฐ (2) น.ค. 3 เป็นเอกสารที่ออกสืบเน่ืองจาก น.ค.1 ซึ่งเป็นหนังสืออนุญาตให้เข้าทําประโยชน์ ในเขตนิคมสร้างตนเอง โดยกรมประชาสงเคราะห์ (ปัจจุบันกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ) จะเป็นผู้ออกให้ กับบุคคล ท่ไี ดร้ ับการคัดเลือกให้เปน็ สมาชกิ นคิ มตามมาตรา 11 แหง่ พระราชบัญญัติจัดท่ีดิน เพื่อการครองชีพ พ.ศ. ๒๕๑๑ ต่อมาเมื่อสมาชิกของนิคมได้เข้าทําประโยชน์ในทีด่ ินทีไ่ ดร้ ับอนุญาตเกินกว่า 5 ปี ได้ชําระเงินช่วยทุนท่ีรัฐบาลได้ลงไปแล้ว และชําระหน้ีสินเก่ียวกับกิจการนิคมให้ทางราชการแล้ว ก็จะได้รับหนังสือแสดงการทําประโยชน์ (น.ค.3) เป็นหลักฐาน สมาชิกนิคมสร้างตนเองท่ีได้รับ หนังสือแสดงการทําประโยชน์ (น.ค.3) แล้ว มาตรา 11 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติจัดท่ีดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ. 2511 บัญญัติให้สามารถนําหลักฐานดังกล่าวขอโฉนดท่ีดิน ตามประมวลกฎหมายท่ีดินได้ ถ้าเป็นการขอออกโฉนดที่ดินเฉพาะรายตามมาตรา 59 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน จะต้องยน่ื คาํ ขอต่อพนกั งานเจา้ หน้าทที่ ่ีสาํ นกั งานทดี่ ินจงั หวัด สํานกั งานทด่ี ินจงั หวดั สาขา หรือสํานักงานท่ีดินส่วนแยก ที่ที่ดินน้ันตั้งอยู่ในเขตอํานาจถ้าเป็นการออกโฉนดท่ีดินโดยการเดินสํารวจออกโฉนดที่ดินตามมาตรา 58 ทวิ วรรคสอง (1) แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้เข้าไปดําเนินการเดินสํารวจรังวัด ออกโฉนดท่ีดินในเขตนิคมสร้างตนเอง และได้เข้าไปทําการสํารวจรังวัดถึงท่ีดินของผู้ใด หากผู้น้ันมีหลักฐาน น.ค.3 ก็สามารถนํา น.ค.3 เป็นหลักฐานในการเดินสํารวจออกโฉนดท่ีดินได้ โฉนดที่ดินท่ีได้ออกจากหลักฐาน น.ค.3 จะถูกกําหนดห้ามโอน 5 ปี นับแต่วันที่ได้รับโฉนดท่ีดิน เว้นแต่ตกทอดทางมรดก และในกําหนดเวลาห้ามโอนน้ี ทด่ี นิ ไมอ่ ย่ใู นข่ายแหง่ การบงั คบั คดี ทั้งนี้ ตามมาตรา 12 แหง่ พระราชบญั ญัติจัดท่ดี ินเพื่อการครองชพี พ.ศ. 2511 13.5 ส.ท.ก. คือหนังสืออนุญาตให้ทําประโยชน์ได้ถูกต้องตามกฎหมายในท่ีดินป่าสงวนแห่งชาติ เปน็ การช่ัวคราว ได้คราวละ 5 ปี ออกโดยกรมปา่ ไม้ สามารถตกทอดไดท้ างมรดก แบ่งเป็น (1) ส.ท.ก. 1 ก. อนุญาตให้ทาํ ประโยชน์ ไดไ้ ม่เกนิ 20 ไร่ ไม่เสียค่าธรรมเนยี มในคราวแรก (2) ส.ท.ก. 2 ก. คือ ท่ี ส.ท.ก. 1 ก แตเ่ สยี ค่าธรรมเนียม ในคราวตอ่ มา ดังนั้น หาก ส.ท.ก. 1 ก ฉบับใดท่ีมีอายุเกิน 5 ปี ในวันท่ีขึ้นทะเบียนให้สันนิษฐานว่าอาจเปล่ียนแปลง เป็น ส.ท.ก.2 ก ให้เจ้าหน้าท่ีตรวจสอบให้ละเอียด สําหรับ ส.ท.ก.1 ข อนุญาตเพื่อการปลูกป่าหรือ ไมย้ นื ตน้ ทําประโยชน์ ไม่เกิน 35 ไร่ และไมค่ วรมไี ม้ยืนต้นไมน่ อ้ ยกว่า 20 ต้นตอ่ ไร่ 13.6 ส.ค.1 คือใบแจ้งการครอบครองที่ดิน เป็นหลักฐานว่าตนครอบครองที่ดินแปลงใดอยู่ (ปจั จุบันไมม่ กี ารแจ้ง ส.ค. 1 อีกแลว้ ) ส.ค. 1 ไมใ่ ช่หนงั สือแสดงสทิ ธท์ิ ด่ี นิ เพราะไม่ใช่หลักฐานท่ีทางราชการออกให้ เพียงแต่เป็นการแจ้งการครอบครองท่ีดินเท่านั้น ดังน้ัน ส.ค. 1 จึงทําการโอนกันได้เพียงแต่แสดงเจตนา สละการครอบครองเท่านั้น และไมย่ ดึ ถือ พรอ้ มส่งมอบให้ผู้รบั โอนกถ็ ือว่าเป็นการโอนกันโดยชอบแล้ว ผู้มี ส.ค.1 มีสิทธิ์นํามาขอออกโฉนด หรอื น.ส.3 น.ส.3 ก และ น.ส.3 ข ไดต้ ามเงอ่ื นไขของทางราชการ หน้า 6
คูม่ อื การขึน้ ทะเบียน/ปรับปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 14. ไม่มีเอกสารสิทธ์ิ เช่น ภ.บ.ท.5 คือ ใบเสยี ภาษีบาํ รุงท้องที่ เปน็ หลกั ฐานการเสียภาษีที่ดิน ไม่ใช่เอกสารแสดงสทิ ธิ การถือครองท่ดี นิ แต่อย่างใด ออกโดยทีว่ ่าการอําเภอและองคก์ ารบรหิ ารส่วนทอ้ งถนิ่ อนุญาต 3. (อ.3) คือ ใบอนุญาตซึ่งพนักงานเจ้าหน้าท่ีออกให้แก่บุคคลท่ีได้รับอนุญาตให้ทําประมง หรือเพาะเล้ยี งสตั วน์ า้ํ 15. เขตชลประทาน หมายถึง เขตพื้นท่ขี องการพัฒนาทรัพยากรนา้ํ โดยการจัดสรรน้ํา เพ่ือใช้ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม ดังนั้น พื้นที่การเกษตรจึงถูกตีความให้อยู่ในหรือนอกเขตชลประทาน อย่างใดอยา่ งหนึ่งเทา่ นนั้ 15.1 นอกเขตชลประทาน หมายถึง พ้ืนทท่ี ่ีใชใ้ นการเพาะปลกู พชื ท่ีอยูน่ อกเขตชลประทาน 15.2 ในเขตชลประทาน หมายถงึ พนื้ ที่ท่ใี ชใ้ นการเพาะปลกู พืชท่ีอยู่ในเขตที่มกี ารชลประทาน 16. แหลง่ น้ําเพอ่ื การเกษตร หมายถึง แหล่งนํา้ ที่เกษตรกรสามารถนําไปใช้เพือ่ การเพาะปลูกในแต่ละแปลงปลูก ในปีการผลิตท่ีผา่ นมาวา่ เปน็ ของตนเองหรือเป็นของสาธารณะ ซง่ึ แตล่ ะแปลงปลกู สามารถมีแหลง่ นาํ้ มากกว่า 1 แหลง่ 16.1 บ่อนํา้ ตน้ื หมายถึง แหลง่ นาํ้ ผิวดนิ ท่ีสามารถขดุ นํานาํ้ มาใชร้ วมถงึ ลกั ษณะบ่อน้ําท่ีใส่ปลอกซีเมนต์ ไม้ คอนกรตี หรือบ่อดนิ ถาวรทีใ่ ช้เปน็ ประจาํ 16.2 บ่อบาดาล หมายถึง รูหรือปล่องที่เจาะถึงชั้นนํ้าใต้ดิน ท่ีสามารถนําน้ําขึ้นมาใช้มีความลึก จากผวิ ดนิ ไมน่ อ้ ยกว่า 10 เมตร 16.3 สระนํา้ หมายถงึ แหล่งนาํ้ ผวิ ดินทถี่ กู กักเก็บในพน้ื ทล่ี มุ่ สระท่ีขุดเปน็ ทเี่ กบ็ กักนํา้ 16.4 หนองนํ้า/สระ หมายถึง แหล่งน้ําผิวดินที่ถูกกักเก็บในหนอง บึง สระน้ํา คลอง ทะเลสาบ ลาํ ธาร อ่างเกบ็ นา้ํ เปน็ ต้น 16.5 คลองชลประทาน หมายถึง แหล่งน้ําท่ีซึ่งอยู่ในเขตบริการภาคการเกษตรของกรมชลประทาน ซึง่ มีการดาํ เนินการในลกั ษณะของโครงการชลประทานขนาดใหญ่และขนาดกลางเป็นหลกั 16.6 ไม่มีแหล่งน้ําสําหรับเพาะปลูก หมายถึง พนื้ ท่ีทไ่ี มม่ แี หล่งนํา้ ในการเพาะปลูกท้ังทเ่ี ป็นของตนเอง และแหลง่ นํ้าสาธารณะ 17. ระบบพิกัด และโซน 17.1 ระบบพิกัด (Coordinate system) หมายถึง ข้อมูลเชิงพื้นที่ท่ีอยู่ในรูปของสถานท่ีต้ัง หรือคุณลักษณะอ่ืนใดบนพื้นท่ีโลกจะต้องมีพิกัดกํากับไว้เสมอ เพ่ือให้ทราบว่าวัตถุหรือสิ่งของน้ันมีท่ีอยู่ ท่ีแน่นอน และสามารถคํานวณหาความสัมพันธ์เชิงตาํ แหนง่ ในระหว่างกันได้ ระบบพกิ ัดกริด (Universal Transverse Mercator System: UTM) เป็นระบบตารางกรดิ ท่ีใช้ช่วยในการกําหนดตําแหน่งและใช้อ้างอิง ในการบอกตําแหน่งท่ีนิยมใช้กับแผนท่ีในกิจการทหาร ของประเทศต่างๆ เกือบทั่วโลกในปัจจุบัน เพราะเป็นระบบตารางกริดท่ีมีขนาดรูปร่างเท่ากันทุกตาราง และมีวธิ กี ารกาํ หนดบอกค่าพกิ ัดทง่ี ่ายและถูกต้อง โดยเปน็ ชดุ ของตัวเลขอย่างน้อย 2 ค่า ได้แก่ค่า X และค่า Y ทเี่ ปน็ ตัวแทนของตาํ แหน่งสถานทีต่ า่ ง ๆ บนโลก 17.2 โซน ประเทศไทยอยู่ในโซนที่ 47N และ 48N โดยจังหวัดส่วนใหญ่อยู่ในโซน 47N ยกเว้น จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือฝั่งตะวันออก ได้แก่ กาฬสินธุ์ ตราด นครพนม บุรีรัมย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย อํานาจเจริญ อุดรธานี อุบลราชธานี อยู่ในโซน 48N หนา้ 7
คู่มอื การขึน้ ทะเบียน/ปรับปรงุ ทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 18. สวนเดี่ยว หมายถึง การเพาะปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้นรวมถึงพืชกลุ่มอ่ืนๆ ท่ีมีการเพาะปลูกชนิดเดียว ในแปลง/พ้นื ท่ีนัน้ ๆ มอี าณาเขตของสวนเด่นชดั สามารถบอกจํานวนตน้ และเนอื้ ทข่ี องไม้ผล ไมย้ นื ต้นได้ 19. สวนแซม หมายถึง การปลูกพืชตั้งแต่ 2 ชนิดข้ึนไปบนพ้ืนท่ีเดียวกันในเวลาเดียวกัน โดยการปลูก พชื แซมลงในระหวา่ งแถวของพืชหลกั การพจิ ารณาสวนแซม (ไม้ผลไม้ยืนต้นเป็นพืชหลกั ปลูกแซมดว้ ยพชื อายุส้ัน-พชื ลม้ ลุก) 1) พืชแซมที่ต้องการแสงมาก เช่น ข้าว มันสําปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ หญ้าเล้ียงสัตว์ สับปะรด ปลูกแซมได้ไมเ่ กิน 4 ปแี รกของการปลูกพืชหลกั กรณพี ืชแซมที่เป็นพืชเกือ้ กูลกนั จะไมก่ าํ หนดระยะเวลาการแซม 2) การคดิ พนื้ ทปี่ ลูกของพืชแซม - กรณีพืชหลัก ได้แก่ ยาง ปาล์ม ไม้ผล ไม้ยืนต้น แซมด้วยพืชอายุสั้น (เฉพาะพืชแซมที่ต้องการ แสงมาก เช่น ข้าว มันสําปะหลัง ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ หญ้าเลี้ยงสัตว์ สับปะรด) หรือพืชอายุมากกว่า 1 ปี หรือ ไวห้ นอ่ ไว้ตอ สามารถคงพน้ื ที่ 1 - 4 ปี โดยคดิ ทีร่ อ้ ยละ 80 ของพืน้ ที่ปลกู ของพชื หลัก - กรณีพืชหลักเป็นไม้ผล ไม้ยืนต้น ต่างๆ เช่น มังคุด มะพร้าว แซมด้วยพืชที่เกื้อกูลกัน สามารถ ปลกู ไดเ้ ต็มพ้นื ท่ี 20. สวนผสม หมายถึง การเพาะปลูกพืชหลายชนิดปะปนกัน ในพื้นท่ีเดียวกัน มีอาณาเขตของสวนท่ีแน่นอน แต่ระยะปลกู ของพชื แตล่ ะชนิดไม่แน่นอน และอาจมีการเลยี้ งสตั ว์ การเพาะเลยี้ งสตั วน์ ้ําร่วมด้วย การคิดพน้ื ทป่ี ลูกของสวนผสมหากเปน็ ไมผ้ ลไม้ยืนตน้ ให้นบั เป็นจํานวนต้น 21. การเพาะเลย้ี งแมลงเศรษฐกิจ หมายถงึ แมลงทีส่ ามารถนํามาเล้ียงเป็นอาชีพให้กับเกษตรกรและสร้าง มูลค่าทางเศรษฐกิจท้ังระดับชุมชนและระดับประเทศ และไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ ได้แก่ ผึง้ พนั ธุ์ ผึ้งโพรง ชันโรง คร่งั จ้ิงหรีด ดว้ งสาคู ไสเ้ ดอื นดนิ ชวี ภณั ฑ์ และอน่ื ๆ ที่มลี กั ษณะเดยี วกัน 22. ระบบเกษตรกรรมยัง่ ยืน หมายถึง ระบบเกษตรกรรม 5 รูปแบบ คือ 22.1 เกษตรผสมผสาน (Integrated farming) เน้นกิจกรรมการผลิตมากกว่าสองกิจกรรมข้ึนไป ในเวลาเดียวกัน และกิจกรรมเหล่านี้เก้ือกูลซึ่งกันและกัน เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้มากข้ึนจากการ ใช้ประโยชน์ทรพั ยากรทดี่ ินที่มีจาํ กัด ในไร่นาให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด - มีกิจกรรมการเกษตรตั้งแต่ 2 ชนดิ ขึน้ ไป ตอ้ งทําในเวลาและสถานทเี่ ดียวกนั - เกิดการเก้ือกูลกันอย่างต่อเนื่อง ระหว่างกิจกรรม เช่น พืชกับพืช ปลากับปลา สัตว์กับปลา พืชกับสตั ว์ ฯลฯ - กอ่ ใหเ้ กดิ ความม่ันคงด้านรายได้ มรี ายได้สม่าํ เสมอ 22.2 เกษตรอินทรีย์ (Organic farming) เน้นหนักการผลิตท่ีไม่ใช้สารอนินทรีย์เคมี หรือ เคมีสังเคราะห์ แต่สามารถใช้อินทรีย์เคมีได้ เช่น สารสกัดจากสะเดา ตะไคร้หอมหรือสารสกัดชีวภาพ เพอื่ เพ่มิ ความอดุ มสมบรู ณ์แก่ทรพั ยากรดนิ - ไมใ่ ช้สารเคมใี นการผลติ - เพ่มิ พนู ความอดุ มสมบรู ณข์ องดินโดยการใชป้ ยุ๋ หมกั ป๋ยุ คอก และจุลนิ ทรีย์ - ควบคุมการกําจดั ศตั รูพชื โดยชีวภาพ กายภาพ และอนิ ทรีย์เคมี - ไมเ่ ปน็ พืชตัดแต่งพันธุกรรม (GMO) หน้า 8
