Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

1

Published by สุภาวิตา ทองน้อย, 2019-07-26 05:15:29

Description: 1

Search

Read the Text Version

�����������6.indd 1 147//2560 BE 17:09

ความอยดู่ ีมีสขุ ของครอบครัวไทย ภเู บศร์ สมุทรจักร, ธรี นชุ ก้อนแกว้ และรฎิ วัน อเุ ด็น ขอ้ มูลทางบรรณานกุ รม ความอยู่ดีมีสขุ ของครอบครัวไทย/ภเู บศร์ สมทุ รจกั ร, ธรี นุช ก้อนแก้ว และ รฎิ วัน อุเด็น. -- พมิ พ์คร้งั ท่ี 1. – นครปฐม : สถาบนั วิจยั ประชากรและสังคม มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล, 2559. (เอกสารทางวชิ าการ/สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลยั มหิดล ; หมายเลข 459) ISBN 978-616-279-922-8 1. ครอบครวั ไทย. 2. ครอบครัว -- ไทย. 3. ครอบครัว -- แง่สงั คม. 4. ความสขุ -- ไทย. 5. การดำ� เนินชีวติ . 6. ความสัมพันธ์ในครอบครัว. 7. การท�ำงานและครอบครัว. I. ภูเบศร์ สมุทรจักร. II. ธีรนุช ก้อนแก้ว. III. ริฎวนั อเุ ด็น. IV. มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบนั วิจัยประชากรและสังคม. V. ชอ่ื ชดุ . HQ743 ค181 2559 พิมพค์ ร้ังที่ 1 เมษายน 2560 จำ� นวนพิมพ์ 200 เลม่ บรรณาธิการ ประทีป นยั นา กราฟฟิก {เป็นหนง่ึ } สนับสนุนการจัดพิมพ์โดย สำ� นกั งานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั (สกว.) จดั พิมพ์ สถาบันวจิ ยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหดิ ล 999 ถนนพทุ ธมณฑลสาย 4 ศาลายา พทุ ธมณฑล จังหวดั นครปฐม โทรศพั ท์ 0-2441-0201-4 ต่อ 404 โทรสาร 0-2441-9333 Website: http://www.ipsr.mahidol.ac.th พมิ พท์ ่ี โรงพิมพเ์ ดอื นตุลา 39/205-206 ซอยวิภาวดรี งั สิต 84 แขวงสนามบนิ เขตดอนเมอื ง กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 02-996-7392-4 โทรสาร 02-996-7395 e-mail: [email protected] �����������6.indd 2 147//2560 BE 17:09

ด้วยความขอบพระคุณย่งิ ผจู้ ดั ทำ� หนงั สอื “ความอยดู่ มี สี ขุ ของครอบครวั ไทย” ขอขอบพระคณุ ทา่ นโฆสติ ปน้ั เปย่ี มรษั ฏ์ ทใ่ี หค้ วามสำ� คญั ตอ่ การศกึ ษาเกย่ี วกบั การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากรไทยทมี่ ตี อ่ การพฒั นา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างต่อเน่ือง จนท�ำให้เกิดชุดโครงการวิจัยความอยู่ดีมีสุข ของครอบครวั ไทย ซงึ่ เปน็ ทมี่ าของหนงั สอื เลม่ น้ี และเปน็ แรงบนั ดาลใจอนั สำ� คญั ของคณะผวู้ จิ ยั ชดุ โครงการวจิ ัยนีต้ ราบจนวาระทีท่ ่านถงึ แก่อนจิ กรรมเมอื่ วนั ที่ 1 มิถนุ ายน 2559 ซึ่งเป็นวันที่ น�ำเสนอผลการศึกษาจากโครงการวิจัยต่างๆ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร ซงึ่ ทา่ นไดร้ เิ รมิ่ ไว้ และขอขอบพระคณุ สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั (สกว.) ทใ่ี หก้ ารสนบั สนนุ ดา้ นงบประมาณ รวมทง้ั รองศาสตราจารย์ ดร.ปทั มาวดี โพชนกุ ลุ รองผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งาน กองทนุ สนับสนนุ การวจิ ยั ศาสตราจารยเ์ กยี รติคณุ ดร.ปราโมทย์ ประสาทกลุ ศาสตราจารยเ์ กยี รติคณุ ดร.อภชิ าติ จ�ำรสั ฤทธริ งค์ และรองศาสตราจารย์ ดร.สุรยี พ์ ร พันพึ่ง ทีป่ รึกษาชดุ โครงการวจิ ัยฯ โดยเฉพาะ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ปราโมทย์ ประสาทกุล ท่ีได้กรุณาตรวจทานต้นฉบับ ของหนังสือเล่มนี้ร่วมกับ ศาสตราจารย์ ดร.ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ นอกจากน้ีขอขอบพระคุณ คณุ จริ ะพนั ธ์ กลั ลประวทิ ย์ และคณะทปี่ รกึ ษากรอบประเดน็ การวจิ ยั เชงิ ยทุ ธศาสตร์ 9 สำ� นกั งาน กองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั ทกุ ทา่ น รวมทงั้ คณุ ศศธิ ร ศกั ดจิ์ ริ พาพงษ์ ผปู้ ระสานงาน SRI 9 ทกี่ รณุ า ให้ค�ำชแ้ี นะที่เป็นประโยชนย์ ง่ิ จนชดุ โครงการวจิ ัย และหนงั สือเลม่ น้สี ำ� เร็จลลุ ่วงในที่สดุ ภูเบศร์ สมุทรจกั ร ธีรนุช ก้อนแก้ว รฎิ วัน อเุ ดน็ �����������6.indd 3 147//2560 BE 17:09

“ แม่-ภรรยาแบบเตม็ เวลา (Full-time housewife) มีจ�ำ นวนน้อยลงอยา่ งรวดเร็ว ในสงั คมไทยในศตวรรษทผ่ี ่านมา “

สารบัญ อารมั ภบท ก บทท่ี 1 สังคมไทย ครอบครัวไทย... 1 • “ครอบครวั ” ในนยิ าม 1 • การเปลย่ี นแปลงของ “สถาบัน” ครอบครวั ไทย 3 • การศกึ ษาของสตรี..บทบาทหญงิ ไทยทีเ่ ปล่ียนแปลง 10 14 กบั หน่ึงศตวรรษของแม่บา้ นเตม็ เวลาท่หี ายไป 18 • คนรนุ่ ใหมก่ ับการสรา้ งครอบครัว 20 • การศกึ ษาเพ่อื เตรยี มความพรอ้ มใหก้ บั ลกู 22 • สมดุลของการทำ� งานและการใชช้ ีวติ (Work-life balance) 27 31 พ้ืนที่ทับซ้อนระหว่างออฟฟิศกับบ้าน 31 • การขยายตวั ของคนชั้นกลาง นคราภิวฒั น์ 32 กบั ความสับสนของครอบครัวคนชั้นกลาง • ครอบครวั ชนบทไทย...จากวันสง่ ลกู ไปทำ� งานในกรงุ ถึงวนั รับหลานกลบั มาเลยี้ ง บทท่ี 2 มติ ิ “ครอบครัว” ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาต ิ • จากจดุ เร่ิมประชากรล้น ในฉบับที่ 1 จนถงึ ประชาชนระดบั ทดแทนในฉบบั ที่ 7 • แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2540–พ.ศ. 2544) “คน” เปน็ ศูนยก์ ลางการพัฒนา “ครอบครัว” ตอ้ งมีขนาดทเี่ หมาะสม

• แผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545–พ.ศ. 2549) 34 สร้างความแข็งแรงของครอบครัว และชมุ ชน เพอื่ ฝ่าวกิ ฤตเศรษฐกิจ 36 • แผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 10 (พ.ศ. 2550–พ.ศ. 2554) 37 การขยายตัวของโลกโซเชยี ลกับความลอ่ แหลม 38 ของส่ือออนไลนท์ ี่บ่นั ทอนครอบครวั 41 41 • แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 11 (พ.ศ. 2555–พ.ศ. 2559) 43 สังคมสงู วัย กระแส AEC และสงั คมดจิ ิตัล 45 46 • ทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560–พ.ศ. 2564) 51 ครอบครัวเสย่ี งลม่ สลาย สังคมสูงวัย เด็กไรป้ ระสิทธิภาพ 53 บทท่ี 3 ตวั ชว้ี ดั “ความอยูด่ ีมีสขุ ” ของครอบครวั 107 • ความอยู่ดมี สี ขุ เชิงอัตวิสยั และเชิงภววิสัย 113 • ตวั ช้ีวดั ความอยดู่ ีมีสขุ ของครอบครวั ในประเทศมาเลเซยี 123 • ตวั ชว้ี ดั ความอยูด่ ีมสี ขุ ของครอบครวั ในประเทศนวิ ซีแลนด ์ • การพัฒนาตัวชีว้ ดั ความอยู่ดีมีสุขของครอบครวั ในประเทศไทย ส่งทา้ ย ความอยดู่ ีมีสขุ ของครอบครัวไทย “การน�ำเสนอผลการวจิ ัย ชุดโครงการวจิ ัย ความอยู่ดมี ีสุขของครอบครัวไทย: สมดุลชวี ติ และการท�ำงานเพอื่ การสร้างครอบครวั -สถานรบั เลย้ี งเด็ก ตัวช่วยส�ำคัญของพอ่ แม่ยุคใหม-่ ความสขุ ของครอบครัวไทยในชนบท” วันท่ี 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 9.00 – 12.00 น. ณ หอ้ งกมลทิพย์ 1 โรงแรม เดอะ สุโกศล บรรณานุกรม ภาคผนวก ดชั นีคน้ คำ� �����������6.indd 6 147//2560 BE 17:09

สารบัญภาพ ภาพที่ 1 นกั วิจยั ชุดโครงการอยดู่ ีมีสุข 53 ภาพที่ 2 การลงทะเบียนเขา้ ร่วมประชุม 54 ภาพที่ 3 กจิ กรรมภายในห้องประชุม 55 ภาพท่ี 4 หัวหนา้ โครงการกล่าวนำ� 56 ภาพท่ี 5 ผอ.สถาบนั ฯ กล่าวเปดิ งานประชุม 56 ภาพท่ี 6 รองผ้อู ำ� นวยการวจิ ยั เชิงยทุ ธศาสตร์ สกว.กลา่ วเปดิ งานและต้อนรบั 58 ภาพที่ 7 รายงานผลการวิจยั โครงการส่งเสริมการมีบุตรผา่ นการสร้างสมดุลฯ 60 ภาพที่ 8 รายงานผลการวจิ ัยการให้บริการศูนยศ์ ึกษากอ่ นวัยเรียน เขตกรุงเทพฯ และปรมิ ณฑล 71 ภาพท่ี 9 รายงานผลการวจิ ยั ความอยูด่ ีมีสุขของครัวเรอื นชนบท ภายใตก้ ารเปลี่ยนแปลงทางประชากรและสังคม 77 ภาพท่ี 10 ผูท้ รงคณุ วฒุ ิใหข้ อ้ แนะน�ำ 93 ภาพท่ี 11 ผ้เู ข้ารว่ มประชุมใหข้ อ้ แนะนำ� 95 ภาพที่ 12 ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิให้ขอ้ แนะน�ำ 97 ภาพท่ี 13 ผู้เขา้ รว่ มประชมุ ใหค้ ำ� แนะน�ำ 100 ภาพท่ี 14 ผทู้ รงคุณวฒุ ใิ ห้ขอ้ แนะนำ� 105 �����������6.indd 7 147//2560 BE 17:09

�����������6.indd 8 147//2560 BE 17:09

“ “ ภูเบศร์ สมทุ รจกั ร ธีรนุช กอ้ นแกว้ รฎิ วัน อุเด็น �����������6.indd 9 147//2560 BE 17:09

การเปล่ยี นแปลงทาง สงั คม เศรษฐกจิ การเมือง และโครงสร้างประชากร ส่งผลตอ่ กนั และกันอย่างลกึ ซงึ้ ในรปู แบบสามมิติตลอดเวลา �����������6.indd 10 147//2560 BE 17:09

อารัมภบท การเปลย่ี นแปลงทางสงั คม เศรษฐกจิ การเมอื งและโครงสรา้ งประชากร สง่ ผลตอ่ กนั และกนั อย่างลึกซึ้งในรูปแบบสามมิติตลอดเวลา ไม่สามารถบอกได้ว่าอะไรเป็นต้นเหตุ อะไรเป็น ปลายเหตุ สรปุ ไดเ้ พยี งวา่ การเปลยี่ นแปลงของโลกซง่ึ เกดิ ขน้ึ เปน็ ปกตธิ รรมดาเสมอเปน็ เหตปุ จั จยั ที่ส�ำคัญ ในบางยุคการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อทุกมิติ ดังเช่น ในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมท�ำให้ท่ีท�ำงานและบ้านแยกออกจากกัน ในบางยุคการเปล่ียนแปลง ทางด้านการเมืองท�ำให้เกิดนโยบายท่ีส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงทางโครงสร้างประชากร เช่น นโยบายลกู คนเดยี วในสาธารณรัฐประชาชนจนี หรอื นโยบายกระตุ้นการเกิดของประธานาธิบดี เชาเชสกู ในประเทศโรมาเนีย และการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากร ท�ำให้ลักษณะ การอยรู่ ว่ มกนั ของสมาชกิ ในครอบครวั เปลยี่ นแปลงไป นกั ธรุ กจิ ตอ้ งมกี ารปรบั ตวั ทงั้ ในการพฒั นา สินค้า และบริหารให้สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึน การพัฒนาจากครอบครัวขยายสู่ ครอบครวั เดย่ี ว และตอ่ ไปยังครอบครัวทเ่ี ลก็ กว่าครอบครัวเดี่ยวในปัจจุบัน ท่ีอยู่อาศยั ทม่ี ขี นาด เลก็ ลง ขนาดของหอ้ งครวั และเครอื่ งใชใ้ นการประกอบอาหารทเ่ี หลอื แตเ่ พยี งตเู้ ยน็ กบั ไมโครเวฟ จากการอยใู่ นแนวราบแบบบา้ นเดย่ี ว ไปสกู่ ารอยใู่ นแนวดง่ิ แบบอพารต์ เมนท์ หรอื คอนโดมเิ นยี ม ในระยะเวลา 50 ปที ี่ผา่ นมา สังคมไทยไดผ้ ่านการเปล่ยี นแปลงทง้ั ด้านสังคม เศรษฐกจิ และการเมอื งทมี่ ผี ลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของครอบครวั ไปพรอ้ มๆ กบั ทอ่ี น่ื ๆ ในโลก และยง่ิ เมอ่ื โลก เช่ือมโยงใกลช้ ดิ กนั จากปรากฏการณโ์ ลกาภวิ ัตนท์ ีก่ อ่ ตวั ชัดเจนขึ้นเมอื่ 30-40 ปที ีแ่ ล้ว ยงิ่ ท�ำให้ สังคมไทย และครอบครัวไทยเผชิญกับชะตากรรมคล้ายคลึงกันกับครอบครัวในประเทศอื่นๆ มากข้นึ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาตติ ัง้ แต่ฉบบั ท่ี 1 ทเี่ ร่ิมต้งั แต่ พ.ศ. 2504 จนถึง ฉบับที่ 12 ซึ่งก�ำลังอยู่ระหว่างการตกผลึกในขณะน้ี เป็นทั้งกระจกสะท้อนความเป็นไปใน สงั คมไทยในแตล่ ะยคุ และเปน็ กลไกสำ� คญั ทสี่ รา้ งการเปลย่ี นแปลงในสงั คมไทยเพอื่ แกไ้ ขปญั หา และมุ่งไปสแู่ นวทางในการพฒั นาตามอดุ มการณ์ในแตล่ ะสมยั ความอยดู่ มี ีสุขของครอบครัวไทย ก �����������6.indd 11 147//2560 BE 17:09