คู่มือการขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 22.3 เกษตรธรรมชาติ (Natural farming) เน้นหนักการทําเกษตรท่ีไม่รบกวนธรรมชาติ หรือ รบกวนให้น้อยท่ีสุดที่จะทําได้ โดยการไม่ไถพรวน ไม่ใช้สารเคมี ไม่ใช้ปุ๋ยเคมี และไม่กําจัดวัชพืช แต่สามารถ มีการคลุมดนิ และใช้ปุย๋ พชื สดได้ - ระบบเกษตรกรรมทเี่ กอ้ื กูลกบั ระบบธรรมชาติ - ไม่ไถพรวนดิน - การไมใ่ ชป้ ุย๋ เคมีหรือทําปยุ๋ หมกั - ไมก่ ําจัดวัชพืช - ไมใ่ ช้สารเคมีปราบศัตรูพืช - เป็นพ้ืนทที่ ําการเกษตรไมใ่ ช่พนื้ ท่ีรกร้าง 22.4 เกษตรทฤษฎีใหม่ (New theory agriculture) เน้นหนักการจัดการทรัพยากรนํ้าในไร่นา ให้เพียงพอเพ่ือผลิตพืชอาหาร โดยเฉพาะข้าวเอาไว้บริโภคในครัวเรือน รวมทั้งมีการผลิตอื่น ๆ เพื่อบริโภค และจาํ หน่ายสว่ นท่ีเหลือแก่ตลาด เพ่ือสร้างรายไดอ้ ย่างพอเพยี ง - เกษตรกรรายย่อยทีม่ ีทด่ี ินทํากินนอ้ ย - มีแหล่งนํ้าในไร่นา และมีนาํ้ ใชเ้ พียงพอสําหรบั กจิ กรรมการเกษตร - มกี จิ กรรมการผลติ หลายชนดิ โดยแบง่ พ้นื ท่ีเป็น 4 สว่ น 1) ขดุ สระเกบ็ กกั นาํ้ 2) ปลูกขา้ วเพ่อื ใหม้ ีขา้ วในการบริโภค 3) ไม้ผล ไมย้ นื ตน้ 4) สงิ่ ปลูกสรา้ ง เช่น ทีอ่ ยู่อาศยั โรงเรือน ฉาง - ผลผลติ ใชบ้ ริโภคในครัวเรือนเปน็ หลัก 22.5 วนเกษตรหรือไร่นาป่าผสม (Agroforestry) เน้นหนักการมีต้นไม้ใหญ่ และพืชเศรษฐกิจ หลายระดับที่เหมาะสมกับแต่ละพื้นท่ี เพื่อการใช้ประโยชน์ป่าไม้ของพืชหรือสัตว์ชนิดต่าง ๆ ที่เกื้อกูลกัน ท้ังยงั เป็นการเพม่ิ พ้นื ท่ีของทรพั ยากรป่าไม้ทีม่ จี าํ กัดได้อีกทางหนงึ่ - ระบบการเกษตรทที่ าํ ในพนื้ ท่ีป่า (ป่าธรรมชาต/ิ เลยี นแบบปา่ ธรรมชาติ) - กิจกรรมการเกษตรตา่ งๆ ระหวา่ งตน้ ไม้ในพนื้ ท่ีป่า ระหว่างหรือไม้ยนื ตน้ ท่ปี ลกู ขึน้ - มีต้นไม้ใหญ่และพชื หลายระดบั - มีความหลากหลายทางชีวภาพ 23. เกลือสมุทร หมายถึง เกลือทะเลที่ผลิตข้ึนโดยการนํานํ้าทะเลขึ้นมาตากแดดให้นํ้าระเหยไป เหลือแต่ผลึกเกลือตกอยู่ โดยมีช่วงเวลาการทําในช่วงฤดูแล้ง (1 พฤศจิกายน – 30 เมษายนของปีถัดไป) และเกลือสมทุ ร 1 เกวยี น เท่ากับ 1,000 กิโลกรมั (นาํ้ หนักเกลอื ณ แปลงผลติ ) การขึ้นทะเบยี นผ้ทู าํ นาเกลอื สมทุ ร กาํ หนดให้ 23.1 วันทเ่ี พาะปลกู คือ วันทเ่ี รมิ่ ทาํ การผลิต (วันทป่ี ลอ่ ยน้ําเขา้ แปลง) 23.2 วนั ท่ีคาดว่าจะเกบ็ เกย่ี ว คือ วนั ทคี่ าดว่าผลผลิตเกลอื คร้ังแรกจะเกบ็ เกี่ยวได้ 23.3 เนือ้ ทปี่ ลกู คือ พน้ื ทท่ี ํานาเกลือท้งั ผืน 23.4 เนอื้ ทีเ่ กบ็ เกีย่ ว คือ พืน้ ทีท่ าํ นาเกลอื ท้งั ผืน 23.5 รหัสการผลิต คือ 1 ผลติ เกลือเมด็ อย่างเดียว 2 ผลิตเกลอื เมด็ ร่วมกบั การเลยี้ งสัตวน์ ้ํา 23.6 ผลผลติ ทคี่ าดว่าจะได้รับ คือ เกลอื เมด็ ที่ผลิตได้ตลอดฤดูกาลผลติ (รวมทุกรอบการผลติ ตลอดฤดกู าล ประมาณ 5-7 รอบ) หนา้ 9
คู่มอื การข้ึนทะเบยี น/ปรบั ปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 24. พยาน หมายถึง ผนู้ ําชุมชนทเ่ี ปน็ พยานในการแจ้งข้อมลู การประกอบการเกษตรของเกษตรกร ผู้ขอขน้ึ ทะเบยี น 25. ผนู้ าํ ชุมชน หมายถงึ ผชู้ ว่ ยผู้ใหญ่บ้าน ผู้ใหญ่บ้าน กํานัน สมาชกิ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตําบล สมาชิกสภาเทศบาล สมาชิกสภาเกษตรกรระดับหมู่บ้าน/ตําบล คณะกรรมการศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีประจําตาํ บล ทง้ั นี้ บคุ คลดังกล่าวจะตอ้ งอยใู่ นวาระการดํารงตาํ แหน่ง หนา้ 10
คูม่ อื การขึ้นทะเบียน/ปรบั ปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 บทที่ 1 บทนาํ หลักการและเหตผุ ล กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีการรับข้ึนทะเบียนทะเบียนเกษตรกรใน กลุ่มผู้ปลูกพืช ทําไร่นาสวนผสม ทํานาเกลือและเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจ จากเกษตรกรท่ีทําการเกษตรในพื้นที่ ทม่ี ีเอกสารสทิ ธแิ์ ละไม่มเี อกสารสทิ ธ์ิ เพ่อื ต้องการทราบสถานการณ์การเพาะปลูกของเกษตรกร ประมาณการผลผลิต ทจ่ี ะออกสู่ตลาดในชว่ งเวลาตา่ งๆไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง โดยเกษตรกรจะต้องเป็นผู้มาแจ้งขึ้นทะเบียนท่ีสํานักงานเกษตรอําเภอ ตามที่ตั้งแปลงปลูกเมื่อได้เริ่มทําการเกษตรใหม่ และต้องแจ้งปรับปรุงข้อมูลทุกครั้งที่มีการเก็บเกี่ยวแล้ว ทาํ การเพาะปลูกใหม่ไปแล้ว 15 วัน ตั้งแตป่ ี 2557 เปน็ ต้นมากรมส่งเสรมิ การเกษตรได้กําหนดใหเ้ กษตรกรท่ีแจ้งขนึ้ /ปรบั ปรงุ ทะเบียนเกษตรกร ในพ้นื ทไ่ี มม่ ีเอกสารสทิ ธิ์หรอื พน้ื ทแี่ ปลงเชา่ ท่ไี มส่ ามารถนาํ เอกสารสทิ ธ์จิ ากผ้ใู ห้เชา่ มาแสดงได้ ต้องได้รับการตรวจพ้ืนที่ ทําการวัดพิกัดแปลงทุกแปลงด้วยเคร่ือง GPS จากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรผู้รับผิดชอบหรืออาสาสมัคร เกษตรกรท่ีได้รับมอบหมาย แล้วทําการบันทึกข้อมูลลงในระบบ สําหรับการตรวจสอบกับแผนที่ภาพถ่าย ดาวเทยี มได้ในอนาคต อย่างไรก็ตามข้อมูลพกิ ัดทต่ี ้ังแปลงไมไ่ ด้บอกขนาดพ้ืนที่ การที่จะทราบขนาดพื้นที่ต้องมี การเดินรอบแปลงพร้อมกับกดวัดด้วยเครื่อง GPS ซ่ึงการดําเนินการในแต่ละวันจะทําได้ไม่มาก จึงเป็นข้อจํากัด ในการปฏบิ ัติ ในปี 2559 ไดม้ กี ารปรับปรุงวิธีการขึ้นทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรและการตรวจสอบพื้นที่ โดยการให้ อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้านเป็นผู้ช่วยออกไปสอบถามข้อมูลเกษตรกรในหมู่บ้าน ช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน เพื่อเก็บตกข้อมูลท่ีเกษตรกรยังไม่มาแจ้งปรับปรุง พร้อมกับแจ้งข้อมูลข่าวสาร ความรู้ไปพร้อมๆกัน พบว่า สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ครบถ้วนและรวดเร็ว ประกอบกับได้มีความร่วมมือกับ NECTEC ออกแบบนวัตกรรม การขน้ึ ทะเบียนพร้อมกับการตรวจสอบวาดแผนผังแปลงผา่ นเครื่องมือส่ือสารไร้สาย (Tablet) และร่วมมือกับ GISTDA ในการดึงภาพแผนที่ภาพถา่ ยดาวเทียมมาค้นหาพิกัดและวาดผังแปลงโดยโปรแกรม GISagro ซ่ึง การ ใช้โปรแกรมทั้งสองจะช่วยลดขั้นตอนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมการเกษตรเป็นอย่างมากเพราะเป็น การรับขึ้นทะเบียนพร้อมกับการตรวจสอบพื้นท่ีปลูกที่แท้จริงไปพร้อมกันในคราวเดียว ซึ่งหากข้อมูลพื้นที่ และขอบเขตแปลงจัดเก็บไว้ในระบบครบแล้ว การตรวจสอบการเพาะปลูกของเกษตรกรจะทําได้โดยใช้ เทคโนโลยีตรวจจากภาพถ่ายดาวเทียมไม่จําเป็นต้องให้เกษตรกรมาแจ้งทุกครั้ง เป็นการลดขั้นตอนการทํางาน และลดรายจา่ ยในการดาํ เนินการของเจา้ หนา้ ท่ไี ดอ้ ย่างยงั่ ยืน ภายหลังจากท่ีมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและถูกต้องแล้ว กรมส่งเสริมการเกษตรจะเป็น หน่วยงานกลางที่ทําการเช่ือมต่อฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เล้ียงสัตว์ ของกรมปศุสัตว์ และฐานข้อมูลเกษตรกรผู้ เพาะเล้ียงสัตว์นํ้า ของกรมประมง รวมเข้าสู่ทะเบียนครัวเรือนเกษตรกร และจัดพิมพ์ข้อมูลลงในสมุด ทะเบียนเกษตรกร ให้เกษตรกรถือไว้เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองยืนยันตัวตน และทําการเชื่อมต่อกับหน่วยงานภายนอก ตามมาตรการบูรณาการฐานข้อมูลประชาชน ซึ่งมีสํานักทะเบียนราษฎร กระทรวงมหาดไทยเป็นแกนกลาง เชอื่ มต่อฐานข้อมลู ทุกกระทรวงเพ่อื ให้ใชป้ ระโยชน์ร่วมกันได้ หนา้ 11
คู่มอื การขึน้ ทะเบียน/ปรบั ปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อปรับปรงุ ข้อมลู ทะเบยี นเกษตรกรให้มคี วามถกู ต้อง เป็นปัจจบุ นั เป็นเอกภาพ และมมี าตรฐานเดยี วกนั 2. เพื่อจัดเก็บข้อมูลพื้นที่ทําการเกษตรในรูปแบบ Shape file ให้สามารถเชื่อมโยงกับแผนที่ภาพถ่าย ดาวเทียมไดใ้ นอนาคต 3. เพือ่ พฒั นาระบบฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรกลางให้มปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถนํามาใชป้ ระโยชน์ ไดห้ ลายมิติ เปา้ หมาย มกี ารปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ทะเบียนเกษตรกร จํานวน 5.7 ล้านครัวเรอื นในพนื้ ท่ี 77 จังหวัด ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะไดร้ ับ 1. มีระบบฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรที่ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน เอ้ือประโยชน์ ในการดําเนินการ วางแผนพัฒนาการเกษตร และพัฒนาเกษตรกร 2. มีข้อมูลประกอบการขอตรวจรับรองสิทธิ์ของเกษตรกร กรณีท่ีภาครัฐมีโครงการช่วยเหลือเกษตรกร ซ่ึงจะทําให้การสนับสนนุ ช่วยเหลอื เกษตรกรเปน็ ไปอย่างรวดเร็ว มปี ระสิทธภิ าพ 3. มีสมุดทะเบยี นเกษตรกรท่ีบันทึกข้อมูลสําคัญท่ีเก่ียวข้องกับเกษตรกร ซ่ึงเกษตรกรสามารถทราบข้อมูล ของตนเองไดต้ ลอดเวลา และมคี วามสะดวกในการติดต่อประสานงานกับหนว่ ยงานราชการทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง หนา้ 12
คมู่ ือการข้นึ ทะเบยี น/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 บทที่ 2 หลกั เกณฑแ์ ละเง่อื นไขการขน้ึ ทะเบียน/ปรบั ปรุงทะเบยี นเกษตรกร กรอบระยะเวลาการขนึ้ ทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร พชื เศรษฐกิจ กจิ กรรม ชว่ งเวลา ขา้ ว 1. การปลกู 1.1 ทกุ จงั หวดั ยกเว้นพืน้ ที่ ในข้อ 1.2 1 พฤษภาคม 2561 – 30 เมษายน 2562 และ 1.3 1.2 จันทบรุ ี ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี ตราด 1 เมษายน 2561 – 31 มีนาคม 2562 นครนายก นนทบุรี บุรรี ัมย์ ปราจนี บุรี พระนครศรีอยธุ ยา พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สิงหบ์ ุรี สโุ ขทยั กรงุ เทพมหานคร นครสวรรค์ ปทมุ ธานี พิจติ ร สระบุรี อา่ งทอง ชยั นาท (อําเภอมโนรมย์ สรรพยา และอาํ เภอสรรคบรุ ี) ลพบรุ ี (อาํ เภอเมือง ลพบุรี ท่าวุง้ บา้ นหมี่ และอาํ เภอโคกสําโรง) สมุทรปราการ (อาํ เภอบางบอ่ ) สุพรรณบุรี (อําเภอเมอื งสุพรรณบรุ ี บางปลาม้า สองพ่นี ้อง และอําเภออ่ทู อง) อุตรดิตถ์ (อําเภอพิชัย) และอุทัยธานี (อําเภอเมืองอทุ ัยธานี) 1.3 จังหวดั ภาคใต้ 8 จังหวัด 16 มิถนุ ายน 2561 –15 มถิ นุ ายน 2562 (ชุมพร นครศรธี รรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา พทั ลงุ ยะลา และสงขลา) และจงั หวัดใกลเ้ คยี ง 4 จังหวัด (กาญจนบรุ ี ประจวบคีรขี นั ธ์ เพชรบุรี และราชบุร)ี 2. การขนึ้ ทะเบยี น/ปรับปรงุ ขอ้ มลู หลังปลูก 15 - 60 วัน 3. การตรวจสอบข้อมูล/พื้นที่ หลงั แจ้งข้ึนทะเบียน – ก่อนเกบ็ เกย่ี ว 4. การปรบั สมดุ ทะเบียนเกษตรกร ตลอดปี ข้าวโพดเลย้ี งสัตว์ 1.การปลกู ฤดฝู น 1 มนี าคม – 31 ตลุ าคม 2561 ฤดูแล้ง 1 พฤศจกิ ายน 2561 – 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 2.การขน้ึ ทะเบยี น/ปรับปรงุ ขอ้ มูล หลงั ปลูก 15 - 60 วนั 3.การตรวจสอบขอ้ มลู /พน้ื ที่ หลงั แจง้ ขนึ้ ทะเบยี น – กอ่ นเกบ็ เกีย่ ว 4.การปรบั สมดุ ทะเบียนเกษตรกร ตลอดปี หนา้ 13
คู่มือการข้นึ ทะเบยี น/ปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 พืชเศรษฐกจิ กิจกรรม ช่วงเวลา มนั สําปะหลงั โรงงาน/ 1.การปลกู ตลอดปี สบั ปะรดโรงงาน/ 2.การขนึ้ ทะเบียน/ปรบั ปรุงข้อมลู หลงั ปลกู 15 - 60 วนั อ้อยโรงงาน 3.การตรวจสอบข้อมูล/พ้ืนที่ หลังแจง้ ขึน้ ทะเบยี น – ก่อนเกบ็ เกย่ี ว 4.การปรบั สมดุ ทะเบยี นเกษตรกร ตลอดปี ปาล์มนํา้ มัน/ 1.การปลูก ตลอดปี ยางพารา/ 2.การขนึ้ ทะเบียน/ปรับปรงุ ข้อมูล กาแฟ 3.การตรวจสอบข้อมูล/พน้ื ท่ี หลังปลูกแล้วไม่นอ้ ยกวา่ 15 วนั ถ้ายนื ตน้ อยู่ให้ปรบั ปรุงทุกปี 4.การปรบั สมดุ ทะเบียนเกษตรกร ไม้ผล/ไม้ยืนตน้ 1.การปลูก หลังแจง้ ข้นึ ทะเบียน จนถึง 60 วัน 2.การขึน้ ทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ตลอดปี แมลงเศรษฐกจิ / 3.การตรวจสอบขอ้ มลู /พ้ืนที่ ตลอดปี ประมง/ 4.การปรับสมดุ ทะเบยี นเกษตรกร ปศุสัตว์ หลังปลูกแล้วไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้ายนื ตน้ อยู่ให้ปรบั ปรงุ ทกุ ปี 1.การเลยี้ ง นาเกลอื สมทุ ร 2.การขน้ึ ทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ข้อมูล หลงั แจ้งขึ้นทะเบยี น จนถึง 60 วัน 3.การตรวจสอบขอ้ มูล/พื้นที่ ตลอดปี พชื อ่นื ๆ 4.การปรบั สมดุ ทะเบียนเกษตรกร 1.การทํานาเกลอื สมุทร ตลอดปี 2.การขนึ้ ทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ข้อมูล หลังเลีย้ งไม่น้อยกวา่ 15 วนั 3.การตรวจสอบขอ้ มูล/พื้นท่ี หลงั แจง้ ขึ้นทะเบยี น จนถึง 60 วัน 4.การปรบั สมดุ ทะเบียนเกษตรกร ตลอดปี 1.การปลูก 1 พฤศจกิ ายน 2561 – 30 เมษายน 2562 2.การข้ึนทะเบยี น/ปรับปรุงข้อมูล หลังจากวนั ทปี่ ลอ่ ยนา้ํ เข้าแปลงแล้ว 1 วนั 3.การตรวจสอบข้อมลู /พน้ื ที่ หลังแจง้ ขน้ึ ทะเบยี น จนถึง 60 วัน 4.การปรบั สมดุ ทะเบียนเกษตรกร ตลอดปี ตลอดปี หลงั ปลูกแลว้ ไมน่ ้อยกว่า 15 วนั หลงั แจง้ ข้นึ ทะเบยี น – ก่อนเกบ็ เกี่ยว ตลอดปี หมายเหตุ - กิจกรรมการตรวจสอบข้อมูล/พื้นที่ สามารถขยายกรอบระยะเวลาได้ตามความเหมาะสม โดยระบเุ หตุผลแจง้ เป็นหนงั สือราชการมายังกรมส่งเสริมการเกษตร - เกษตรกรที่ปลูกข้าว ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ มันสําปะหลังโรงงาน สับปะรดโรงงาน อ้อยโรงงาน ปาล์มนํ้ามัน ยางพารา และกาแฟจะต้องผ่านการตรวจสอบโดยการติดประกาศหรือตรวจสอบพื้นที่จริง ตามข้ันตอนการดําเนินงานในบทท่ี 3 ก่อน จึงจะถือว่าเป็นเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรโดยสมบูรณ์และ จัดพิมพ์ข้อมูลท่ีผ่านการตรวจสอบแล้วลงในสมุดทะเบียนเกษตรกรได้ สําหรับพืชอื่นๆ/การประกอบกิจกรรม การเกษตรชนดิ อ่นื ใหจ้ ัดพิมพ์ขอ้ มลู ลงในสมดุ ทะเบยี นเกษตรกรได้ทันที หนา้ 14
ค่มู ือการขึน้ ทะเบยี น/ปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 หลกั เกณฑแ์ ละเง่ือนไขการขน้ึ ทะเบียน/ปรบั ปรุงทะเบียนเกษตรกร 1. หลกั เกณฑแ์ ละเงือ่ นไข 1.1 ครวั เรือนเกษตรกรผูข้ อข้นึ ทะเบียนจะต้องเป็นผ้ปู ระกอบการเกษตร เปน็ อาชพี หลัก หรอื อาชีพรองกไ็ ด้ 1.2 ครัวเรือนเกษตรกร 1 ครวั เรือน จะมีตัวแทนมาขอข้นึ ทะเบยี นได้เพยี ง 1 คน ในการพจิ ารณาวา่ ครวั เรือนใดขอขน้ึ ทะเบียนซาํ้ ซอ้ นหรือไม่ เจ้าหนา้ ที่จะต้องชี้แจงรายละเอียดใหเ้ กษตรกร ผู้ขอขนึ้ ทะเบียนรบั ทราบ ตามนิยามท่กี ําหนด 1.3 เกษตรกรผู้ขอข้นึ ทะเบยี นตอ้ งบรรลนุ ติ ภิ าวะ และมีสัญชาติไทย กรณที ่ีเป็นนติ บิ คุ คล จะตอ้ งมีการมอบหมายผู้แทนมาขึ้นทะเบียน 2. สถานทขี่ ้ึนทะเบียน/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร 2.1 เกษตรกรรายเดิม แปลงเดิม สามารถแจ้งปรบั ปรุงได้ท่ี - สํานกั งานเกษตรอําเภอทกุ แห่ง - องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นที่มีความพร้อมและรว่ มเป็นหน่วยสนับสนนุ ทีเ่ กษตรกรมพี ้ืนทีก่ ารเกษตรอยู่ - อาสาสมคั รเกษตรหม่บู า้ น (อกม.) - กรณีใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถือ (Smartphone) เกษตรกรสามารถแจง้ ขึน้ ทะเบียนเกษตรกรผ่าน DOAE Farmbook Application ไดด้ ้วยตนเอง 2.2 เกษตรกรรายเดิม แต่เพิ่มแปลงใหม่ หรอื เกษตรกรรายใหม่ - ให้ย่ืนเอกสารที่สํานักงานเกษตรอําเภอท่ีตั้งแปลงท่ีทํากิจกรรมการเกษตรอยู่ หากมี แปลงท่ีทํากิจกรรมการเกษตรหลายพ้ืนที่ หลายอําเภอ ให้ย่ืนที่สํานักงานเกษตรอําเภอที่ต้ังแปลงหลัก (อําเภอทมี่ จี าํ นวนแปลงมากที่สดุ ) กรณีท่ีใช้คอมพิวเตอร์แท็ปเล็ต (Tablet) ข้ึนทะเบียนเกษตรกรผ่าน FAARMis Application เจ้าหน้าท่ี สามารถรับขึ้นทะเบียนเกษตรกรรายใหม่ในพื้นท่ี พร้อมวาดผังแปลงไปพร้อมๆ กันในคราวเดียวได้ (เฉพาะ พน้ื ทที่ ีม่ ี Internet) สถานที่ขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกร เกษตรกรราย เกษตรกรรายเดมิ เกษตรกรรายใหม่ เดมิ แตเ่ พิม่ แปลงใหม่ แปลงเดิม สาํ นกั งานเกษตรอําเภอ ได้ ได้ ได้ Tablet ผ่าน FAARMis Application ได้ ได้ ได้ โทรศพั ท์มือถอื ผ่าน DOAE Farmbook Application ได้ ไม่ได้ ไม่ได้ อกม. ออกสํารวจ ได้ ไม่ได้ ไม่ได้ 3. เอกสารประกอบการขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร 3.1 เกษตรกรรายเดมิ แปลงเดิม ใชบ้ ตั รประจาํ ตัวประชาชนตวั จริง 3.2 เกษตรกรรายใหม่ หรือ รายเดมิ เพิ่มแปลงใหม่ ใชบ้ ัตรประจําตัวประชาชนตัวจริง พรอ้ มหลักฐานแสดงสิทธกิ ารถือครองทด่ี ินตวั จริง หรอื สําเนาท่ีมกี ารรับรองสําเนาจากผ้คู รอบครอง ทง้ั นี้ สามารถเรยี กหลักฐานอนื่ ๆ เพม่ิ เตมิ ไดต้ ามความจาํ เปน็ และเหมาะสม หนา้ 15
คู่มือการขึ้นทะเบียน/ปรบั ปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 เอกสารประกอบการขึน้ ทะเบียน/ เกษตรกรรายเดิม เกษตรกรรายเดมิ เกษตรกรรายใหม่ ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร แปลงเดมิ แต่เพิ่มแปลงใหม่ บัตรประจําตัวประชาชนตวั จรงิ ใช้ ใช้ ใช้ หลักฐานแสดงสิทธิการถือครองท่ีดินตัวจริง - ใช้ ใช้ ห รื อ สํ า เ น า ที่ มี ก า ร รั บ ร อ ง สํ า เ น า จ า ก ผู้ครอบครอง สัญญาเช่า หรือหนังสือ รบั รองการใช้ประโยชน์ 4. การขนึ้ ทะเบยี น/ปรบั ปรุงทะเบยี นเกษตรกรสามารถดําเนินการไดท้ ้ังในพืน้ ที่ทม่ี เี อกสารสิทธแ์ิ ละไม่มเี อกสารสิทธ์ิ ดงั น้ี 4.1 พนื้ ทม่ี ีเอกสารสิทธ์ิ 4.1.1 ประเภทท่ีดินซ่งึ เอกสารสิทธถิ์ ูกตอ้ งตามประมวลกฎหมายทด่ี ิน ไดแ้ ก่ (1) โฉนดที่ดิน (น.ส.4/ น.ส.4ก/ น.ส.4ข/ น.ส.4ค/ น.ส.4ง และ น.ส.4จ) หนังสอื สําคญั แสดงสทิ ธิการถือครองทดี่ นิ อยา่ งถกู กฎหมาย (2) น.ส.3/ น.ส.3ก/ น.ส.3ข หนังสือคํารับรองจากพนักงานเจ้าหน้าท่ีว่า เป็นที่ดินท่ี ผมู้ สี ิทธิในทดี่ ินไดค้ รอบครองและทําประโยชน์แลว้ (3) น.ส.2/ น.ส.5 (ใบไตส่ วน) (4) ตราจอง (5) แบบหมายเลข 2/ แบบหมายเลข 3 (6) ส.ค.1 (7) ใบรับแจง้ ความประสงคจ์ ะได้สทิ ธใิ นทีด่ ิน 4.1.2 ประเภททด่ี ินทม่ี สี ิทธคิ รอบครองหรือราชการให้ใช้ทําประโยชน์ ไดแ้ ก่ (1) ส.ป.ก. - ส.ป.ก. 4 - ส.ป.ก. 4–01 ก/ ส.ป.ก. 4–01 ข/ ส.ป.ก. 4–01 ค - ส.ป.ก. 4–14/ ส.ป.ก. 4–18 / ส.ป.ก. 4–28/ ส.ป.ก. 4–98 - ส.ป.ก. 5–01/ ส.ป.ก. 5–02/ ส.ป.ก. 5–03 - ส.ป.ก./ สร 5 ก (2) น.ค.1/ น.ค.3 (3) หนังสอื รับรองของนิคมสหกรณ์ (4) ก.ส.น.3/ ก.ส.น.5 (5) หนังสอื อนญุ าตให้ใช้ทดี่ นิ ในเขตนคิ มสรา้ งตนเอง/ หนงั สือรับรองของนิคมวา่ มสี ิทธิในทีด่ นิ (6) ส.ท.ก.1/ ส.ท.ก.1ก/ ส.ท.ก.1ข/ ส.ท.ก.2/ ส.ท.ก.2ก (7) ปส. 29 (8) ช.ส. 4 (9) ส.ธ. 1 (10) หนงั สอื รับรองของหน่วยงานราชการทหาร (11) แบบ ทบ. 9 (12) หนงั สืออนญุ าตใหใ้ ช้ที่ดนิ ของรฐั แกไ้ ขความยากจน (13) บนั ทกึ ขอ้ ตกลงการใหใ้ ช้ท่ดี ินของสว่ นราชการ หน้า 16