คล่ืนการเปล่ียนแปลงทางสังคม และเศรษฐกิจ ที่สาดโถมสังคมไทยเป็นระลอกต่อเน่ือง น�ำการเปล่ียนแปลงมาสู่สังคม และครอบครัวไทยในมิติต่างๆ ท�ำให้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติบรรจุนโยบายเพ่ือประคับประคองให้สังคม และครอบครัวไทย อยู่ร่วมกันด้วย ความ “อยู่ดีมีสุข” ท�ำหน้าที่เป็นพ้ืนฐานอันส�ำคัญในการจรรโลงความเจริญและความสงบสุข ของสังคมไทยให้สามารถพัฒนา แข่งขัน และอยรู่ อดได้ในโลกท่นี ับแต่จะเลก็ ลงทกุ วัน หนังสือ “ความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย” เล่มน้ี เป็นการสังเคราะห์ผลการศึกษา จากโครงการวจิ ยั ยอ่ ย 3 โครงการ ไดแ้ ก่ (1) โครงการวจิ ยั การสง่ เสรมิ การมบี ตุ ร ผา่ นการสรา้ ง สมดุลในการท�ำงานและการสร้างครอบครัวที่มีคุณภาพ (2) โครงการวิจัยการให้บริการ ของศนู ยก์ ารศกึ ษากอ่ นวยั เรยี นในเขตกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล และ (3) โครงการวจิ ยั ความอยู่ดีมีสุขของครัวเรือนชนบทไทยภายใต้การเปล่ียนแปลงทางประชากรและสังคม ซ่ึงแม้จะไม่ครอบคลุมทุกมิติ และทุกประเด็นของการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับครอบครัวไทย แตเ่ ปน็ ประเดน็ ยอ่ ยสำ� คญั ทสี่ ง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจในการสรา้ งครอบครวั และมลี กู ของคนหนมุ่ สาว ยุคปจั จุบัน เป็นประเด็นทีไ่ ม่เคยเป็นปัญหาในสังคมไทยเมือ่ 30-40 ปกี อ่ น เมื่อครง้ั ทค่ี รอบครัว ไทยยังเป็นครอบครัวขยาย การโยกย้ายถิ่นฐานเพ่ือการท�ำงานและการศึกษายังมีไม่มากนัก มกี ารช่วยเหลือเกอื้ กูลกนั ภายในครอบครวั และชมุ ชน ซ่ึงลว้ นเปน็ ญาติพ่ีน้อง หรือแมไ้ ม่ใช่ญาติ โดยตรง แต่มีความใกล้ชิด รู้จักมักคุ้นกัน การแข่งขันเพ่ือการเล่ือนชั้นทางสังคมยงั ไมร่ นุ แรง การเลย้ี งดลู กู ยงั ไมย่ งุ่ ยาก ซบั ซอ้ น และใชเ้ งนิ มากนกั การเลย้ี งลกู ยงั เปน็ การเลยี้ งดใู ห้เป็นคนดี มีความกตัญญู ตอบแทนบุญคุณพ่อแม่ เป็นคนดีของสังคม ในขณะท่ีการเล้ียงลูกในวันนี้ กลายเป็นการ “ลงทุน” ที่ตอ้ งใช้เงนิ ทุนมหาศาล เพื่อให้ลกู สามารถแขง่ ขันในสงั คมท่มี าตรฐาน การดำ� รงชวี ติ ทกุ มติ แิ พงขนึ้ ทกุ ขณะตามการยกระดบั ของรายได้ และการขยายตวั ของชนชน้ั กลาง ในสังคมไทย ที่มาพร้อมกับ “ความเป็นสมัยใหม่” ของศตวรรษท่ี 20 และ 21 การท�ำงาน มากขึ้นและหนักขึ้น จนมีผลต่อสมดุลในการด�ำรงชีวิตและการสร้างครอบครัว ชีวิตทุกระดับ รายได้ล้วนมีเงินไม่พอตอ่ มาตรฐานการดำ� รงชวี ติ ทต่ี นเองปรารถนา การเพมิ่ ของรายไดท้ ไี่ มท่ นั ตอ่ การเพมิ่ ของคา่ ครองชพี ท�ำให้คนช้ันกลางส่วนหน่ึงสับสนละล�่ำละลักกับวิถีชีวิตในแบบฉบับ ของเพ่ือนท่ีเคยร่วมชั้นเรียน หรือเพื่อนร่วมงาน ซ่ึงมีรายได้ปานกลางถึงสูงข้ึนไปมีเงินใช้แบบ เหลอื เฟอื แตต่ วั เองตอ้ งใชแ้ บบแทบไมม่ เี หลอื เกบ็ การมลี กู และการสรา้ งครอบครอบครวั ไมง่ า่ ย เหมอื นสมยั กอ่ น ข ภูเบศร์ สมุทรจักร I ธรี นุช ก้อนแกว้ I รฏิ วนั อุเดน 147//2560 BE 17:09 �����������6.indd 12

เงอื้ มสมั ผสั แหง่ ความเปน็ สมยั ใหมแ่ หง่ ศตวรรท่ี 20 และ 21 ขยายจากในเมอื งและเรมิ่ เขา้ มา ใกล้ชิดกับสังคมชนบทไทย ซึ่งเคยเป็นแหล่งเกษตรกรรมและพ้ืนที่วิถีชีวิตดั้งเดิม นับต้ังแต่ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 5 (พ.ศ. 2525-2529) ความพยายามในการกระจาย ความเจรญิ ซงึ่ กระจกุ ตวั อยูท่ กี่ รุงเทพฯ ท�ำใหเ้ กิดนคิ มอตุ สาหกรรมแถบหวั เมอื งในภูมิภาคต่างๆ ลกู หลานชาวชนบททคี่ รง้ั หนง่ึ ลาจากบา้ นเขา้ ไปขายแรงงาน เพอ่ื แสวงหาโอกาสและชวี ติ ใหมใ่ น กรงุ เทพฯ มาบดั น้คี วามเจริญเขา้ มาถึงจังหวัดหรืออำ� เภอของตน เกิดการขยายตัวของพนื้ ท่ีเขต เมอื งเขา้ ไปใกลท้ อ้ งทงุ่ หา้ งสรรพสนิ คา้ ในตา่ งจงั หวดั อยหู่ า่ งจากทงุ่ นาไปไมก่ เี่ มตร การยา้ ยออก จากไร่นา และลาจากอาชีพเกษตรกรรมเพื่อไปขายแรงงานในรูปแบบต่างๆ ยังเป็นสัญลักษณ์ แห่งความก้าวหน้า ระยะเวลากว่า 30 ปีแห่งการกระจายความเจริญให้ครอบคลุมทั่วประเทศ ยงั คงทำ� ใหห้ นมุ่ สาววยั แรงงานยา้ ยออกจากบา้ นนาและทง้ิ พอ่ เฒา่ แมเ่ ฒา่ ใหอ้ ยเู่ ฝา้ บา้ น เกดิ เปน็ ครัวเรือนท่ีมีแต่ผู้สูงอายุ และเป็นปรากฏการณ์ท่ีน่าเป็นห่วงของสังคมชนบทไทย สังคมไทย ศตวรรษท่ี 21 ได้น�ำหลานน้อยที่เกิดในเมืองกลับมาให้พ่อเฒ่าแม่เฒ่าช่วยเลี้ยง เพราะชีวิตใน สังคมเมืองอัตคัต และไม่น่าไว้วางใจเกินกว่าจะเลี้ยงดูลูกไปด้วยท�ำงานไปด้วยได้ กลายเป็น ครัวเรือนข้ามรุน่ ทเี่ ปราะบางเสียย่งิ กวา่ ครัวเรอื นทม่ี ีแต่ผ้สู งู อายุ และแม้จะมีกระแสการกลับมา พลิกฟืน้ ผืนดินและทรัพย์สนิ ที่บ้านเกิดบ้าง แตก่ ็ยงั นบั ว่ายังมนี ้อยมาก ชีวิตครอบครัวในแต่ละยุคสมัย มีความเปราะบางในตัวของมันเอง เป็นความเปราะบาง ในรปู แบบใหม่ ความ “อยดู่ มี สี ขุ ” ขน้ึ อยกู่ บั การทค่ี นในครอบครวั เหน็ คณุ คา่ ของสถาบนั ครอบครวั และคณุ คา่ ของกนั และกัน พยายามช่วยเหลอื เก้ือกลู กนั ในบรบิ ทท่ีสร้างข้อจำ� กัดใหมๆ่ ในสงั คม ซ่ึงภาครัฐและเอกชนต้องมีบทบาทในการสร้างกลไกที่เอ้ือต่อการสร้าง และดูแลครอบครัว ให้ “อยดู่ ”ี และ “มีสขุ ” �����������6.indd 13 ความอย่ดู ีมีสุขของครอบครัวไทย ค 147//2560 BE 17:09

““ นิยาม และความเปน็ อยู่ของ “ครอบครัว” เปลีย่ นไป  ตามการเปลยี่ นแปลงของสังคมไทย ในศตวรรษท่ี 21 �����������6.indd 14 147//2560 BE 17:09