คูม่ อื การขนึ้ ทะเบยี น/ปรบั ปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 4.2 พ้ืนท่ไี มม่ เี อกสารสิทธ์ิ เช่น ภบท 5 / ภบท 6 / ภบท 11 อนโุ ลมใหเ้ กษตรกรสามารถขึ้นทะเบยี นได้ เพือ่ ให้ทราบสถานการณ์การเพาะปลกู ของเกษตรกร ประมาณการผลผลิตท่ีจะออกสู่ตลาดในช่วงเวลาต่างๆได้อย่างถูกต้อง แต่จะต้องมีผู้นําชุมชนเป็นผู้รับรอง การทํากิจกรรมการเกษตร โดยเกษตรกรทขี่ ้ึนทะเบียนตอ้ งไมอ่ ้างกรรมสิทธ์หิ รอื ถือครองพ้นื ท่ีนนั้ 5. การข้ึนทะเบียน/ปรับปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร สามารถดาํ เนินการได้ทุกลกั ษณะการถือครองท่ีดนิ ได้แก่ ของครัวเรอื น เชา่ อ่นื ๆ (ทาํ ฟรี/ที่สาธารณประโยชน)์ 5.1 กรณีใชพ้ ื้นทโี่ ดยไมไ่ ดเ้ ช่า - ผู้ขนึ้ ทะเบยี นเปน็ เจา้ ของเอกสารสทิ ธิใ์ ห้ระบกุ ารถือครองเป็น “ครัวเรือน” - ผู้ขน้ึ ทะเบียนไม่ใช่เจ้าของเอกสารสิทธ์ิแต่อาศัยอยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกับเจ้าของเอกสารสิทธ์ิ ใหร้ ะบุการถือครองเปน็ “ครัวเรือน” - ผู้ขึ้นทะเบียนไม่ใช่เจ้าของเอกสารสิทธ์ิ และเจ้าของเอกสารสิทธ์ิไม่ได้อาศัยอยู่ในครัวเรือน เดยี วกับผ้ขู ึ้นทะเบียนใหร้ ะบกุ ารถือครองเปน็ “อ่ืนๆ” - ผ้มู ชี ่อื ในท่ีดิน ส.ป.ก. และเป็นผู้ประกอบกิจกรรมการเกษตรในท่ี ส.ป.ก. มีสิทธิย่ืนขึ้นทะเบียนเท่านั้น ในกรณีที่ผู้มีชื่อในที่ดิน ส.ป.ก. ไม่ได้ขึ้นทะเบียนเกษตรกร อนุโลมให้ คู่สมรส บุตร ของเจ้าของพ้ืนที่ ส.ป.ก. ที่อยู่ในทะเบยี นบา้ นเดยี วกันสามารถนาํ มายน่ื ข้นึ ทะเบียนได้ - ในกรณีท่ีเจ้าของพ้ืนที่ ส.ป.ก. เสียชีวิต สิทธิในการใช้ประโยชน์ในท่ีดินได้แก่ ทายาทโดยธรรม ซ่ึงจะต้องดําเนินการแจ้งต่อคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัดเพื่อโอนกรรมสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติ การปฏริ ูปทด่ี ินเพ่อื เกษตรกรรม พ.ศ. 2518 มาตราท่ี 39 5.2 กรณีใช้พ้นื ท่ีโดยเชา่ - มีสัญญาเช่า ให้ตรวจสอบสัญญาเช่า ชื่อ-สกุล เลขบัตรประจําตัวประชาชนของผู้ให้เช่า ประเภทเอกสารสทิ ธิ์ เลขท่ีเอกสารสิทธ์ิ สถานทตี่ ้งั แปลง พ้ืนท่เี ช่า วันทีส่ ิน้ สดุ สญั ญาเช่า เปน็ ตน้ - ไม่มีสัญญาเช่า ให้ตรวจสอบจากผู้เช่า ถึงประเภทเอกสารสิทธ์ิ เลขที่เอกสารสิทธ์ิ ที่ตั้งแปลง พื้นที่เช่า เกษตรกรผู้เช่าต้องระบุช่ือ-สกุลและเลขที่บัตรประจําตัวประชาชนของผู้ให้เช่า ถ้าไม่สามารถหาชื่อ-สกุลและเลขบัตรประจําตัวประชาชนของผู้ให้เช่าได้ ให้มีผู้นําชุมชนเป็นผู้รับรอง การทํากิจกรรมการเกษตร เพื่อให้เจ้าหน้าท่ีสามารถตรวจสอบความมีอยู่จริงและสิทธิการเช่าที่ดินดังกล่าวได้ รวมถงึ ตรวจสอบความซ้าํ ซ้อนว่าเจ้าของท่ดี ินไดม้ ีการนาํ เอกสารสิทธข์ิ องตนมาแจง้ ขึน้ ทะเบียนไว้หรอื ไม่ 6. การมอบอาํ นาจให้บุคคลอนื่ มาดาํ เนินการแทน 6.1 ครัวเรอื นเกษตรกรสามารถมอบอาํ นาจใหส้ มาชกิ ในครวั เรอื นทมี่ ีชื่ออยใู่ นทะเบียนเกษตรกร เดียวกัน เป็นผู้ขอปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกรแทนได้ แต่หากเป็นเกษตรกรที่ต้องการขอขึ้นทะเบียนใหม่ต้องมา แจง้ ขึน้ ทะเบยี นเกษตรกรด้วยตนเอง 6.2 นิตบิ ุคคล สามารถมอบอาํ นาจใหผ้ ้แู ทนขึ้นทะเบียน/ปรับปรงุ ทะเบียนเกษตรกรได้ 7. เจ้าหนา้ ทผ่ี ูร้ ับข้นึ ทะเบยี นจะตอ้ งย้ําใหเ้ กษตรกรทราบวา่ ตอ้ งแจง้ ขอ้ มลู และกรอกขอ้ มลู ในแบบคําร้อง ให้สมบูรณ์ ถูกต้อง ครบถ้วนตามความเป็นจริง พร้อมลงลายมือช่ือรับรองข้อมูล ในแบบคําร้องด้วย สําหรับผู้ขอขึ้นทะเบียนใหม่ ต้องมีผู้นําชุมชน (รายละเอียดตามคํานิยาม) ลงลายมือช่ือพร้อมระบุตําแหน่ง เปน็ พยานการให้ขอ้ มลู หนา้ 17
คมู่ อื การขึน้ ทะเบียน/ปรับปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 บทที่ 3 ขั้นตอนและวธิ ีการปฏบิ ัตงิ าน 1. การขึน้ ทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ทะเบียนเกษตรกร 1.1 การประชาสมั พันธเ์ พอ่ื ใหเ้ กษตรกรรบั ทราบถงึ ความสําคัญของการขึน้ ทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ทะเบียนเกษตรกร เชน่ หากไมข่ ้ึนทะเบียนเกษตรกร เกษตรกรรายน้นั ๆ จะไมส่ ามารถเข้ารว่ มโครงการ ตามนโยบายของภาครัฐดา้ นการเกษตรได้ และหากไมป่ รบั ปรุงขอ้ มลู กจิ กรรมการเกษตรก็อาจจะไม่ได้รับความ ชว่ ยเหลอื จากภาครฐั เมอ่ื พ้นื ที่ทางการเกษตรไดร้ ับความเสียหายจากภัยทางธรรมชาติ เปน็ ตน้ ทั้งน้ี การประชาสัมพันธ์ข้อมูลจะมีในหลายรูปแบบ ผ่านที่ประชุมกํานัน ผู้ใหญ่บ้าน สื่อวิทยุ โทรทัศน์ หนงั สอื พมิ พ์ แผน่ พับ โปสเตอร์ ตลอดจนสอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์ เช่น สอ่ื สังคมออนไลน์ (Social Media) เปน็ ตน้ 1.2 เกษตรกรแจง้ ความประสงคข์ อปรับปรุงข้อมลู ทาํ การเกษตร หรอื ข้ึนทะเบยี นใหม่ ตามกรอบระยะเวลา ในบทท่ี 2 1) เกษตรกรรายเดมิ แปลงเดิม - เกษตรกรนําเอกสารประกอบการข้ึนทะเบียน/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ยื่นที่สถานท่ี ขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร รายละเอียดในบทท่ี 2 โดยแจ้งข้อมูลให้เจ้าหน้าท่ีทราบและ ดาํ เนนิ การปรับปรงุ ข้อมลู ให้เปน็ ปัจจบุ ัน สําหรับแปลงพืชเศรษฐกิจทม่ี ีผลตอ่ นโยบายตามมาตรการภาครัฐตา่ ง ๆ เช่น ข้าว ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ มันสําปะหลัง ให้เจ้าหน้าที่พิมพ์แบบคําร้อง (ทบก.01) ขอปรับปรุงข้อมูลทะเบียน เกษตรกรใหเ้ กษตรกรกรอกข้อมลู กิจกรรมการเกษตร เพือ่ ความชัดเจนในการบนั ทกึ ข้อมูลเขา้ ระบบ - การปรับปรุงข้อมูลผ่านตัวแทนอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) ให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริม การเกษตร ผู้รับผิดชอบตําบล พิมพ์แบบคําร้อง (ทบก.01) ขอปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกร เพ่ือให้ตัวแทน อกม. ทําหน้าท่ีจัดเก็บข้อมูลตามรายชื่อและแบบพิมพ์ท่ีได้รับ โดยยํ้าให้เกษตรกรกรอกข้อมูลให้สมบูรณ์ ถูกต้อง ครบถว้ น ตามความเปน็ จริง - การปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกรโดยใช้โทรศัพท์มือถือ (Smartphone) เกษตรกร สามารถแจ้งปรบั ปรงุ ผา่ น DOAE Farmbook Application ได้ด้วยตนเอง 2) เกษตรกรรายเดิม แตเ่ พม่ิ แปลงใหม่ เกษตรกรนาํ เอกสารประกอบการขนึ้ ทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ทะเบียนเกษตรกร ไปที่สถานท่ีข้ึนทะเบียน/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร รายละเอียดในบทท่ี 2 โดยให้เจ้าหน้าท่ีพิมพ์แบบคําร้อง (ทบก.01) ซึ่งแสดงข้อมูลเดิมของเกษตรกร เพ่ือให้แจ้งข้อมูลของแปลงใหม่ เพมิ่ เตมิ และสามารถแจ้งปรบั ปรุงขอ้ มูลกจิ กรรมการเกษตรแปลงเดิมให้เป็นปัจจุบนั ด้วย 3) เกษตรกรรายใหม่ เกษตรกรนาํ เอกสารประกอบการขน้ึ ทะเบียน/ปรบั ปรุงทะเบยี นเกษตรกร ไปท่ีสถานท่ีข้ึนทะเบียน/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร รายละเอียดในบทที่ 2 โดยให้เจ้าหน้าท่ีพิมพ์แบบคําร้อง (ทบก.01) ใหเ้ กษตรกรกรอกแบบคาํ ร้องให้สมบรู ณ์ ถูกตอ้ ง ครบถว้ น ตามความเป็นจริง ท้ังน้ี เจ้าหน้าท่ีสามารถรับขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรตามข้อ 1) และ 2) และ 3) ในพื้นท่ีท่ีต้ังแปลง โดยให้เกษตรกรแจ้งข้อมูลกิจกรรมการเกษตร พร้อมระบุขอบเขตแปลงของตัวเอง ต่อเจ้าหน้าท่ี เพื่อจะได้คํานวณพื้นท่ีแปลงเป็นการตรวจสอบกับข้อมูลที่แจ้งไปในคราวเดียวกัน โดยใช้ คอมพิวเตอร์แท็ปเล็ต (Tablet) ผ่าน FAARMis Application เกษตรกรจะต้องจัดเตรียมเอกสารประกอบ การขน้ึ ทะเบยี น/ปรบั ปรุงทะเบยี นเกษตรกร ตามรายละเอยี ดในบทที่ 2 ด้วย หน้า 18
คมู่ ือการขนึ้ ทะเบยี น/ปรบั ปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 2. การตรวจสอบ (เฉพาะ ขา้ ว ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ มนั สําปะหลัง ปาล์มน้าํ มนั ยางพารา สบั ปะรดโรงงาน ออ้ ยโรงงาน และกาแฟ) 2.1 ผดู้ าํ เนนิ การตรวจสอบ การพิจารณาผู้ดําเนนิ การตรวจสอบใหพ้ ิจารณาเลือก ดงั นี้ 1) เจ้าหน้าทส่ี ่งเสริมการเกษตรผ้รู บั ผดิ ชอบตาํ บลของกรมสง่ เสริมการเกษตร หรอื 2) อาสาสมคั รเกษตรหมูบ่ ้าน (อกม.) ตามภารกจิ ทีเ่ จา้ หน้าทส่ี ่งเสรมิ การเกษตรมอบหมาย หรือ 3) เจา้ หนา้ ทอ่ี งค์การบรหิ ารส่วนตําบล หรอื เทศบาล ท่ไี ดร้ บั แต่งตง้ั จากนายอําเภอ หรือ 4) คณะทํางานตรวจสอบการขึ้นทะเบียนเกษตรกร ระดับหมู่บ้าน ซ่ึงนายอําเภอแต่งต้ัง อยา่ งน้อย ประกอบดว้ ย ผูใ้ หญ่บา้ น/ประธานชุมชน ประธานคณะทาํ งาน ผู้ทรงคณุ วฒุ ใิ นหมบู่ า้ น/ชมุ ชน คณะทํางาน อาสาสมัครเกษตรหมบู่ ้าน (อกม.) คณะทาํ งานและเลขานกุ าร มีหน้าท่ี รับมอบหมายจากเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมการเกษตรผู้รับผิดชอบตําบล ให้ช่วยดําเนินการตรวจสอบพื้นที่จริง พรอ้ มวดั พกิ ัดทีต่ ั้งแปลง-วัดพื้นท่ี หากผู้ใหญ่บ้าน/ประธานชุมชนและอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) เป็นบุคคลเดียวกัน ให้พิจารณาอาสาสมัครเกษตร (อกษ.) สาขาอื่นๆ เช่น หมอดินอาสา อาสาปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เศรษฐกิจการเกษตรอาสา อาสาปศุสัตว์ ประมงอาสา อาสาสมัครเกษตรด้านบัญชี เป็นต้น แต่หากไม่มี ให้พิจารณาเลือกผ้ชู ่วยผ้ใู หญ่บา้ นเป็นคณะทาํ งานต่อไป สําหรับกรุงเทพมหานครสามารถให้บุคคลเหล่านี้ได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะทํางานได้ด้วย : สมาชิกองค์การบริหารส่วนตําบล สมาชิกสภาเทศบาล สมาชิกสภาเกษตรกรระดับหมู่บ้าน/ตําบล คณะกรรมการศนู ย์บรกิ ารและถา่ ยทอดเทคโนโลยีประจาํ ตาํ บล ท้ังนบ้ี คุ คลดงั กลา่ วจะตอ้ งอยู่ในวาระการดาํ รงตําแหนง่ หมายเหตุ ผู้ดําเนินการตรวจสอบ ข้อ 4) จะพิจารณาแต่งตั้งก็ต่อเมื่อมีข้อร้องเรียนหรือคัดค้านพ้ืนที่ ทําการเกษตรของเกษตรกรท่ีไม่ถูกต้อง จึงจะแต่งต้ังคณะทํางานตรวจสอบการขึ้นทะเบียนเกษตรกร ระดับหมบู่ า้ น เพื่อดําเนนิ การตรวจสอบพืน้ ทีจ่ ริงพร้อมวัดพิกดั ทีต่ ัง้ แปลง-วดั พื้นที่ 2.2 วิธกี ารตรวจสอบ 1) การตรวจสอบเอกสาร ตรวจสอบเอกสารหลักฐานท่ีใช้ประกอบการขอข้ึนทะเบียน/ปรับปรุง ทะเบียน เช่น หลักฐานแสดงสิทธิการถือครองที่ดิน ตรวจสอบให้สัมพันธ์กับจํานวนพื้นที่ที่ทําการเกษตร ที่แจง้ ขน้ึ ทะเบยี นไว้ 2) ระบบโปรแกรมตรวจสอบความถกู ตอ้ ง - ดําเนินการตรวจสอบไม่ให้แจ้งเกินข้อมูลเน้ือท่ีตามเอกสารสิทธิ์ ตรวจสอบความซํ้าซ้อน ของเอกสารสทิ ธ์ิทมี่ าขอขนึ้ ทะเบียน และตรวจสอบกบั ข้อมลู ในแผนทภ่ี าพถ่ายดาวเทยี มตามทะเบียนเกษตรกร - กรมส่งเสริมการเกษตร ร่วมมือกับกรมที่ดิน ดําเนินการเชื่อมโยงฐานข้อมูลระบบพื้นที่และ ขอบเขต ของเอกสารสิทธ์ิ น.ส. 4 ท่ีกรมที่ดินได้ดําเนินการจัดเก็บไว้ในรูป Digital File จะช่วยให้เจ้าหน้าที่ สามารถตรวจสอบขอ้ มูลไดถ้ ูกต้องยิ่งขน้ึ - ตรวจสอบข้อมูลบุคคล กับสํานักทะเบียนราษฎร กระทรวงมหาดไทย เพื่อให้ได้ข้อมูล ชือ่ สกลุ สมาชิกในครัวเรือนทเ่ี ปน็ ปัจจุบนั หน้า 19