บทท่ี 1 สงั คมไทย...ครอบครัวไทย “ครอบครัว” ในนิยาม คำ� วา่ “ครอบครวั ” มคี วามหมายอนั ลกึ ซง้ึ ตอ่ มนษุ ยชาติ เพราะเปน็ สงิ่ ทผ่ี กู พนั ทกุ ชวี ติ มา ต้ังแตแ่ รกเกดิ ไมว่ ่าความผกู พันนน้ั จะอบอ่นุ ใกลช้ ดิ หรืออา้ งวา้ งห่างเหินเพยี งใด ความรสู้ กึ ที่ แนบมากับคำ� ว่า “ครอบครวั ” ของแต่ละคนมีความแตกตา่ งกันในหลากหลายมติ ิ ไมว่ ่าจะเป็น ความใกล้ชิด จ�ำนวนสมาชิก รวมท้ังบทบาทและพฤติกรรมของสมาชิก ครอบครัวจึงเป็นส่ิงที่ ทุกคนมีเหมอื นกัน แตม่ คี วามหมายทแ่ี ตกต่างหลากหลายสำ� หรับแตล่ ะคนอยา่ งน่าอัศจรรย์ ครอบครัวมีความเปน็ “สถาบนั ” ตามความหมายในพจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ที่ประกอบด้วย สามี ภรรยา รวมถึงลูก จัดเป็นสถาบันพ้ืนฐานของสังคม ท้ังนี้ อาจเป็นเพราะทุกคนล้วนเกิดมาในครอบครัว ไม่ว่าจะเป็นท่ียอมรับออกหน้าออกตาหรือไม่ แตอ่ ยา่ งนอ้ ยคนจะเกดิ ไดต้ อ้ งมพี อ่ และแม่ แมจ้ ะรจู้ กั วา่ พอ่ แมเ่ ปน็ ใครหรอื ไมก่ ต็ าม หากกลา่ วกนั ในทำ� นองนี้ องคป์ ระกอบของครอบครวั จงึ ควรตอ้ งมอี ยา่ งนอ้ ยทส่ี ดุ คอื สามแี ละภรรยา คำ� นยิ ามน้ี อาจถึงกาลต้องทบทวนกันใหม่ในสังคมปัจจุบัน หากหญิงสาวหรือชายหนุ่มท่ีไร้คู่ แต่ใช้วิธีการ ปฏิสนธิเทียมไม่ว่าด้วยวิธีการใดๆ แล้วท�ำให้ก�ำเนิดบุตรข้ึน โดยที่ฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดต้องการเป็น ผู้ปกครองของบุตรแตเ่ พียงฝ่ายเดียว ดังนี้ จะยังรับว่าเป็นครอบครวั หรือไม่ ยงั ต้องมีพ่อและแม่ ครบถ้วนหรือไม่? การจะเป็นครอบครัวได้ จะต้องมีอย่างน้อยคือพ่อกับลูก หรือแม่กับลูก? การยอมรบั ทางสงั คม (Social recognition) กบั การใหก้ ำ� เนดิ เชงิ ชวี วทิ ยา (Biological procreation) ทส่ี ามารถแยกจากกนั ไดใ้ นปจั จบุ นั ทำ� ใหน้ ยิ ามของครอบครวั คลมุ เครอื ความซบั ซอ้ นของสังคม ภเู บศร์ สมทุ รจักร I ธรี นุช ก้อนแกว้ I รฎิ วัน อุเดน็ 1 �����������6.indd 1 147//2560 BE 17:09

และเทคโนโลยี ท�ำให้นยิ ามเกา่ ๆ ถูกทา้ ทายเสมอ และมีการเปล่ยี นแปลงอยู่ตลอดเวลา ขอให้เราลองจินตนาการดู ในครอบครัวหน่ึงมีลูกสาว 2 คน ลูกชาย 1 คน ในจ�ำนวน พน่ี อ้ งทงั้ 3 คนนี้ มเี พยี งลกู สาวคนสดุ ทอ้ งคนเดยี วทม่ี แี ฟนตา่ งเพศ (Straight) สว่ นลกู สาวคนโต และลกู ชายคนรอง มคี วามสมั พันธแ์ ละใช้ชวี ิตคกู่ ับเพศเดยี วกัน (Same-sex union) และอยาก มลี กู จงึ ใช้อสุจิของแฟนหนมุ่ ของนอ้ งชายคนกลาง ปฏสิ นธิกบั ไขข่ องพสี่ าวคนโตคร้ังหนงึ่ และ กับไข่ของแฟนสาวของพ่ีสาวคนโตอีกคร้ังหนึ่ง เกิดเป็นเด็กสาวน่ารักน่าเอ็นดู 2 คน สมาชิก ครอบครวั ทกุ คนรกั และชว่ ยกนั เลยี้ งดอู ยา่ งอบอนุ่ นยิ ามของคำ� วา่ “ครอบครวั ” นคี้ งจะซบั ซอ้ น อยู่ไม่น้อย เพราะมีความซ้อนเหลื่อมกันระหว่างพ่อทางชีววิทยา กับน้าทางมานุษยวิทยา ซ่ึงมี บทบาทและความใกล้ชดิ แตกตา่ งกันอย่างมากในธรรมเนยี มครอบครวั แบบด้งั เดิม แต่นน่ั กอ็ าจ ไมส่ ำ� คัญเท่าใดนกั ตอ่ การบม่ เพาะความรักและความอบอ่นุ ของครอบครวั น้ี Ernest W. Burgess และ Harvey J. Locke (1945) นกั สงั คมวทิ ยาใหค้ �ำจำ� กดั ความของ “ครอบครวั ” ในหนงั สือ “The family: From institution to companionship” ซึง่ ไดร้ บั การอ้างอิงอย่างกว้างขวาง โดยกล่าวว่า การจะเป็นครอบครัวได้น้ันจะต้องมีลักษณะส�ำคัญ 4 ประการ ประการแรก คือสมาชิกจะต้องเก่ียวข้องผูกพันกันด้วยการสมรส (Affine) เป็น ความสัมพันธ์ระหว่างสามี-ภรรยา หรือผูกพันกันด้วยสายเลือด (Consanguine) เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่กับลูก หรืออาจผูกพันกันด้วยการรับเป็นบุตรบุญธรรม ประการ ที่สอง สมาชิกเหล่าน้ีรวมกันอยู่เป็นครัวเรือนเดียวกัน ซ่ึงครัวเรือนในยุคก่อนอาจมีสมาชิกถึง 3 ชั่วอายคุ น คอื มีท้งั รนุ่ ปู่ย่า ตายาย รุ่นพ่อแม่ และรุ่นลูก แต่ในปัจจบุ ัน ครอบครัวสว่ นใหญ่ มีขนาดเล็ก ประกอบดว้ ยเพียงพ่อแมล่ กู หรอื อาจไม่มลี กู เลย ประการท่สี าม การมปี ฏสิ มั พันธ์ ระหว่างกัน สมาชกิ แตล่ ะคนในครอบครวั มบี ทบาทหน้าทท่ี ต่ี ้องกระทำ� ต่อกัน รบั ผดิ ชอบต่อกัน ตามแต่จารตี ประเพณีของแตล่ ะพ้นื ที่ เชน่ การแสดงความรักต่อกัน การเอาใจใสด่ ูแลเอือ้ อาทร เกอื้ หนนุ กนั ไมใ่ ชต่ า่ งคนตา่ งกนิ ตา่ งคนตา่ งอยู่ และประการทสี่ ี่ คอื ตอ้ งมกี ารถา่ ยทอดวธิ ปี ฏบิ ตั ิ และวัฒนธรรมของครอบครวั สืบตอ่ กนั นอกจากน้ี ศาสตรใ์ นแขนงตา่ งๆ ลว้ นแตม่ คี ำ� นยิ ามเกย่ี วกบั ความเปน็ ครอบครวั ในมมุ มอง ของแตล่ ะศาสตร์นัน้ ๆ เพอ่ื ประโยชน์ตอ่ การตีความในบรบิ ทของตนเอง ดงั เช่น ในทางชวี วทิ ยา ก็จะมุ่งไปที่การเก่ียวข้องกันทางสายเลือด โดยลูกต้องเกิดจากการปฏิสนธิระหว่างพ่อและแม่ ส่วนในทางกฎหมายก็จะให้ความส�ำคัญกับการจดทะเบียนสมรสและทะเบียนเกิด ไม่ว่าจะเป็น บุตรจริงๆ หรือบุตรบุญธรรม จึงจะถือว่ามีความผูกพันเป็นครอบครัวในทางกฎหมาย ทั้งยังมี การระบุว่าพ่อ แม่ และบุตรมหี น้าทีต่ อ้ งปฏิบัติตอ่ กันอย่างไร หากไม่ปฏบิ ัตติ ามบทบาทหน้าท่ี ท่รี ะบไุ ว้ ถือเป็นการท�ำผิดกฎหมาย และอาจไม่ไดร้ ับสิทธิท่ีพึงได้ในฐานะสมาชิกของครอบครัว ส่วนในทางสังคมวิทยานนั้ ครอบครวั อาจมีนยิ ามกว้างขวางออกไป คอื รวมสมาชกิ ทั้งที่เกย่ี วพนั 2 ความอย่ดู ีมีสุขของครอบครัวไทย �����������6.indd 2 147//2560 BE 17:09

ทางสายเลือด การแต่งงาน ทางกฎหมาย หรือแมแ้ ต่คนทอี่ ย่รู วมในบา้ นเดียวกัน มีปฏสิ มั พนั ธ์ ต่อกัน มีบทบาทหน้าที่ มีการดูแลเอาใจใส่ต่อกัน เช่น ในบ้านที่มีการจ้างคนงานหรือคนรับใช้ ทเ่ี จา้ ของบา้ นเอาใจใสเ่ ลยี้ งดู มคี วามรกั ความผกู พนั กนั กอ็ าจนบั วา่ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของครอบครวั นน้ั ดังปรากฏในสังคมจีนยุคโบราณท่ีคนรับใช้และคนงานได้รับอนุญาตให้ใช้สกุล (แซ่) เดียวกัน กบั เจา้ ของบา้ นและถือเปน็ สมาชกิ ของครอบครัว นยิ ามของ “ครอบครวั ” ในอดตี นน้ั ไมซ่ บั ซอ้ นยงุ่ ยากนกั เพราะยงั คงเกยี่ วขอ้ งสมั พนั ธก์ นั ทางสายเลอื ดโดยตรงบา้ ง โดยออ้ มบ้าง เกิดเป็นเครือขา่ ยความสัมพันธ์ท่ผี ูกโยงกนั เรยี กว่าเป็น “เครือญาต”ิ ซง่ึ ลว้ นเก่ียวขอ้ งกนั ทางสายเลือดไม่ทางใดก็ทางหน่งึ ในบางสังคมการผูกพนั ทาง สายเลอื ดไมว่ า่ จะใกลช้ ดิ หรอื หา่ งไกลมมี นตข์ ลงั ในการสรา้ งความรสู้ กึ ผกู พนั กนั อยา่ งนา่ ประหลาด แม้ไม่เคยได้รู้จักกันมาก่อน แต่เมื่อทราบว่าเก่ียวดองเป็นญาติกัน แม้ชั้นความสัมพันธ์จะห่าง เพียงใด ก็จะเกิดความรู้สึกใกล้ชิดเป็นพิเศษ และอาจได้รับสิทธิเหนือกว่าคนอ่ืนๆ ท่ีรู้จักกันดี แต่ไม่ไดผ้ กู พนั เปน็ ญาติ ความหลากหลายของความสัมพันธ์ฉันครอบครัวในปัจจุบัน ทำ� ให้การตีความหมายของ ค�ำว่าครอบครัวซับซ้อนข้ึน ท้ังยังท�ำให้บทบาทหน้าที่ของสมาชิกท่ีพึงมีต่อกันเปล่ียนแปลงไป ครอบครัวไม่จ�ำเป็นต้องเกิดขึ้นจากแนวคิดด้ังเดิม อย่างเช่น การแต่งงานของชายหญิง และ การจดทะเบยี นสมรสทถ่ี กู ตอ้ งตามกฎหมายอกี ตอ่ ไป และเนอ่ื งจากบทบาท หนา้ ที่ และพฤตกิ รรม ของสามี-ภรรยามีการเปล่ยี นแปลงท่ซี บั ซอ้ นขนึ้ คู่สมรสบางคู่จดั งานมงคลสมรสอย่างเอกิ เกริก อยู่กินกันฉันท์สามี–ภรรยา แต่ตกลงกันว่าจะไม่จดทะเบียนสมรสเพ่ือผูกพันกันทางกฎหมาย ในทส่ี ดุ ครอบครวั อาจหมายถงึ การทม่ี คี นหนง่ึ หรอื สองคนทย่ี อมรบั บทบาทหนา้ ทขี่ องผปู้ กครอง และมีเด็กที่ยอมรับการอบรมดูแลส่ังสอนจากผู้ปกครองดังกล่าว หรือ อาจเป็นเพียงแค่คนสอง คนตกลงท่ีจะใช้ชีวิตผูกพันกัน โดยที่ลักษณะหรือคุณสมบัติส�ำคัญอย่างย่ิงต่อการเป็นสมาชิก ในครอบครวั คือความเต็มใจทจ่ี ะรักและพยายามท่จี ะเข้าใจสมาชกิ คนอ่นื ๆ ในครอบครัว และ อยู่เคยี งข้างกันไม่วา่ จะในชว่ งเวลาทมี่ ีทกุ ข์หรอื สขุ การเปล่ยี นแปลงของ “สถาบัน” ครอบครวั ไทย แม้จะไม่มีค�ำตอบที่แน่ชัดจากนักสังคมวิทยาและนักมานุษยวิทยาว่า มนุษยชาติรู้จัก และสร้างความเป็นครอบครัวคร้ังแรกต้ังแต่เมื่อใด ท้ังยังไม่แน่ใจว่าการอยู่ร่วมกันในลักษณะท่ี เป็น “โขลง” ของช้าง หรอื “ฝงู ” ของลิงชิมแปนซี ซงึ่ นักวานรวิทยา (Primatologist) และ นักวิชาการหลายสาขายอมรับว่า เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีวิวัฒนาการมาก่อนมนุษย์และใกล้เคียงกับ ภเู บศร์ สมุทรจกั ร I ธีรนชุ ก้อนแกว้ I ริฎวัน อุเดน็ 3 �����������6.indd 3 147//2560 BE 17:09