คมู่ อื การขึ้นทะเบยี น/ปรบั ปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 3) การตรวจสอบทางสังคม เม่ือระบบโปรแกรมตรวจสอบความถูกต้องแล้ว ให้จัดพิมพ์ข้อมูล ของเกษตรกรรายเดิม แปลงเดิมไปติดประกาศในหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นเวลา 3 วัน เพื่อการยืนยันหรือคัดค้าน วา่ มกี ารเพาะปลูกจริงในหมบู่ ้าน/ ชมุ ชนน้นั โดยขอให้เขียนช่ือ-สกุล และหมายเลขโทรศัพท์ของเจ้าหน้าท่ีหรือ สํานักงานเกษตรอําเภอที่ท้ายแบบติดประกาศให้ชัดเจน เพ่ือให้เกษตรกรติดต่อหากพบข้อมูลไม่ถูกต้อง หรือ มีความประสงค์จะคดั คา้ น 4) การตรวจสอบพนื้ ที่ เพ่อื ป้องกนั การแจ้งข้ึนทะเบียนซํา้ ซอ้ น มีแนวทางปฏิบตั ิดงั นี้ - กรณีเกษตรกรรายใหม่ หรือรายเดิมแต่มีการเพิ่มแปลง/เปลี่ยนแปลงพื้นที่ หรือแปลงที่ ไมม่ ีเอกสารสทิ ธ์ิ ให้ผดู้ ําเนินการตรวจสอบตามขอ้ 2.1 ข้อย่อย 1) หรือ 2) หรือ 3) เป็นผู้ดําเนินการตรวจสอบพ้ืนที่ พร้อมวดั พกิ ดั ทต่ี ้ังแปลง และจดั ทาํ ผังแปลงเกษตรกรรมดจิ ทิ ลั - กรณีเกษตรกรรายเดิม แปลงเดิม แต่ถูกคัดค้านภายหลังการปิดประกาศ ให้คณะทํางาน ตรวจสอบการขึ้นทะเบียนเกษตรกร ระดับหมู่บ้าน ตามข้อ 2.1 ข้อย่อย 4) และเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมการเกษตร ผู้รับผิดชอบตําบลของกรมส่งเสริมการเกษตร เป็นผู้ดําเนินการตรวจสอบพ้ืนที่พร้อมวัดพิกัดที่ต้ังแปลง และจัดทําผังแปลงเกษตรกรรมดจิ ิทลั - กรณีเกษตรกรรายเดิม แปลงเดิม ที่ติดประกาศแล้วไม่ถูกคัดค้าน ไม่ต้องตรวจสอบพื้นท่ี แตส่ ามารถวาดขอบเขตแปลงเพือ่ ให้มขี ้อมลู ครบถว้ น สามารถนาํ ไปใช้ประโยชน์ได้ 3. การจัดทําผงั แปลงเกษตรกรรมดิจิทัล การจดั ทําผงั แปลงเกษตรกรรมดจิ ทิ ลั ดาํ เนินการโดยใช้เครอื่ ง GPS ออกเดนิ สาํ รวจรอบแปลงพน้ื ทีจ่ รงิ เพือ่ วดั พนื้ ท่ี หรอื ใชร้ ะบบสารสนเทศ เช่น ระบบ GISagro , FAARMis Application และ โปรแกรม QGIS 4. การพมิ พข์ อ้ มูลลงในสมดุ ทะเบียนเกษตรกร สําหรับพืชท่ีกําหนดให้มีการตรวจสอบ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสําปะหลัง ปาล์มน้ํามัน ยางพารา สับปะรดโรงงาน อ้อยโรงงาน และกาแฟ เม่ือติดประกาศ/ตรวจสอบพ้ืนท่ีและบันทึกผลลงในระบบ ว่า “ผ่าน” แล้ว จึงจะสามารถจัดพิมพ์ข้อมูลลงในสมุดทะเบียนเกษตรกรได้ ส่วนพืชอ่ืนๆ แมลงเศรษฐกิจ ประมง ปศุสัตว์และนาเกลือสมุทร สามารถพิมพ์ข้อมูลลงในสมุดทะเบียนเกษตรกรได้ทันทีหลังแจ้งปรับปรุง ข้อมูล โดยเกษตรกรต้องนําสมุดทะเบียนเกษตรกรที่มีอยู่มาติดต่อขอปรับปรุงทะเบียนที่สํานักงาน เกษตรอําเภอ รายละเอียดในบทที่ 5 5. การตรวจติดตาม เย่ยี มเยียนถ่ายทอดความรู้ เกษตรกรท่ีผ่านการขึ้นทะเบียนและปรับปรุงสมุดทะเบียนเกษตรกรแล้ว ให้นักวิชาการส่งเสริม การเกษตร สุ่มออกตรวจติดตามในภายหลัง พร้อมกับให้คําแนะนําความรู้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ตามความเหมาะสม ***** เมอื่ มกี ารนาํ ฐานขอ้ มูลทะเบยี นเกษตรกรไปใช้ประโยชน์ในการให้ความช่วยเหลือของภาครัฐ โครงการใดๆ ผทู้ ีจ่ ะได้รบั สทิ ธิประโยชนต์ อ้ งเปน็ ไปตามเง่อื นไขของโครงการที่จะกาํ หนดขนึ้ หนา้ 20
คู่มอื การขึ้นทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 บทที่ 4 การกรอกขอ้ มลู ในแบบคาํ รอ้ ง การกรอกขอ้ มลู ในแบบคาํ รอ้ งขอข้ึนทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ทะเบียนเกษตรกร กาํ หนดใหเ้ จ้าหน้าที่รับขึ้นทะเบียน ชี้แจงเกษตรกรผู้มาขอขึ้นทะเบียนด้วยว่าการมาข้ึนทะเบียนครั้งนี้ ภาครัฐจัดทําทะเบียนเกษตรกรรายครัวเรือน และเพ่ือให้เกิดความชัดเจนในการปฏิบัติให้สอบถามข้อมูล จากหัวหน้าครัวเรือนหรือสมาชิกของครัวเรือนซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบหรือได้รับผลประโยชน์จากการประกอบ การเกษตรของครัวเรือน เนื่องจากความถูกต้องของข้อมูลเป็นสิ่งสําคัญ จึงจําเป็นต้องเน้นย้ําให้ เจ้าหน้าท่ี ทุกคนต้องทําความเข้าใจรายละเอียดในแบบคําร้อง และต้องตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในแบบคําร้อง ใหม้ คี วามถูกต้องสมบรู ณแ์ ละครบถ้วนทุกขอ้ ถาม ในแบบคาํ ร้องนจ้ี ะมีข้อความ 3 หน้า ประกอบดว้ ย ข้อมลู พ้ืนฐาน ข้อมลู เคร่อื งจักรกลการเกษตร และ ข้อมูลการประกอบกิจกรรมการเกษตร ซึ่งผู้ขอข้ึนทะเบียนใหม่จะต้องกรอกข้อมูลให้ครบถ้วน สมบูรณ์ ตรงตามความเป็นจริง ส่วนผู้ขอปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร จะต้องตรวจสอบข้อมูลจากแบบคําร้องที่พิมพ์ ข้อมูลเดิมท่ีเคยแจ้งขึ้นทะเบียนไว้ หากพบข้อผิดพลาดหรือมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลให้ขีดฆ่าข้อความนั้นและ เขยี นใหมโ่ ดยลงลายมอื ชอ่ื ของผขู้ อปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกร สาํ หรับการกรอกขอ้ มูลมีรายละเอียด ดงั นี้ 1. ข้อมูลพืน้ ฐานของครัวเรือน 1.1 แบบคาํ ร้อง การยนื่ แบบ ทบก. ใหเ้ ลือกกา ใน ขอปรบั ปรุงขอ้ มูลที่ขึ้นทะเบยี นไวแ้ ล้ว หรอื ขอขน้ึ ทะเบียนเกษตรกร อย่างใดอยา่ งหนึง่ 1.2 สถานที่ข้นึ ทะเบียน ระบสุ าํ นักงานเกษตรอําเภอ และจังหวดั ในพื้นทท่ี ่สี ํานักงานเกษตรอําเภอ ท่ีขอรับขึน้ ทะเบยี น/ปรบั ปรุงทะเบยี นเกษตรกร ตัง้ อยู่ 1.3 วันที่ ให้กรอกวนั ทแ่ี จง้ ข้ึนทะเบยี น/ปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกร 1.4 ชื่อผู้ขอข้ึนทะเบียน ให้กาเครื่องหมาย ลงใน หน้าคํานําหน้านาม นาย นาง หรือนางสาว พรอ้ มเขยี นช่อื นามสกุล และระบเุ ลขประจาํ ตวั ประชาชน วันเดอื นปเี กดิ และเลขรหสั ประจําบา้ นตามทะเบียนบ้าน 1.5 ทีอ่ ยทู่ ่ตี ิดตอ่ ได้ ให้กรอกท่ีอยู่ท่ีสามารถตดิ ต่อได้ เพือ่ ใหเ้ จ้าหน้าท่สี ามารถตดิ ตอ่ เกษตรกร เมอ่ื ต้องการสอบถามขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ หน้า 21
คมู่ อื การขนึ้ ทะเบียน/ปรับปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 1.6 นติ ิบุคคล สาํ หรับนติ ิบุคคล ใหก้ รอกประเภทของนิตบิ ุคคล ชือ่ นิติบุคคล ท่ีตง้ั สาํ นักงาน และเลขทท่ี ะเบยี นนิติบคุ คล 1.7 ลักษณะการประกอบอาชพี และปญั หาเบือ้ งตน้ ทเ่ี กษตรกรประสบ ลกั ษณะการประกอบอาชีพ ใหก้ าเครื่องหมาย ลงใน เพียงคําตอบเดียว อาชีพหลัก หมายถึง อาชีพท่ีใช้เวลาส่วนใหญ่ในการประกอบกิจกรรมน้ันๆ มีตัวเลือก คือ 1.ประกอบอาชีพเกษตร 2.รับเงินเดือนประจํา 3.รับจ้างทางการเกษตร 4.ประกอบธุรกิจการค้า 5.รบั จ้างทัว่ ไป 6.อน่ื ๆ อาชีพรอง หมายถึง อาชีพที่ใช้เวลาประกอบกิจกรรมรองจากอาชีพหลัก มีตัวเลือก คือ 1.ประกอบอาชีพเกษตร 2.รับเงินเดือนประจํา 3.รับจ้างทางการเกษตร 4.ประกอบธุรกิจการค้า 5.รับจ้างท่ัวไป 6.อ่ืนๆ 7. ไม่มีอาชพี รอง ปัญหาเบ้ืองต้นท่ีเกษตรกรประสบ ให้กาเครื่องหมาย ลงใน ได้หลายคําตอบ มีตัวเลือก คือ 1. ต้นทุน 2.ด้านแรงงาน 3.ด้านปัจจัยและเทคโนโลยีการผลิต 4.ด้านการตลาด 5.ด้านภัยพิบัติ 6.องคค์ วามรู้ 7.โรคระบาด 8.ปัจจยั การผลิต 9.ท่ีดนิ ทาํ กนิ 10.ด้านอนื่ ๆ 2. ขอ้ มลู สมาชกิ ในครัวเรือนและการเปน็ สมาชกิ องคก์ ร มรี ายละเอียดดงั นี้ 2.1 ช่ือ – นามสกุล และเลขประจําตัวประชาชนของสมาชิกในครัวเรือน หากเป็นเกษตรกร ท่ีเคยขึ้นทะเบียนไว้แล้ว เม่ือพิมพ์แบบคําร้องจากระบบโปรแกรมจะแสดงรายชื่อสมาชิกในครัวเรือน ตามท่ีแจ้งไว้ หากบุคคลนั้นไม่อยู่ในครัวเรือนแล้วให้ขีดฆ่าและลงลายมือชื่อกํากับ สําหรับบุคคลอ่ืนท่ีอาศัย อยใู่ นครวั เรือน แต่ไม่ไดม้ ชี อื่ อยู่ในทะเบียนบา้ นเดยี วกนั ให้กรอกข้อมลู เพ่ิมเติมได้ 2.2 ช่วยทําการเกษตร ให้เลือกว่าบุคคลที่อยู่ในครัวเรือนน้ัน ช่วย หรือ ไม่ช่วยทําการเกษตร การเป็นสมาชิกองค์กร ให้ใส่รหัสตัวเลขลงในช่องที่กําหนดของแต่ละบุคคล โดยรหัสตัวเลขประกอบด้วย 1.สหกรณ์ภาคการเกษตร 2.สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 3.กลุ่มเกษตรกร 4.กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร 5.กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร 6.กลุ่มยุวเกษตรกร 7.วิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน 8.สมาคม/สหพนั ธ์ 9.อาสาสมัครเกษตร 10.กลมุ่ ผใู้ ชน้ ้ําชลประทาน 11.ธ.ก.ส. 12.เครอื ขา่ ยเกษตรกรรุน่ ใหม่ 13.อ่นื ๆ หนา้ 22