มนุษย์มากท่ีสุด จะเข้าข่ายนับได้ว่าเป็นการอยู่แบบครอบครัวหรือไม่ แต่น่ันก็ไม่ได้เป็นสาระ สำ� คญั อะไรมากไปกวา่ การทมี่ นษุ ยชาตยิ อมรบั วา่ “ครอบครวั ” มคี วามเปน็ “สถาบนั ” ซง่ึ หมาย ถึงการรวมตัวกันของสมาชิกท่ีมีวัตถุประสงค์บางอย่างร่วมกัน และต่างคนต่างมีบทบาทหน้าที่ ความรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ในการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคเ์ หลา่ นน้ั และแมใ้ นทรรศนะของ Yuval Noah Harari (2011) ผเู้ ขยี น Sapiens: A Brief History of Humankind อาจจะมองว่าความผูกพัน เชน่ น้ีเปน็ เพียง จินตสัจจ์ (Imagined fact) หรือความจรงิ ทม่ี นุษย์จินตนาการขึน้ แต่มนษุ ย์ ก็จินตนาการเร่ืองครอบครัวจนมีความรู้สึกเกี่ยวกับสถาบันนี้ไว้อย่างล้�ำลึก และมองว่าเป็นส่ิง สำ� คญั ทยี่ ดึ โยงการรวมตวั ทเี่ ลก็ ทสี่ ดุ ในสงั คมเอาไว้ ทง้ั ยงั เหน็ วา่ เสถยี รภาพและความสงบรม่ เยน็ ของครอบครัว เป็นรากฐานส�ำคัญต่อความสงบสุขโดยรวมของสังคม นอกจากนี้ความดีงาม ของครอบครัวยังท�ำให้นิยามของครอบครัวในภายหลังครอบคลุมเกินเลยไปกว่า พ่อแม่ลูก และวงศาคณาญาติท้ังปวง กลายเป็นค�ำพูดเชิงสัญลักษณ์ท่ีหมายความรวมไปถึงคนที่ไม่ใช่ แมก้ ระท่งั ญาติแตม่ ีความรักใครผ่ ูกพนั ตอ่ กนั สถาบันครอบครัวมีการแปรเปล่ียนไปตามสภาพแวดล้อม และกาลเวลาอยู่เสมอ และ แม้กระท่ังมีลักษณะแตกต่างกันไปตามแต่ละวัฒนธรรมและท้องถิ่น นับเป็นสามัญลักษณะ เช่นเดียวกันกับสถาบันอื่นๆ ทางสังคม ด้วยเหตุน้ี การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับครอบครัวจึงมี ข้อค้นพบแตกต่างกันไปในแต่ละยุคสมัย คนในยุคสมัยหน่ึงอาจมองเห็นว่า ครอบครัวในอีก ยุคสมัยหนึ่งดีกว่าบ้าง ดอ้ ยกว่าบา้ ง แทท้ ีจ่ รงิ แลว้ การด�ำรงอย่ใู นลกั ษณะเชน่ น้ัน เป็นธรรมชาติ ของส่ิงมีชีวิตที่พยายามปรับตัวให้มีเสถียรภาพในแต่ละสภาวการณ์ เหมือนคร้ังหนึ่งท่ี นกั มานษุ ยวทิ ยาและนกั สงั คมวิทยาในช่วงปลายศตวรรษท่ี 19 ให้ความสำ� คญั ต่อการเกยี่ วดอง โดยสายเลอื ด และการเกยี่ วดองกนั ดว้ ยการสมรส โดยไมร่ วู้ า่ โลกจะกา้ วไปไกลขนาดมนี วตั กรรม การเจริญพันธท์ุ ัง้ หลาย อยา่ งเชน่ การอุม้ บญุ (Surrogate) ไม่ว่าจะเป็นแบบเชิงพาณชิ ยห์ รือไม่ ก็ตาม รวมถึงการมีธนาคารอสุจิ (Sperm bank) การอยู่กินกัน (Cohabitation) โดยไม่มี การแตง่ งาน รวมท้ังการแยกกนั ระหวา่ งความพงึ ใจในกามารมณ์ (Sexual pleasure) และ การสืบทอดพันธุ์ (Reproduction) นักทฤษฎีในศตวรรษที่ 20 ได้วิเคราะห์ครอบครัวด้วยคตินิยมเชิงโครงสร้างการหน้าท่ี (Structural-Functionalism Theory) อยา่ งเชน่ Talcott Parson และ Robert Bales (1955) ทมี่ องวา่ สมาชกิ ครอบครวั อยรู่ ว่ มกนั เปน็ ครอบครวั ได้ เนอ่ื งจากตา่ งฝา่ ยตา่ งมหี นา้ ทตี่ อ้ งดแู ลอมุ้ ชู ลูกท่ีเกดิ มา และเนื่องจากการต้ังครรภ์ คลอดลกู และอภบิ าลลูกในช่วงแรกเกิดรวมทั้งการดแู ล ความเรียบร้อยในบ้าน (Home maker) เป็นหน้าที่โดยธรรมชาติของภรรยา สามีจึงต้องให้ การดูแลคุ้มครองด้วยการออกไปท�ำมาหากิน (Breadwinner) ท�ำให้เกิดการแบ่งแยกหน้าท่ี (Division of labor) ในครอบครัวอยา่ งชดั เจน โดยนกึ ไม่ถงึ วา่ บทบาทของผหู้ ญงิ ท่ีเปลีย่ นแปลง 4 ความอยู่ดมี ีสุขของครอบครวั ไทย �����������6.indd 4 147//2560 BE 17:09

ไปอย่างมากในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 จะท�ำให้การแบ่งแยกหน้าที่ท่ีปฏิบัติสืบต่อกันมา แต่บรรพบุรุษดูไม่เป็นธรรมแก่ฝ่ายหญิง ถึงข้ันอ้างหลักสิทธิมนุษยชนและความเสมอภาค ทางเพศ (Gender equality) เพื่อให้เสรีภาพนอกบ้านแก่ฝ่ายหญิงมากข้ึน จนวันน้ีมีภรรยา จ�ำนวนไม่น้อยท่งี านยุง่ มากเกนิ กวา่ จะมลี ูกได้ หรอื แม้กระทงั่ ความรกั ระหว่างเพศเดยี วกันทถี่ ูก เก็บกลั้นและตีตรามาตลอดกาลในประวัติศาสตร์ ได้รับการยอมรับและอยู่กินกันเปิดเผยเป็น ครอบครัวมากขึ้น มกี ารยอมรบั โดยนติ นิ ยั ในหลายแหง่ ซ่งึ หากนบั เปน็ ครอบครัวแล้วก็จดั ได้วา่ มีความเสมอภาคทางเพศโดยสมบูรณ์ เพราะต่างเป็นเพศเดียวกัน จึงไม่อาจแบ่งแยกหน้าที่ ในการท�ำมาหากิน กับการดูแลความเรียบร้อยในบ้าน (Breadwinner และ Home maker) อย่างท่ีทฤษฎเี ชงิ โครงสรา้ งการหน้าท่อี ธิบายไว้ หากมองการเปล่ียนแปลงของครอบครัวในบริบทไทย อาจท�ำให้เห็นว่าครอบครัวไทย พฒั นามาไกล เปลยี่ นแปลง และผดิ แผกไปกวา่ จารตี และวถิ ใี นอดตี เปน็ อยา่ งมาก แตห่ ากไดศ้ กึ ษา วรรณกรรมเก่ียวกับสภาพครอบครัวในบริบทตะวันตก ดังเช่น ในงานเขียนของ Alan Acock และ David Demo (1994) ในหนังสือ Family Diversity and Well-Being โดยเฉพาะ อย่างยิ่งงานเขียนใหมๆ่ อย่างเช่น A Sociology of Family Life: Change and Diversity in Intimate Relations โดย Deborah Chambers (2012) จะพบว่า สภาพท่ีว่าแปลกใหมท่ เี่ กิด ขึ้นในสังคมไทย ล้วนแต่เป็นประสบการณ์ท่ีเกิดข้ึนมาแล้วในสังคมตะวันตก ไม่ว่าจะเป็นการท่ี ความสมั พันธ์ระหวา่ งสมาชิกในครอบครวั ขยาย (Extended family) ทีเ่ รม่ิ คลายหลวม ไปจน กระทัง่ เหลือเป็นครอบครวั เดย่ี ว (Nuclear family) อตั ราการหย่าร้างที่สูงขึ้น การต้ังครรภใ์ น กลมุ่ วยั รนุ่ (Teenage pregnancies) พอ่ แมเ่ ลยี้ งเดย่ี ว (Single parenthood) และการอยรู่ ว่ มกนั ของเพศเดียวกัน (Same-sex union) คลื่นของการเปลี่ยนแปลงที่ซัดชายฝั่งโลกตะวันตกใน ระลอกแรกตั้งแตศ่ ตวรรษท่ี 19 ดูเหมอื นคล้ายกบั ระลอกทก่ี �ำลังซดั ชายฝั่งโลกตะวนั ออกในชว่ ง ปลายศวรรษที่ 21 ราวกับลอกเลียนกันมาอย่างน่าประหลาดใจ ท้ังที่รากฐานทางวัฒนธรรม แตกต่างกนั อยา่ งสิ้นเชงิ ววิ ัฒนาการจาก “ครอบครวั ขยาย” ทม่ี คี นอย่างนอ้ ย 3 ร่นุ ไปสู่ “ครอบครวั เด่ยี ว” ทีม่ ี เฉพาะคนสองรุ่น คือรุ่นพ่อแม่กับรุ่นลูกอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน ในมุมมองทางเศรษฐศาสตร์ อธิบายว่าเป็นเพราะรูปแบบครอบครัวเดี่ยวน้ัน มีประสิทธิภาพสูงสุดในการตอบสนองสภาพ สังคมสมัยใหม่ ท่ีวิวัฒนาการสืบเนื่องจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม และการเข้าสู่ระบบทุนนิยม อยา่ งเตม็ ตวั ทต่ี ลาดแรงงานตอ้ งการแรงงานทง้ั ชายและหญงิ ไมพ่ ง่ึ เพยี งเฉพาะแรงงานผชู้ ายดงั เชน่ สมยั ก่อน โดยเฉพาะเมือ่ การกระจายตัวของโอกาสทางการศกึ ษา และโอกาสในการท�ำงาน ไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ในแตล่ ะพน้ื ท่ี ทงั้ นเ้ี นอื่ งจากเปน็ รปู แบบครอบครวั ทม่ี คี วามสามารถในการเคลอ่ื นยา้ ย (Mobility) สูง จนถึงขณะน้ีพัฒนาการของครอบครัวด�ำเนินไปถึงรูปแบบพ่อแม่เล้ียงเด่ียว ภูเบศร์ สมทุ รจักร I ธีรนุช ก้อนแก้ว I รฎิ วัน อเุ ด็น 5 �����������6.indd 5 147//2560 BE 17:09