ค่มู ือการข้นึ ทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 2.3 วฒุ ิการศกึ ษา ให้ใส่รหัสตัวเลขลงในชอ่ งท่กี ําหนดของแตล่ ะบุคคล โดยรหัสตวั เลข ประกอบด้วย 1.จบการศึกษาสูงกว่า ปริญญาตรี 2.จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า 3.จบการศึกษาในระดับ ปวส./อนุปริญญา 4.จบการศึกษาในระดับ ปวช. 5.จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 6.จบการศึกษาในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 7.จบการศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษา 8.ไม่ไดศ้ ึกษา 2.4 รายได้ในภาคการเกษตร (บาท/ปี) ให้ระบุรายได้ในภาคการเกษตรของสมาชิกในครัวเรือน เป็นรายบุคคล หากประกอบกิจกรรมการเกษตรร่วมกัน ไม่สามารถแยกรายได้ในภาคการเกษตรได้ ให้ระบุ รายได้ในภาคการเกษตรในช่องของหัวหน้าครัวเรือนเพียงช่องเดียว และให้กรอก “-“ ในช่องรายได้ ในภาคการเกษตรของสมาชิกในครวั เรือนรายอน่ื 2.5 รายได้นอกภาคการเกษตร (บาท/ปี) ให้ระบุรายได้นอกภาคการเกษตรของสมาชิกในครัวเรือน เปน็ รายบุคคล หากไม่มรี ายได้นอกภาคการเกษตรให้กรอก “ – “ 2.6 หน้ีสินในภาคการเกษตร (บาท/ปี) ให้ระบุหน้ีสินในภาคการเกษตรของสมาชิกในครัวเรือน เป็นรายบุคคล หากประกอบกิจกรรมการเกษตรร่วมกัน ไม่สามารถแยกหนี้สินในภาคการเกษตรได้ ให้ระบุ หน้ีสินในภาคการเกษตรในช่องของหัวหน้าครัวเรือนเพียงช่องเดียว และให้กรอก “ – “ ในช่องหนี้สิน ในภาคการเกษตรของสมาชกิ ในครวั เรอื นรายอ่นื 2.7 หน้ีสินนอกภาคการเกษตร (บาท/ปี) ให้ระบุหน้ีสินนอกภาคการเกษตรของสมาชิกในครัวเรือน เปน็ รายบคุ คล หากไม่มหี นสี้ ินนอกภาคการเกษตรใหก้ รอก “ – “ ทัง้ น้ี วธิ ีการคาํ นวณรายได้ หนส้ี นิ รายละเอียดตามนยิ ามศัพท์ หน้า 23
คมู่ อื การขึน้ ทะเบียน/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 3. เคร่ืองจกั รกลการเกษตร กําหนดใหใ้ ส่ จาํ นวน ลงในช่องวา่ ง โดยสอบถามเครอ่ื งจักรกลการเกษตร 9 ประเภท คือ 1) เครอื่ งตน้ กาํ ลัง 2) เคร่ืองมือเตรียมดิน 3) เครือ่ งปลูก/เคร่อื งมือหยอด 4) เครือ่ งมือดแู ลรักษา 5) เครอ่ื งมอื เก็บเกี่ยว 6) เคร่ืองสูบน้าํ 7) รถบรรทกุ การเกษตร 8) เคร่ืองมอื หลงั การเกบ็ เก่ยี ว 9) ระบบให้นํ้าทางท่อ ทัง้ นี้ คํานยิ ามเครื่องจกั รกลการเกษตร รายละเอียดตามนยิ ามศัพท์ หน้า 24
คมู่ ือการข้นึ ทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 4. การประกอบกิจกรรมการเกษตรในครัวเรือน ท้ังด้านการเพาะปลูกพืช ด้านปศุสัตว์ และ ด้านการเพาะเล้ยี งสตั ว์น้ํา โดยมีรายละเอียดดังนี้ 4.1 ท่ีตัง้ แปลง ใหร้ ะบุทีต่ ้ังแปลงทด่ี นิ วา่ อยู่ในหมู่ใด ในตาํ บลใด อําเภอใด และในเขตจงั หวัดไหน โดยขอ้ ความส่วนน้จี ะต้องกรอกให้ครบถ้วน ถกู ต้องตามความเป็นจรงิ 4.2 การถอื ครอง ใหร้ ะบวุ ่าเปน็ ของครวั เรอื น เช่ามีสัญญา เชา่ ไม่มสี ญั ญา หรอื อื่นๆ (ทําฟรี / ที่สาธารณประโยชน)์ 4.3 ข้อมลู เอกสารสทิ ธิ์ - กรณีมีเอกสารสิทธิ์ให้กรอกแบบคําร้องข้อ 3.1 ประกอบด้วย ประเภท เลขท่ีเอกสารสิทธ์ิ เน้อื ท่ตี ามเอกสารสทิ ธิ์ (ไร่-งาน-ตร.วา) และขอ้ มูลเจ้าของเอกสารสทิ ธ์ิ (เลขบัตร/ชือ่ -สกลุ ) - กรณีเชา่ มีเอกสารสิทธิแ์ ตไ่ มส่ ามารถหาข้อมูลเจ้าของเอกสารสิทธไ์ิ ดใ้ ห้กรอกแบบคําร้องข้อ 3.1 ประกอบด้วย ประเภท เลขที่เอกสารสิทธ์ิ เนื้อท่ีตามเอกสารสิทธ์ิ และกรอกข้อ 3.2 ผู้รับรองการทํากิจกรรม การเกษตร (เลขบตั ร/ช่ือ-สกุล/ตาํ แหน่ง) โดยไม่ตอ้ งกรอกข้อมูลเจ้าของเอกสารสทิ ธ์ิ - กรณีไม่มีเอกสารสิทธ์ิ ให้กรอกแบบคําร้องข้อ 3.2 ผู้รับรองการทํากิจกรรมการเกษตร (เลขบตั ร/ชือ่ -สกุล/ตําแหน่ง) โดยไม่ต้องกรอกข้อ 3.1 4.4 เขตชลประทาน เลือกอย่ใู นเขตหรือนอกเขตชลประทานเพยี งคําตอบเดยี ว 4.5 ค่าพิกัดภูมิศาสตร์ ให้ใส่โซนตัวเลข 47 หรือ 48 เพียงตัวเลขใดตัวเลขหน่ึง และให้กรอก ค่าพกิ ดั X Y เป็นตวั เลขตามท่ีจดั เก็บข้อมลู ไว้แลว้ หน้า 25
คู่มอื การขน้ึ ทะเบียน/ปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 4.6 แหล่งน้ําเพื่อการเกษตร ให้เกษตรกรระบุแหล่งนํ้าท่ีนํามาใช้ในการเกษตร โดยมีตัวเลือก คือ 1. ไม่มีแหล่งนํ้า 2.แหล่งนํ้าของตนเอง (บ่อน้ําต้ืน/บ่อบาดาล/สระนํ้า) 3. แหล่งน้ําสาธารณะ (บ่อบาดาล/ หนอง สระ/คลองชลประทาน/แม่นาํ้ ) 4.7 ชนิดพืช/สตั ว/์ กิจกรรมการเกษตรอื่นๆ ใหร้ ะบชุ นดิ พชื หรือสตั ว์ หรอื กิจกรรมการเกษตรอน่ื ๆ 4.8 พันธ์พุ ืช/สัตว/์ กจิ กรรมการเกษตรอืน่ ๆ ให้ระบุพนั ธพุ์ ืช หรือสัตว์ หรือกจิ กรรมการเกษตรอ่นื ๆ ตามท่ีเกษตรกรสามารถระบุได้ (หากไม่ระบุโปรแกรมจะกําหนดให้เป็นพันธ์ุอ่ืน ๆ โดยอัตโนมัติ) ท้ังนี้ ควรระบุพันธพ์ุ ืชตามทีร่ ะบใุ นกรอบการจัดเกบ็ พืชทมี่ กี ารระบพุ นั ธุไ์ ว้แลว้ 4.9 วันท่ีปลูก/เลี้ยง/เร่ิมทํากิจกรรมการเกษตร ต้องระบุเป็นตัวเลข วัน เดือน ปี ของวันท่ีปลูก/เลี้ยง ตามชนดิ พชื /สัตวน์ นั้ ๆ สาํ หรับกรณี ไมผ้ ลไมย้ ืนตน้ ที่ไมส่ ามารถระบุวันท่ีปลกู ได้ ให้ใสเ่ ดือนปลกู และปีท่ีปลูก หากไม่สามารถระบุเดือนที่ปลูกให้ใส่เฉพาะปีท่ีปลูก ซ่ึงโปรแกรมจะกําหนดวัน เดือนที่ปลูก เริ่มต้นใน วันท่ี 1 มกราคม ตามปีที่ระบุโดยอัตโนมัติ สําหรับนาเกลือสมุทรให้วันที่เริ่มทํากิจกรรมการเกษตร/ เร่ิมทําการผลติ คือ วันทีป่ ล่อยนา้ํ เขา้ นาเกลอื 4.10 วันท่ีคาดว่าจะเก็บเก่ียว ต้องระบุเป็นตัวเลข วัน เดือน ปี ของวันท่ีคาดว่าจะเก็บเกี่ยว สําหรบั นาเกลอื สมุทรให้ใสว่ ันท่คี าดวา่ จะเกบ็ เกีย่ วเกลือเมด็ รอบที่ 1 4.11 เนื้อที่ปลูก/เล้ียง ต้องระบุเป็นตัวเลข ไร่ งาน ตารางวา สําหรับนาเกลือสมุทรให้ใส่พื้นท่ีทํานา เกลือทง้ั ผืน 4.12 เนื้อท่เี กบ็ เกย่ี ว/เนอ้ื ทีใ่ หผ้ ล ตอ้ งระบุเนอ้ื ทเ่ี ก็บเกีย่ วผลผลติ ในกรณีของพืชอายสุ นั้ (ข้าว พืชไร่ พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ) โดยระบุตัวเลขเป็นไร่ งาน ตารางวา สําหรับกลุ่มพืชอายุยาวให้หมายถึง เนื้อที่ให้ผลผลิตแล้ว โดยระบุตัวเลขเป็นไร่ งาน ตารางวา แต่ถ้ากลุ่มพืชอายุยาวยังไม่ให้ผลผลิตไม่ต้องระบุ ตวั เลขเน้ือทใ่ี หผ้ ล สําหรับนาเกลอื สมทุ รให้ใส่พืน้ ทท่ี าํ นาเกลือทงั้ ผืน หนา้ 26
คู่มอื การขน้ึ ทะเบยี น/ปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 4.13 รหสั การปลกู /เลีย้ ง/การผลติ ตอ้ งระบุตัวเลขตามกจิ กรรมการเกษตรทีท่ าํ จริง - รหสั การปลูก: 1 = สวนเดยี่ ว 2 = สวนแซม 3=สวนผสม - รหสั การเลี้ยง (เพาะเลย้ี งสัตว์นํา้ ): 1 = กระชงั 2 = ในบอ่ 3=ในนา 4=ในร่องสวน 5=อนื่ ๆ - รหสั การเลย้ี ง (ปศสุ ัตว์): 1 = โรงเรือนแบบเปิด 2 = โรงเรอื นแบบปิด 3=อนื่ ๆ - รหสั การผลติ (นาเกลือสมุทร) : 1=ผลิตเกลือเมด็ อย่างเดยี ว 2=ผลิตเกลือเมด็ และเลย้ี งสัตวน์ าํ้ ร่วมด้วย 4.14 ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ น้ําหนักผลผลิตตามลักษณะผลผลิตพืชที่จัดเก็บ (รายละเอียด ภาคผนวก) ผลผลิตพืชรวมท่ีเก็บเกี่ยวได้ ให้ใส่หน่วยเป็นกิโลกรัมต่อพ้ืนท่ีเก็บเกี่ยว สําหรับสัตว์หน่วยเป็นตัว สําหรบั นาเกลือสมุทรใหใ้ สเ่ กลอื เม็ดท่ีผลิตได้ตลอดฤดูการผลิต (รวมทกุ รอบการผลิตประมาณ 5-7 รอบต่อฤดกู าล) 4.15 ระบบเกษตรกรรมยั่งยนื ให้เกษตรกรเลอื กประเภทเกษตรกรรมทีต่ วั เองปฏบิ ัติอยูว่ ่าเป็นรูปแบบใด ให้เลือกเพยี งคําตอบเดียว โดยมีตวั เลือก คอื (1) ไมเ่ ปน็ เกษตรกรรมยัง่ ยืน (2) เป็นเกษตรกรรมยง่ั ยืนใน 5 รปู แบบ คอื - เกษตรผสมผสาน - เกษตรอินทรยี ์ - เกษตรธรรมชาติ - เกษตรทฤษฎีใหม่ - วนเกษตรหรอื ไร่นาป่าผสม ส่วนหนว่ ยงานทีร่ บั รองสามารถเลือกไดม้ ากกว่า 1 คาํ ตอบ รายละเอยี ดตามนิยามศพั ท์ 5. การลงลายมือช่ือในส่วนท้ายของแบบคําร้อง ให้เกษตรกรลงลายมือช่ือรับรองข้อมูลที่แจ้งข้ึนทะเบียน/ ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร พยาน (ผู้นําชุมชน) ลงลายมือเป็นพยานในการแจ้งข้อมูล เจ้าหน้าท่ีผู้รับข้ึนทะเบียน หรือเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรผู้รับผิดชอบตําบล ลงลายมือชื่อ และเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจแบบขึ้นทะเบียน หมายถึงเกษตรอําเภอหรอื ผ้ไู ด้รบั มอบหมาย ลงลายมือช่ือเพอื่ เป็นหลกั ฐานในการตรวจสอบ (เจ้าหน้าที่รับข้ึนทะเบียน ตอ้ งไม่ใชค่ นคนเดียวกบั เจ้าหนา้ ที่ตรวจสอบแบบรบั ข้นึ ทะเบียน) หนา้ 27
คูม่ อื การขึน้ ทะเบยี น/ปรับปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 รหสั ทใ่ี ชแ้ บบคํารอ้ งขอขนึ้ ทะเบียน/ปรับปรงุ ทะเบียนเกษตรกร เป็นรหัสทเ่ี จา้ หนา้ ทไี่ ม่ต้องจดจาํ คน้ หาแต่จะมีปรากฏอยทู่ า้ ยข้อถามในแบบคําร้อง สามารถนาํ ไปใช้ใน แต่ละข้อไดท้ ันที ได้แก่ รหสั การเป็นสมาชกิ องค์กร 1. สหกรณ์ภาคการเกษตร 7. วิสาหกิจชมุ ชน/เครือขา่ ยวิสาหกจิ ชุมชน 2. สหกรณน์ อกภาคการเกษตร 8. สมาคม/สหพันธ์ 3. กลมุ่ เกษตรกร 9. อาสาสมคั รเกษตร 4. กลมุ่ ส่งเสรมิ อาชีพการเกษตร 10. กลุม่ ผใู้ ชน้ า้ํ ชลประทาน 5. กลุ่มแมบ่ า้ นเกษตรกร 11. ธ.ก.ส. 6. กล่มุ ยวุ เกษตรกร 12. เครือขา่ ยเกษตรกรรนุ่ ใหม่ 13. อื่น ๆ รหัสวุฒิการศกึ ษา 1. จบการศึกษาสูงกว่า ปริญญาตรี 2. จบการศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรหี รอื เทยี บเท่า 3. จบการศกึ ษาในระดับ ปวส./อนปุ ริญญา 4. จบการศกึ ษาในระดบั ปวช. 5. จบการศกึ ษาในระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 6. จบการศกึ ษาในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 7. จบการศึกษาในระดบั ประถมศกึ ษา 8. ไมไ่ ด้ศึกษา รหสั การปลกู 1. สวนเด่ยี ว 2. สวนแซม 3. สวนผสม รหัสการเลย้ี ง (การเพาะเลย้ี งสัตวน์ ํา้ ) 1. ในกระชัง 2. ในบ่อ3. ในนา 4. ในร่องสวน 5. อน่ื ๆ เชน่ ในทะเล ในกรง เป็นตน้ รหัสการเล้ยี ง (ปศุสตั ว์) 1. โรงเรอื นแบบเปิด 2. โรงเรอื นแบบปดิ 3. อ่ืนๆ รหสั การผลติ (นาเกลอื สมุทร) 1. ผลิตเกลือเมด็ อย่างเดยี ว 2. ผลติ เกลือเม็ดและเล้ียงสตั วน์ ํ้ารว่ มด้วย หน้า 28
คมู่ อื การขนึ้ ทะเบียน/ปรับปรงุ ทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 บทที่ 5 สมดุ ทะเบียนเกษตรกรและรายงานจากระบบฐานขอ้ มูลทะเบียนเกษตรกร สมุดทะเบยี นเกษตรกร สมุดทะเบียนเกษตรกร คือ เอกสารท่ีใช้แสดงสถานภาพการเป็นเกษตรกร ออกให้ภายหลังจากท่ีได้ ขึ้นทะเบียนเกษตรกรเรียบร้อยแล้ว ใช้ในการบันทึกข้อมูลพ้ืนฐาน ข้อมูลกิจกรรมการเกษตรของครัวเรือน เกษตรกรเจ้าของสมุด เกษตรกรสามารถนําไปใช้ในการยืนยันความเป็นเกษตรกร ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน ประกอบกจิ กรรมการเกษตร และใช้เป็นข้อมลู ในการติดต่อสาํ นักงานเกษตรอําเภอหรือใช้ประกอบการเข้าร่วม โครงการตามนโยบายของภาครัฐ ในการจัดพิมพ์สมุดทะเบียนเกษตรกรแจกให้กับครัวเรือนเกษตรกร สาํ นกั งานเกษตรอาํ เภอควรดําเนินการ ดงั นี้ 1. จดั เตรยี มและตดิ ตั้งเคร่อื งมอื /อุปกรณ์ต่างๆ ใหพ้ ร้อม ตามขัน้ ตอนและวิธกี ารทกี่ ําหนด 2. ตรวจสอบสมุดทะเบียนเกษตรกรที่จะใช้จัดพิมพ์ให้เรียบร้อย สภาพดี เย็บสันเล่มตรง ไม่ชํารุด หากพบสมุดทะเบียนเกษตรกรเย็บไม่เรียบร้อย ชํารุด ให้ทําหนังสือแจ้งกรมส่งเสริมการเกษตรเพื่อเปลี่ยนเล่ม ภายในเวลาท่กี ําหนด (โดยปกตจิ ะตอ้ งเปลยี่ นภายใน 30 วนั นับจากได้รบั สมุดทะเบียนเกษตรกร) 3. ระมดั ระวังในการเปดิ หนา้ สมุดให้ตรงกบั ข้อมลู ท่ีจะพิมพ์ ท้ังน้เี พราะสมุดทะเบยี นเกษตรกรมีราคาแพง และมีสาํ รองในจาํ นวนจาํ กดั 4. การพิมพ์สมุดทะเบียนเกษตรกรให้เกษตรกรรายใหม่ จะต้องทําการติดภาพถ่ายขนาด 1 นิ้ว ทมี่ ุมล่างขวาเหนอื ช่องลงช่ือ เม่อื เกษตรกรลงช่ือแลว้ ให้ประทบั ตราสมดุ ทะเบียนเกษตรกรด้วย 5. การพิมพ์ข้อมูลการประกอบกิจกรรมการเกษตรลงในสมุดทะเบียนเกษตรกร สําหรับพืชท่ีกําหนด ให้มีการตรวจสอบ เม่ือติดประกาศ/ตรวจสอบพื้นที่และบันทึกผลลงในระบบว่า “ผ่าน” แล้ว จึงจะสามารถ จัดพิมพ์ข้อมูลลงในสมุดทะเบียนเกษตรกรได้ ส่วนพืช ปศุสัตว์และประมงท่ีไม่กําหนดให้มีการตรวจสอบ สามารถพมิ พ์ขอ้ มลู ลงในสมดุ ทะเบยี นเกษตรกรไดท้ ันทีหลังแจ้งปรบั ปรุงข้อมลู 6. เกษตรกรบางรายอาจมีข้อมูลจํานวนมาก เน้ือท่ีในสมุดจะไม่เพียงพอต่อการพิมพ์ข้อมูลดังกล่าว ให้พิมพ์ข้อมูลท่ีเกินลงในกระดาษ A4 แล้วแนบให้กับเกษตรกรพร้อมสมุดทะเบียนเกษตรกร และหมายเหตุ ในหน้าข้อมูลเพิ่มเติมด้วย แต่ไม่ต้องเย็บติดกับสมุดทะเบียนเกษตรกรเนื่องจากจะทําให้ไม่สามารถพิมพ์ข้อมูล หน้าอนื่ ๆ ลงในสมุดได้เพราะติดรอยเยบ็ กระดาษ 7. การเปลย่ี นเล่ม/ยกเลกิ สมดุ ทะเบียนเกษตรกร เกิดจากสาเหตุ ดังนี้ 7.1 กรณียกเลิกครัวเรือนเกษตรกร ให้เจาะสมุดท่ีมุมล่างขวา พร้อมหมายเหตุในหน้าข้อมูลเพิ่มเติม ว่ามีการยกเลกิ ครัวเรอื นเกษตรกร 7.2 กรณีเปลี่ยนหัวหน้าครัวเรือนเกษตรกร ให้พิจารณาใช้การขีดฆ่า เขียนชื่อหัวหน้าครัวเรือนใหม่ แล้วลงช่ือกํากับ หรือ ให้เจาะสมุดเล่มเดิมที่มุมล่างขวา แล้วพิมพ์สมุดทะเบียนเกษตรกรเล่มใหม่ โดยจะต้อง หมายเหตุในหน้าข้อมูลเพิ่มเติมทั้งเล่มเดิมและเล่มใหม่ด้วยว่า มีการเปลี่ยนหัวหน้าครัวเรือนจากใครเป็นใคร เพอ่ื ใหต้ รวจสอบยอ้ นกลบั ได้ 7.3 กรณีสมุดเล่มเดิมเต็ม ให้พิจารณาพิมพ์ต่อในกระดาษ A4 หรือ พิมพ์สมุดเล่มใหม่ให้เกษตรกร โดยเจาะสมุดเล่มเดิมท่ีมุมล่างขวา พร้อมหมายเหตุในหน้าข้อมูลเพิ่มเติมทั้งเล่มเดิมและเล่มใหม่ด้วยว่า สมุดเลม่ เดมิ เตม็ จงึ มีการออกเล่มใหม่ และในสมดุ ทะเบยี นเกษตรกรเล่มใหม่ใหเ้ ลือกพมิ พ์เฉพาะข้อมูลปีลา่ สดุ 7.4 กรณเี กษตรกรทําสมุดเลม่ เดมิ หาย ใหพ้ ิมพ์สมุดเลม่ ใหมใ่ ห้เกษตรกร หนา้ 29
คูม่ อื การขึน้ ทะเบียน/ปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 รายงานจากระบบฐานขอ้ มลู ทะเบยี นเกษตรกร เจ้าหน้าที่สามารถเรียกดูรายงานได้จากระบบฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร โดยเลือกเมนู รายงาน แลว้ คลกิ้ เรอ่ื งรายงานทต่ี อ้ งการ ตวั อยา่ งรายงานทีใ่ ชบ้ ่อย เชน่ 1. ผลการดําเนนิ งานข้นึ ทะเบยี น/ปรับปรงุ ทะเบียนเกษตรกร เม่ือเจา้ หนา้ ที่บนั ทกึ ข้อมลู ลงในระบบ รายงานจะปรับเปลี่ยนให้เองโดยตัดยอดเป็นรายวัน โดยจะแสดงภาพรวมของการปรับปรุงข้อมูลในปีปัจจุบัน (ตามปงี บประมาณ) และ ขอ้ มลู รายพืช (ตามปกี ารเพาะปลกู ) 2. รายงานท่เี ก่ยี วข้องกบั กิจกรรมการเกษตร 2.1 รายงาน ทบก 04-1 จํานวนครัวเรือนเกษตรกรจําแนกตามกิจกรรมการเกษตร จะแสดงข้อมูล จํานวนครัวเรือน เน้ือท่ีปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว โดยระบบจะบังคับให้เลือกจังหวัด อําเภอ แต่ไม่บังคับให้เลือก เงือ่ นไขอื่น รายงานจะแสดงตามเงือ่ นไขท่ีเลือก ในการเลือกเง่ือนไข ควรระมัดระวังโดยเฉพาะการเลือกเง่ือนไข ปี กับ การเลือกเง่ือนไข วันท่ีเพาะปลูก วันท่ีคาดว่าจะเก็บเก่ียว เน่ืองจากเงื่อนไข ปี จะค้นหาจากปีท่ีมีการปรับปรุงข้อมูล (ดูได้จาก ปใี นหนา้ กจิ กรรมการเกษตร) ดงั นั้น หากเลือกเงอ่ื นไขเปน็ ปี 2560 ไมผ้ ล/ไมย้ ืนตน้ ท่มี กี ารแจง้ ปลูกไว้นานแล้ว แตไ่ ม่มกี ารมาปรบั ปรุงข้อมูลในปี 2560 จะไมแ่ สดงในรายงานนดี้ ้วย - หากต้องการทราบข้อมูลตามปีการผลิต ควรเลือกเง่ือนไขวันท่ีเพาะปลูก หรือ วันท่ีคาดว่าจะ เกบ็ เก่ียวตามปกี ารผลิตของพืชแตล่ ะชนดิ และไม่ตอ้ งเลอื กเงอ่ื นไข ปี - หากต้องการทราบข้อมูลการปรับปรุงพืชแต่ละชนิดในระบบ ในแต่ละปี ให้เลือกเงื่อนไขปี แตไ่ มต่ ้องเลอื กเงือ่ นไขวันทเี่ พาะปลูก หรือ วันทค่ี าดว่าจะเกบ็ เก่ยี ว - สาํ หรับไม้ผล/ไมย้ ืนตน้ หากต้องการข้อมูลปัจจุบัน ให้เลอื ก ปี เพอื่ จะได้ทราบขอ้ มลู ทเ่ี กษตรกร แจ้งในแตล่ ะปี แต่หากตอ้ งการดูข้อมลู ทง้ั หมด ใหเ้ ลือกวนั ท่เี พาะปลูกย้อนปไี ปตามระยะยนื ตน้ ของพชื แต่ละชนดิ 2.2 รายงาน ทบก 04-2 รายชื่อเกษตรกรจําแนกตามกิจกรรมการเกษตร (ตอ้ งระบพุ ชื แตไ่ ม่ต้องระบหุ มู่) โดยจะมีให้เลือกวา่ ตอ้ งการให้แสดงขอ้ มลู ตามท่ีตง้ั แปลงหรอื ตามทะเบียนบา้ นของเกษตรกร รายงานจะแสดงข้อมูล รหสั ครัวเรอื น ชอื่ – สกุล เลขทบี่ ตั รประจาํ ตัวประชาชน ทต่ี ้งั แปลง ลกั ษณะการถือครอง ประเภทเอกสารสิทธ์ิ เลขที่เอกสารสิทธิ์ พื้นท่ีเต็มในเอกสารสิทธิ์ เนื้อที่ปลูก วันท่ีปลูก เนื้อที่เก็บเก่ียว วันที่คาดจะว่าเก็บเกี่ยว ผลผลิต(ตนั ) ผลผลติ เฉลย่ี (กก./ไร่) และพกิ ัดแปลง 2.3 รายงาน ทบก 04-3 รายช่อื เกษตรกร (ไมต่ อ้ งระบพุ ืช แตต่ ้องระบหุ มู่) โดยจะมีใหเ้ ลือกวา่ ตอ้ งการ ให้แสดงข้อมูลตามท่ีตั้งแปลงหรือตามทะเบียนบ้านของเกษตรกร รายงานจะแสดงข้อมูล รหัสครัวเรือน ช่ือ – สกุล เลขท่ีบัตรประจําตัวประชาชน ท่ีตั้งแปลง ลักษณะการถือครอง ประเภทเอกสารสิทธ์ิ เลขที่เอกสารสิทธิ์ พื้นที่เต็มในเอกสารสิทธิ์ เนื้อท่ีปลูก วันท่ีปลูก เนื้อท่ีเก็บเก่ียว วันที่คาดว่าจะเก็บเกี่ยว ผลผลิต(ตัน) ผลผลติ เฉลี่ย(กก./ไร)่ และพิกดั แปลง รายงานน้คี ล้ายกับรายงาน ทบก 04-2 เพียงแต่ล็อกการเลือกเง่ือนไขต่างกัน รายงาน 04-2 ต้องระบุพืช แต่ไม่ต้องระบุหมู่ ใช้ในกรณีท่ีต้องการทราบรายช่ือเกษตรกรท่ีปลูกพืชท่ีระบุทั้งหมดในตําบล อําเภอ จังหวัดนั้นๆ ส่วนรายงาน ทบก 04-3 ไม่ต้องระบุพืช แต่ต้องระบุหมู่ ใช้ในกรณีที่ต้องการทราบรายชื่อเกษตรกรในหมู่น้ันๆ วา่ ปลูกพชื อะไรบา้ ง การเลือกเง่อื นไข ทบก 04-2 และ ทบก 04-3 ใหใ้ ช้วิธกี ารเดยี วกับ ทบก 04-1 หน้า 30
ค่มู ือการขน้ึ ทะเบยี น/ปรบั ปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 ภาคผนวก • กระบวนงานการขน้ึ ทะเบยี น/ปรับปรงุ ทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 • ระเบยี บคณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ว่าด้วยการข้นึ ทะเบียนเกษตรกร พ.ศ. 2560 • แบบคํารอ้ งทะเบียนเกษตรกร (ทบก.01) สําหรบั ครัวเรอื นเกษตรกร • แบบคําร้องทะเบียนเกษตรกร (ทบก.01) สําหรบั นติ บิ ุคคล • แบบคําร้องขอยกเลิกการข้นึ ทะเบียนเกษตรกร • แบบคาํ รอ้ งขอเปลย่ี นแปลงหวั หนา้ ครัวเรอื นทะเบียนเกษตรกร • แบบคาํ รอ้ งขอเปลี่ยนแปลงสถานทขี่ ้ึนทะเบยี น • อตั ราแปลงไม้ผลไม้ยนื ต้นต่อเนือ้ ที่เพาะปลกู • ลักษณะผลผลติ พชื ท่ีจดั เก็บ • ชนิดพืชที่ควรระบพุ นั ธ์ุในการจดั เกบ็ • การแบง่ กลุม่ ขา้ วตามคณุ สมบตั ทิ เ่ี หมาะสมกับกลมุ่ สนิ ค้าข้าว • ลกั ษณะผลผลติ และหน่วยผลผลิตของแมลงแตล่ ะชนดิ • ตราสัญลกั ษณ์และตวั อย่างเมอ่ื ประทบั ตราสัญลกั ษณ์ในสมดุ ทะเบียนเกษตรกร • คณุ ลกั ษณะเฉพาะ เครอ่ื งพิมพ์ Passbook สมุดทะเบยี นเกษตรกร หน้า 31
ค่มู ือการขนึ้ ทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 หนา้ 32
คมู่ ือการขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 ระเบยี บคณะกรรมการนโยบายและแผนพฒั นาการเกษตรและสหกรณว์ า่ ด้วยการขึ้นทะเบยี นเกษตรกร พ.ศ. 2560 (หนา้ 1) หน้า 33
คมู่ ือการขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 ระเบยี บคณะกรรมการนโยบายและแผนพฒั นาการเกษตรและสหกรณว์ า่ ด้วยการขึ้นทะเบยี นเกษตรกร พ.ศ. 2560 (หนา้ 2) หน้า 34
คมู่ ือการขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 ระเบยี บคณะกรรมการนโยบายและแผนพฒั นาการเกษตรและสหกรณว์ า่ ด้วยการขึ้นทะเบยี นเกษตรกร พ.ศ. 2560 (หนา้ 3) หน้า 35
ค่มู ือการขึน้ ทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 แบบคํารอ้ งทะเบียนเกษตรกร (ทบก.01) สําหรบั ครัวเรือนเกษตรกร (หน้า 1) หนา้ 36
ค่มู อื การข้ึนทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 แบบคาํ รอ้ งทะเบียนเกษตรกร (ทบก.01) สาํ หรบั นิตบิ คุ คล (หนา้ 1) หน้า 37
ค่มู ือการข้ึนทะเบียน/ปรบั ปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 แบบคํารอ้ งทะเบยี นเกษตรกร (ทบก.01) สาํ หรบั ครวั เรือนเกษตรกร/นิตบิ คุ คล (หนา้ 2) หนา้ 38
ค่มู ือการข้ึนทะเบียน/ปรบั ปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 แบบคํารอ้ งทะเบยี นเกษตรกร (ทบก.01) สาํ หรบั ครวั เรือนเกษตรกร/นิตบิ คุ คล (หนา้ 3) หนา้ 39
ค่มู ือการขนึ้ ทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 หนา้ 40
ค่มู ือการขนึ้ ทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 หนา้ 41
ค่มู ือการขนึ้ ทะเบยี น/ปรบั ปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 หนา้ 42