และครอบครวั ขา้ มรนุ่ (Skipped generation) ซง่ึ อาจเปน็ ผลจากการหยา่ รา้ ง และการยา้ ยทที่ ำ� งาน ท�ำให้คู่สมรสต้องมีชีวิตอยู่ด้วยกันแบบแยกกันอยู่ อย่างท่ีเรียกว่า “อยู่ด้วยกัน แต่คนละที่” (Living apart but together: LAT) (Levin, 2004) ยิ่งท�ำให้ครอบครัวมีความเส่ียงต่อ การขาดเสถียรภาพในระยะยาว แต่ก็สะท้อนถึงความจ�ำเป็นทางสังคม เศรษฐกิจ รวมท้ัง การให้ความส�ำคัญของตัวตนของตนเอง (Individuality) ท่ีประนีประนอมปัญหาได้ถึงแค่ การใหส้ ามแี ละภรรยาอยกู่ นั คนละที่ แตไ่ มถ่ งึ กบั การยตุ คิ วามสมั พนั ธ์ หรอื จากการทส่ี ามภี รรยา ไม่สามารถดูแลบุตรได้อย่างเต็มที่ เนื่องจากสภาพบีบคั้นทางเศรษฐกิจและการท�ำงาน ท�ำให้ต้องส่งบุตรไปให้อยู่ในความดูแลของพ่อแม่ ซ่ึงเม่ือเปรียบเทียบกับครอบครัวในรูปแบบ ท่ีเคยมีมาไมว่ า่ จะเป็นครอบครวั ขยายหรือครอบครวั เดย่ี วแลว้ ดจู ะยงิ่ เปราะบาง ครอบครัวไทยซึ่งแต่เดิมเคยมีลักษณะเป็นครอบครัวขยาย มีคนอย่างน้อย 3 รุ่น คือ ทง้ั ป่ยู ่า ตายาย พ่อแม่ และลกู อาศยั อยู่ในครัวเรอื นเดียวกัน แมแ่ ต่ละคนมีลกู มากถงึ 5–6 คน โดยเฉลย่ี (ปราโมทย์ ประสาทกลุ , 2552) ท�ำใหส้ มาชกิ ครอบครวั ทอ่ี าศยั อยใู่ นครวั เรอื นเดยี วกนั อาจมีจ�ำนวนมากเกินกว่า 10 คน บ้านเรือนสมัยก่อนจึงต้องมีขนาดกว้างขวางและมีพื้นท่ีมาก ทั้งในละแวกใกล้เคียงก็จะเป็นบ้านเรือนของญาติพี่น้องที่ปลูกติดกันหรือใกล้กัน ล้อมร้ัวบ้าง ไม่ล้อมรั้วบ้าง และแม้จะล้อมรั้วก็จะมีประตูเปิดเชื่อมถึงกัน หรือเป็นรั้วท่ีไม่เชิงสูงใหญ่ แสดงการกีดกันและหา่ งเหิน เป็นภาพสะทอ้ นของความใกล้ชดิ กันของเครอื ญาติ ปัจจบุ นั พบวา่ ครอบครัวไทยที่มีลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยว ซ่ึงหมายถึงครอบครัวที่มีสามี–ภรรยา และอาจ มลี ูกหรือไมม่ ีกไ็ ด้ เพิ่มจำ� นวนกว่า 3 เทา่ ตัวในระยะเวลาตง้ั แต่ พ.ศ. 2530–2556 (สำ� นกั งาน สถติ แิ ห่งชาติ, 2556) ในการปาฐกถาเรอ่ื ง “เกดิ อยา่ งไรประเทศไทยจงึ มนั่ คง” ในการประชมุ วชิ าการประชากร และสงั คม คร้ังที่ 10 (1 กรกฎาคม 2557) ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ ดร.ปราโมทย์ ประสาทกลุ กล่าวถงึ นโยบายของประเทศไทยตงั้ แตส่ มัยรัชกาลท่ี 5 ซึง่ ปรากฏในพระราชปรารภของสมเด็จ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพในพธิ เี ปดิ การประชมุ แพทยห์ วั เมอื ง เมอ่ื วนั ที่ 2 ตลุ าคม พ.ศ. 2449 สะท้อนความสำ� คัญของการเพ่ิมพลเมืองในยคุ นนั้ วา่ “...เมืองไทยเรามีอาณาเขตกว้างขวาง แต่มีคนน้อย ถ้าจะมีอีกสัก 5 เท่าหรือ 6 เทา่ ของเด๋ียวน้ี กจ็ ะมีทพ่ี อกนั อยู่ ไมอ่ ตั คัต...” และ “...ด้วยเหตุน้ี จ�ำนวนพลเมืองเป็นส่ิงส�ำคัญแก่บ้านเมืองมาก จะท�ำอย่างไร ให้พลเมืองของเรามีมากน้ัน แม้รัฐบาลจะเนรมิตให้คนมากขึ้นไม่ได้ก็จริงอยู่ แต่ยังมีทางที่จะท�ำได้อย่างหน่ึง คือบ�ำรุงคนที่เกิดมาให้รอดอยู่จนเติบโตให้มาก อย่าให้ตายมากนัก...ถ้ารัฐบาลคิดอ่านป้องกันอย่างใดให้คนตายน้อยลงได้ จ�ำนวนไพร่บา้ นพลเมอื งก็ยอ่ มจะมากขึ้นโดยเรว็ ” 6 ความอย่ดู มี สี ขุ ของครอบครวั ไทย �����������6.indd 6 147//2560 BE 17:09