คมู่ อื การข้ึนทะเบียน/ปรบั ปรงุ ทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 อตั ราแปลงไมผ้ ลไมย้ ืนตน้ ตอ่ เนื้อทเี่ พาะปลกู 1. กล้วยหอม 200 ตน้ = 1 ไร่ 30. มะนาว 50 ต้น = 1 ไร่ 31. มะปราง 25 ตน้ = 1 ไร่ 2. กลว้ ยไข่ 200 ต้น = 1 ไร่ 32. มะขามเปรี้ยว 25 ต้น = 1 ไร่ 33. มะขามหวาน 25 ต้น = 1 ไร่ 3. กล้วยนํ้าวา้ 200 ตน้ = 1 ไร่ 34. มงั คุด 16 ตน้ = 1 ไร่ 35. ยางพารา 80 ตน้ = 1 ไร่ 4. กระทอ้ นเปร้ยี ว 25 ตน้ = 1 ไร่ 36. ลิน้ จี่ 20 ต้น = 1 ไร่ 37. ลําไย 20 ต้น = 1 ไร่ พันธ์ุทับทมิ 25 ตน้ = 1 ไร่ 38. ละมดุ 45 ตน้ = 1 ไร่ 39. ลางสาด 45 ต้น = 1 ไร่ พนั ธุป์ ุยฝ้าย 25 ต้น = 1 ไร่ 40. ลองกอง 45 ต้น = 1 ไร่ 41. สม้ โอ 45 ต้น = 1 ไร่ 5. กาแฟ 170 ต้น = 1 ไร่ 42. สม้ เกล้ียง 45 ต้น = 1 ไร่ 43. ส้มตรา 45 ต้น = 1 ไร่ พันธ์โุ รบสั ตา้ 170 ตน้ = 1 ไร่ 44. ส้มเขียวหวาน 45 ตน้ = 1 ไร่ 45. สม้ จกุ 45 ต้น = 1 ไร่ พนั ธุ์อราบิกา้ 533 ต้น = 1 ไร่ 46. สตอเบอรี่ 10,000 ตน้ = 1 ไร่ 47. สาลี่ 45 ต้น = 1 ไร่ 6. กานพลู 20 ต้น = 1 ไร่ 48. สะตอ 25 ต้น = 1 ไร่ 49. หน่อไมไ้ ผต่ ง 25 ต้น = 1 ไร่ 7. กระวาน 100 ต้น = 1 ไร่ 50. หมาก (ยกรอ่ ง) 100-170 ตน้ = 1 ไร่ 8. โกโก้ 150-170 ต้น = 1 ไร่ 9. ขนนุ 25 ตน้ = 1 ไร่ 10. เงาะ 20 ตน้ = 1 ไร่ 11. จําปาดะ 25 ตน้ = 1 ไร่ 12. จันทรเ์ ทศ 25 ต้น = 1 ไร่ 13. ชมพู่ 45 ตน้ = 1 ไร่ 14. ทุเรียน 20 ตน้ = 1 ไร่ 15. ท้อ 45 ต้น = 1 ไร่ 16. น้อยหน่า 170 ตน้ = 1 ไร่ 17. นนุ่ 25 ตน้ = 1 ไร่ 18. บว๊ ย 45 ตน้ = 1 ไร่ 19. ปาล์มน้ํามนั 22 ต้น = 1 ไร่ 20. ฝรงั่ 45 ตน้ = 1 ไร่ 21. พุทรา 80 ตน้ = 1 ไร่ 22. แพสชน่ั ฟร๊ตุ 400 ต้น = 1 ไร่ 23. พริกไทย 400 ตน้ = 1 ไร่ 24. พลู 100 ตน้ = 1 ไร่ 25. มะม่วง 20 ต้น = 1 ไร่ 26. มะพรา้ วแก่ 20 ต้น = 1 ไร่ 27. มะพรา้ วอ่อน 20 ต้น = 1 ไร่ 28. มะม่วงหมิ พานต์ 45 ต้น = 1 ไร่ 29. มะละกอ (ยกร่อง) 100 ต้น = 1 ไร่ (ไม่ยกร่อง) 175 ต้น = 1 ไร่ หน้า 43
คู่มอื การข้ึนทะเบยี น/ปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 ลักษณะผลผลติ พชื ที่จดั เก็บ กาํ หนดรายงานนํ้าหนักผลผลิตของพชื แตล่ ะชนิดตามหลักเกณฑข์ องลักษณะผลผลติ ทจี่ ดั เก็บ และ หน่วยผลผลิตท่กี าํ หนด ดงั น้ี - นํ้าหนกั ของลําต้น ใบ ดอก ฝกั ผล หรอื เมลด็ - นา้ํ หนัก สด หรอื แหง้ - นํา้ หนกั ฝักทงั้ เปลอื ก หรอื ปอกเปลอื ก หรือสีฝัดแล้ว เปน็ ตน้ ช่ือพชื ลักษณะผลผลติ หนว่ ยผลผลิต 1. ขา้ วนาปี ข้าวนาปรัง เมลด็ ข้าวเปลือกที่นวดออกจากรวงขา้ วแล้ว กิโลกรมั ความชน้ื ไม่เกิน 14-15 % 2. ขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ กิโลกรมั เมลด็ ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ท่สี ีออกจากฝักแลว้ 3. ขา้ วฟา่ ง ความชนื้ ไม่เกนิ 14% กิโลกรัม 4. ถวั่ เขียว เมล็ดขา้ วฟ่างทีส่ ีออกจากชอ่ แล้ว กิโลกรัม ความชืน้ ไม่เกิน 14% 5. ถ่วั เหลือง กโิ ลกรมั เมล็ดถ่ัวเขียวทกี่ ะเทาะเปลอื กออกจากฝกั แล้ว 6. ถ่ัวลสิ ง ความชน้ื ไม่เกิน 14% กโิ ลกรัม 7. อ้อยโรงงาน กิโลกรัม 8. มนั สาํ ปะหลัง เมลด็ ถว่ั เหลืองที่กะเทาะเปลือกออกจากฝักแล้ว กโิ ลกรมั 9. ทานตะวัน ความชนื้ ไม่เกิน 14% กิโลกรัม 10. หอมแดง เมลด็ ถวั่ ลิสงทัง้ เปลอื กแห้ง 11. กระเทียม กิโลกรัม 12. หอมหัวใหญ่ ลาํ ต้นอ้อยท่ีตัดใบและยอดออกแลว้ กิโลกรัม 13. มนั ฝรงั่ กโิ ลกรมั 14. พรกิ ไทย หวั มนั สดที่ผ่านการทาํ ความสะอาดเบ้อื งต้นแล้ว กโิ ลกรมั 15. สบั ปะรด กโิ ลกรมั 16. กาแฟ เมลด็ ทานตะวนั ทีส่ อี อกจากจานดอกแล้ว กิโลกรมั 17. ปาล์มนํา้ มนั ความชืน้ ไมเ่ กิน 14% กโิ ลกรมั 18. ยางพารา กิโลกรัม 19. มะพรา้ ว หอมแดงแห้งทั้งตน้ รวมใบ ณ 7 วัน (เหยา้ หอมแดง) กโิ ลกรัม 20. พชื ผกั อน่ื ๆ กโิ ลกรัม กระเทียมแห้งทั้งต้นรวมใบ ณ 90 วัน กิโลกรัม หอมหวั ใหญต่ ัดจุกแลว้ ณ 7 วนั หัวมนั ฝรั่งสด เมลด็ พริกไทยดาํ ผลสดทต่ี ดั จุกและต้นออกแลว้ สารกาแฟ ความชื้นไม่เกิน 14 % ผลปาล์มนาํ้ มันทง้ั ทะลาย ยางแผน่ ดิบ มะพรา้ วผลแก่ทั้งเปลอื ก ผลผลิตสด หลงั ทาํ ความสะอาดเบื้องต้นแลว้ หนา้ 44
คมู่ อื การขน้ึ ทะเบียน/ปรับปรงุ ทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 ชนดิ พชื ทค่ี วรระบพุ ันธุ์ในการจัดเกบ็ ขอ้ มูล ลําดับท่ี ชนดิ พชื พันธุ์ 1. กล้วยไม้ (ตดั ดอก) 1. กลว้ ยไม้พันธพ์ุ น้ื เมอื ง กลว้ ยไม้ (ไมด้ อกกระถาง) 2. กระทอ้ น 2. ฟาแลนอปซิส 3. เงาะ 4. ชมพู่ 3. แวนดา/ แอสโคเซนดา 5. ทเุ รียน 6. มะขามหวาน 4. หวาย 5. มอคคารา/ อแรนดา 6. เรแนนเธอรา/ อแรคนสิ 7. ออนซิเดียม 8. กลว้ ยไมต้ ัดดอกอ่ืนๆ 1. แวนดา / แอสโคเซนดา 2. หวาย 3. กล้วยไมก้ ระถางอ่ืนๆ 1. กระทอ้ นหอ่ 2. กระทอ้ นเปรยี้ ว 3. กระทอ้ นพนั ธุอ์ ื่นๆ 1. เงาะโรงเรยี น 2. เงาะสีชมพู 3. เงาะพันธุอ์ นื่ ๆ 1. ชมพเู่ พชร 5. ชมพูท่ บั ทิมจนั ทร์ 2. ชมพูแ่ ขกดํา 6. ชมพสู่ าแหรก 3. ชมพูท่ ลู เกลา้ 7. ชมพพู่ ันธุอ์ น่ื ๆ 4. ชมพเู่ พชรสวุ รรณ 1. ทุเรยี นชะนี 4. ทเุ รยี นกา้ นยาว 2. ทเุ รยี นกระดมุ 5. ทุเรยี นพวงมณี 3. ทเุ รยี นหมอนทอง 6. ทเุ รยี นอน่ื ๆ 1. มะขามสที อง 6. มะขามอนิ ทผาลัม 2. มะขามศรีชมพู 7. มะขามพระโรจน์ 3. มะขามหมนื่ จง 8. มะขามประกายทอง 4. มะขามขนั ตี 9. มะขามหวานอ่นื ๆ 5. มะขามนํ้าผึง้ หนา้ 45
ค่มู ือการขนึ้ ทะเบยี น/ปรบั ปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 ลาํ ดบั ท่ี กลมุ่ พชื สายพนั ธ์ุ 7. มะม่วง 1. มะม่วงแรด 11. มะมว่ งฟา้ ลัน่ 2. มะมว่ งเขยี วเสวย 12. มะม่วงงามเมืองยา่ 8. ล้ินจ่ี 3. มะม่วงน้ําดอกไม้ 13. มะมว่ งเพชรบา้ นลาด 9. ส้มโอ 4. มะมว่ งหนังกลางวัน 14. มะมว่ งยายกลา่ํ 10. กาแฟ 5. มะม่วงทองดาํ 15. มะม่วงเขียวมรกต 11. หมอ่ น 6. มะม่วงอกรอ่ ง 16. มะม่วงมหาชนก 7. มะมว่ งพมิ เสนเปร้ยี ว 17. มะมว่ งขาวนิยม 8. มะมว่ งแก้ว 18. มะม่วงนวลจนั ทร์ 9. มะม่วงโชคอนนั ต์ 19. มะมว่ งพันธอุ์ ่ืนๆ 10. มะม่วงหนองแซง 6. ล้นิ จไ่ี ทย 1. ลิน้ จี่ฮงฮวย 7. ลิ้นจีจ่ นี 2. ลิน้ จโ่ี อเฮี้ยะ 8. ลิ้นจส่ี ําเภาแกว้ 3. ลิน้ จกี่ ิมเจง็ 9. ล้ินจี่นพ.1 4. ล้ินจี่จกั รพรรดิ 10. ล้ินจีพ่ ันธุ์อ่ืนๆ 5. ล้ินจี่คอ่ ม 6. ส้มโอขาวใหญ่ 1. ส้มโอทองดี 7. ส้มโอขาวแตงกวา 2. ส้มโอขาวแปน้ 8. ส้มโอท่าข่อย 3. สม้ โอขาวพวง 9. สม้ โอทับทิมสยาม 4. ส้มโอขาวนํา้ ผึ้ง 10. ส้มโอพนั ธ์ุอ่ืนๆ 5. ส้มโอขาวหอม 2. กาแฟโรบสั ต้า 1. กาแฟอาราบกิ ้า 2. หมอ่ นบริโภคสด 3. กาแฟพนั ธ์ุอน่ื ๆ 1. หม่อนเลย้ี งไหม/ผลิตชา 12. ยางพารา 1. ยางพาราพันธ์ุส่งเสรมิ 2. ยางพาราพนั ธุพ์ ืน้ เมือง 13. มะพรา้ ว 1. มะพรา้ วแก่ 2. มะพรา้ วออ่ น 14. ไผ่ 3. มะพร้าวน้ําตาล-พันธสุ์ ีหม้อ 5. ไผ่เล้ียง 15. มันสําปะหลงั 6. ไผห่ มาจู 1. ไผ่ตงเขยี ว 7. ไผบ่ งหวาน 2. ไผต่ งดํา 8. ไผพ่ ันธุ์อ่นื ๆ 3. ไผส่ สี ุก 7. ห้วยบง 4. ไผ่รวก 8. ระยอง 7 1. ระยอง 1 9. ระยอง 9 2. ระยอง 3 10. ห้วยบง 60 3. ระยอง 5 11. หว้ ยบง 80 4. ระยอง 60 12. มันสาํ ปะหลงั พันธ์อุ ืน่ ๆ 5. ระยอง 90 6. KU50 หน้า 46
คู่มอื การขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 การแบง่ กลมุ่ ข้าวตามคณุ สมบตั ทิ ่เี หมาะสมกบั กลมุ่ สินค้าขา้ ว กลุ่มพนั ธ์ุ พันธ์ุข้าว หมายเหตุ 1. ขา้ วหอมมะลิ หอมมะลิ เรียกใน ขาวดอกมะลิ 105 จงั หวดั ภาคอีสาน ขาวดอกมะลิ 105 (หอมจังหวัด) ทง้ั หมด และ เชยี งใหม่ กข15 เชียงราย พะเยา กข15 (หอมจงั หวดั ) นอกนัน้ เรยี ก หอมจงั หวัด 2. ขา้ วหอมไทย กข33 (หอมอุบล 80) หอมสพุ รรณบรุ ี ขา้ วเจา้ ท่ีมอี มโิ ลส กข51 หอมคลองหลวง 1 ไม่เกนิ ร้อยละ 20 ปทมุ ธานี 1 หอมพษิ ณโุ ลก 1 ขา้ วเจา้ ที่มอี มโิ ลส เกินรอ้ ยละ 20 3. ขา้ วขาว 3.1 ข้าวขาวพืน้ นิม่ กข21 กข53 พษิ ณุโลก 60-1 กข39 กข59 พิษณุโลก 80 กข45 กข65 นางมล เอส-4 3.2 ขา้ วขาวพ้นื แขง็ กข1 กข43 ขาวกอเดียว กข3 กข47 ขาวกอเดียว 35 กข5 กข49 ขาวเกษตร กข7 กข55 ขาวคลองหลวง กข9 กข57 ขาวชะลอ กข11 กข61 ขาวญวน กข13 กข63 ขาวตาแหง้ 17 กข17 กข69 (ทบั ทิมชมุ แพ) ขาวบา้ นนา กข19 กข71 ขาวปากหมอ้ 148 กข23 กวก.1 (ขา้ วญีป่ ุ่น) ขาวมานะ กข25 กวก.2 (ขา้ วญ่ีปนุ่ ) ขาวมาเล กข27 กอเตีย้ ขาวลอย กข29 (ชยั นาท 80) ก้อนแกว้ ขาวอากาศ กข31 (ปทุมธานี 80, ซีอโี อ) กู้เมอื งหลวง ขา้ วเจ้าแดง กข35 (รงั สติ 80) เก้ารวง 88 ขา้ วแดง กข37 แกน่ จันทร์ ขา้ วนํา้ ย้อย กข41 ขาวกระปอ๋ ง ขา้ วเบอร์ 17 หน้า 47
คู่มือการขน้ึ ทะเบยี น/ปรบั ปรุงทะเบยี นเกษตรกร ปี 2561 พันธ์ขุ ้าว หมายเหตุ ทองมาเอง ยาไทร นางพญา 132 ยายอ กลุ่มพันธ์ุ น้ํารู รวงรี 3.2 ข้าวขาวพน้ื แข็ง ข้าวสนิ เหล็ก นํ้าสะกยุ 19 ราชินี บวั มะ สพุ รรณบุรี 1 (ตอ่ ) ขา้ วหลวง บว่ั ม๊ัง สุพรรณบุรี 2 ข้าวหลวงสนั ป่าตอง บางแตน สพุ รรณบุรี 3 ข้าวเหลอื ง บือแขะ สพุ รรณบุรี 4 เขม็ ทองพัทลงุ บอื จ่อควา สพุ รรณบรุ ี 60 ไข่มดรน้ิ บือนอ่ โพ สุพรรณบรุ ี 90 ฆอรอ ปิ่นเกษตร 4 สุรนิ ทร์ 1 เจ็กเชย 1 ปน่ิ แก้ว 56 แสงหมกึ เจ้าขาวเชียงใหม่ แปดห้า หลวงประทาน เจ้าลซี อสนั ปา่ ตอง เผอื กนํ้า 43 หอมกุหลาบแดง เจ้าเหลือง 11 พรสวรรค์ หอมจันทร์ เจา้ ฮอ่ พลายงามปราจนี บุรี หอมชลสิทธิ์ เฉ้ียงพทั ลุง พวงแกว้ หอมไชยา ชอ่ ขงิ พวงเงนิ หอมดง ชอ่ ลุง 97 พวงเงินพวงทอง หอมธรรมศาสตร์ ชัยนาท 1 พวงทอง หอมใบเตย ชัยนาท 2 พวงไร่ 2 หอมสรุ นิ ทร์ ชมุ แพ 60 พทั ลงุ หนั ตรา 60 ซติ โต้เจ้าแปด พัทลุง 60 หัวนา ซ-ี 75 พษิ ณุโลก 2 เหลืองเกษตร ซีบกู ันตัง พษิ ณุโลก 3 เหลืองประทวิ 123 ซพี ี111 พษิ ณโุ ลก 60-2 เหลืองใหญ่ 148 ซปุ เปอรไ์ รซ์ โพธิ์ทอง เหลอื งออ่ น ดอกข่า มะจานู อยธุ ยา 1 ดอกพะยอม มาเลเซีย อ่อนขาว ดัก 2 มาเลแดง ออ่ นสุราษฎร์ ดากวา่ โพ มูเซอ อ่อนเหลอื ง ดาหะแล๊ะ แมแ่ ป๊ด อาเนาะกนู ิง ดี 4 ตะเภาแก้ว 161 เตย้ี มาเล ทองมาแซง หน้า 48
Search