ในสมยั จอมพล ป. พบิ ลู สงครามกย็ งั ปรากฏนโยบายสนบั สนนุ การเกดิ เชน่ การออกคำ� สง่ั แต่งต้ังองค์การส่งเสริมการสมรสข้ึนในกระทรวงสาธารณสุข เพื่อเร่งการเพิ่มจ�ำนวนประชากร เพื่อความม่ันคงของชาติ เม่ือวันท่ี 1 กันยายน 2485 การจัดงานวันแม่ ประกวดแม่ลูกดก เป็นคร้ังแรก เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2486 โดยแม่ลูกดกท่ีเข้าประกวดล้วนมีลูกตั้งแต่ 15 คน ข้ึนไปทง้ั สนิ้ และมีการประกาศใช้พระราชบัญญัตสิ งเคราะหผ์ มู้ บี ุตรมาก พ.ศ. 2499 การเพม่ิ ของจำ� นวนประชากรไดก้ ลายจากการ “เสรมิ สรา้ ง” ความมน่ั คงของชาติ มาเปน็ “อุปสรรค” ต่อการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศในสมัยจอมพลถนอม กิตตขิ จร ซึ่งมี การประกาศนโยบายประชากรโดยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2513 “...สนบั สนุนการวางแผนครอบครวั ด้วยระบบใจสมคั ร เพ่ือแก้ปญั หาตา่ งๆ เกย่ี วกับอตั รา การเพ่ิมของประชากรสงู มาก...” จากนั้นเป็นตน้ มา ค�ำว่า “ลูกมาก ยากจน” และ “หญงิ กไ็ ด้ ชายกด็ ี มแี คส่ อง” กอ้ งในหขู องสาม–ี ภรรยาไทย เมอื่ ถงึ วาระทตี่ อ้ งวาดฝนั เกย่ี วกบั ชวี ติ แตง่ งาน ผลจากการวางแผนครอบครัวท�ำให้อัตราการเพ่ิมของประชากรลดลงจากร้อยละ 3.2 ตอ่ ปี ในช่วงพุทธศตวรรษ 2510 เหลอื เพยี งรอ้ ยละ 0.5 ในปจั จุบนั อตั ราเจริญพนั ธุร์ วม หรอื จำ� นวนบตุ รเฉลยี่ ตอ่ สตรหี นง่ึ คนตลอดวยั เจรญิ พนั ธ์ุ (Total fertility rate: TFR) ซง่ึ เคยสงู มากกวา่ 5 คน ก่อนมโี ครงการวางแผนครอบครัวแหง่ ชาติ ได้ลดลงเหลอื 1.6 คน ใน พ.ศ. 2553 และ คาดวา่ จะเหลอื เพยี ง 1.3 คน ในอีก 25 ปีขา้ งหนา้ จำ� นวนสมาชกิ ในครอบครวั จากท่ีเคยมเี ฉลยี่ 4 คน ใน พ.ศ. 2535 ลดลงเหลือ 3 คน ในปจั จบุ นั แม้ในหลายทัศนะจะเห็นว่า การที่ครอบครัว มขี นาดเลก็ ลงนจ้ี ะสง่ ผลดอี ยบู่ า้ ง ในแงท่ ส่ี ามารถดแู ลกนั ไดอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ มากขน้ึ มเี วลาและทรพั ยากร ทุ่มเทให้กับสมาชิกในครอบครัวมากกว่าสมัยก่อนที่เป็นครอบครัวขยาย และมีลูกจ�ำนวนมาก แต่ค่าครองชีพที่สูงมากข้ึน และความเร่งรีบในการด�ำเนินชีวิตวิถีเมืองในยุคปัจจุบันกลับไม่อาจ ทำ� ใหเ้ ปน็ ไปเชน่ นั้นได้ ข้อมูลอย่างหนง่ึ ทนี่ า่ ตกใจอย่างย่งิ เกี่ยวกับความอบอนุ่ ในครอบครวั คอื ในกวา่ ทศวรรษท่ีผ่านมา มเี ดก็ อายุ 0–17 ปที ไี่ มไ่ ด้อยู่กับพอ่ แม่เพิม่ ขน้ึ เร่ือยๆ จากร้อยละ 19 ใน พ.ศ. 2548 เปน็ รอ้ ยละ 23 ใน พ.ศ. 2554 (สำ� นักงานสถิติแหง่ ชาติ, 2558) อนั เนอ่ื งมาจาก การเล้ียงดูลกู ในเขตเมอื งมคี ่าใช้จ่ายสูง และไมส่ ะดวกกับการท�ำมาหากนิ ของพ่อแม่ จนตอ้ งสง่ ลูกนอ้ ยไปให้ป่ยู ่า ตายายในตา่ งจงั หวดั ชว่ ยเล้ียงดู คร้ังหน่ึงที่นักวิชาการด้านครอบครัวเคยคิดว่า ครอบครัวผัวเดียวเมียเดียวเป็นรูปแบบ สดุ ทา้ ยของลกั ษณะความสมั พนั ธฉ์ นั ทค์ รอบครวั (Intimate relationship) และครอบครวั เดยี่ ว เป็นรปู แบบครอบครวั ท่มี ปี ระสิทธิภาพทีส่ ุดในการตอบสนองต่อเง่ือนไขของสงั คมทุนนิยม และ เป็นขนาดครอบครัวที่เล็กที่สุด ต่อมาในช่วงปลายศตวรรษท่ี 20 จึงเริ่มเห็นว่า มีวิถีการสร้าง ครอบครวั ทเี่ ลก็ กวา่ ครอบครวั เดย่ี วลงไปอกี เมอื่ เกดิ มคี รอบครวั แบบพอ่ –แมเ่ ลย้ี งเดย่ี ว ซง่ึ หมาย ถงึ ครอบครวั ทมี่ เี ฉพาะพอ่ หรอื แมเ่ ลยี้ งดลู กู ทอี่ ายไุ มเ่ กนิ 18 ปตี ามล�ำพงั ไมว่ า่ จะเนอื่ งจากสาม-ี ภเู บศร์ สมุทรจกั ร I ธีรนชุ กอ้ นแก้ว I รฎิ วัน อเุ ด็น 7 �����������6.indd 7 147//2560 BE 17:09

ภรรยาอยู่กันคนละที่ การหย่าร้าง การทอดท้ิง การเสียชีวิตของคู่สมรส การรับบุตรบุญธรรม โดยฝา่ ยหญิง หรอื ฝ่ายชาย หรือการใช้นวัตกรรมดา้ นการเจริญพนั ธอ์ุ ่นื ๆ ซงึ่ เปน็ ปรากฏการณ์ ทม่ี แี นวโนม้ เพมิ่ มากขน้ึ ในหลายประเทศ จากรายงานขององคก์ รเพอ่ื ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ และการพัฒนา (Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) รายงานสถานการณ์ครอบครัวพ่อแม่เลี้ยงเด่ียวในญี่ปุ่น อังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเตรีย นอร์เวย์ และนิวซีแลนด์ ว่ามเี พิ่มขึ้นเปน็ ร้อยละ 22–29 ของจ�ำนวนครอบครัวท้ังหมด (OECD, 2011) นอกจากน้ี การทคี่ นเลอื กจะอยคู่ นเดยี ว (Single-person household หรอื One-person household) โดยอาจจะมีความสมั พนั ธ์ลึกซึง้ กับใครหรอื ไม่ก็ตาม เรมิ่ มีจ�ำนวนมากขึ้นในสังคม สมยั ใหม่ ซง่ึ นกั ทฤษฎเี กย่ี วกบั สงั คมและครอบครวั ไมไ่ ดก้ ลา่ วถงึ มากนกั สว่ นหนง่ึ อาจเปน็ เพราะ การอยู่คนเดียวเช่นนี้ แม้จะจัดเป็นรูปแบบ “ครัวเรือน” ลักษณะหน่ึง แต่ยังมีความไม่ชัดเจน ในนยิ ามวา่ เปน็ ลกั ษณะของ “ครอบครวั ” แมอ้ าจจะสามารถมองไดว้ า่ เปน็ “ครอบครวั คนเดยี ว” แตอ่ ย่างไรก็ตาม แมค้ นๆ หนง่ึ เลอื กท่ีจะอยูโ่ ดยล�ำพัง ไม่วา่ จะด้วยเหตุผลใด อยา่ งนอ้ ยคนๆ น้ัน กย็ งั เปน็ สมาชกิ ในครอบครวั ของพอ่ แมข่ องตนเอง มฐี านะเปน็ ลกู พน่ี อ้ ง ลงุ ปา้ นา้ อา หรอื หลาน ซง่ึ ลกั ษณะการอยคู่ นเดยี วเชน่ นี้ ในแงห่ นงึ่ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ลกั ษณะของคนในสงั คมทมี่ คี วามเปน็ ปัจเจก (Individualization) สงู ขน้ึ ตอ้ งการความเป็นส่วนตวั มากขน้ึ ซ่ึงอาจเปน็ ขีดสดุ ของการ รกั ษาระยะหา่ งระหวา่ งตนเองกบั สงั คมทปี่ รากฏชดั มากขน้ึ โดยเฉพาะในสงั คมเมอื งทคี่ นจำ� นวน มากมาอย่รู วมกนั แต่รูจ้ ักและมปี ฏสิ มั พนั ธต์ ่อกนั เพียงผวิ เผนิ สว่ นในอีกทางหนึง่ มองวา่ การท่ี คนๆ หน่ึงเลือกท่ีจะอยู่คนเดียวเพราะเห็นว่ามิตรภาพ (Friendship) ที่ตนเองได้รับจากผู้อื่น รอบขา้ งท่ไี ม่ใช่ญาตพิ ่นี อ้ ง สามารถสรา้ งความอบอุ่นทดแทนความรักความผูกพนั ทีต่ นเองไดร้ บั จากญาตพิ น่ี อ้ งไดเ้ ชน่ กนั (Jamieson, 1998) หรอื ตดั สนิ ใจอยคู่ นเดยี วเพราะถกู ละเลยจากญาติ พ่ีน้อง นอกจากนี้ จ�ำนวนครัวเรือนคนเดยี วอาจเพ่ิมสูงข้ึนจากสงั คมสงู วัย อันเน่ืองจากค่สู มรส เสียชวี ิตโดยไมม่ ีลูก หรือมีแตอ่ ยหู่ า่ งไกลจากลกู ๆ จากรายงาน The Future of Families to 2030 โดย OECD (2011) คาดว่า จำ� นวน ครวั เรอื นคนเดยี วใน ค.ศ. 2030 จะเพมิ่ ขน้ึ ในสดั สว่ นทมี่ ากในเกาหลใี ต้ (รอ้ ยละ 43) ออสเตรเลยี (ร้อยละ 48) อังกฤษ (รอ้ ยละ 60) นวิ ซีแลนด์ (รอ้ ยละ 71) และฝรง่ั เศส (ร้อยละ 75) สำ� หรบั ประเทศไทยนั้น พบวา่ ใน พ.ศ. 2556 มคี รวั เรอื นคนเดียวอย่มู ากขน้ึ 2.7 ลา้ นครวั เรอื น คิดเป็น ประมาณร้อยละ 14 ของครัวเรือนทั้งหมด ซึง่ จากการส�ำรวจใน พ.ศ. 2530 มีเพียงร้อยละ 6 โดยทแ่ี ต่กอ่ นจะพบครวั เรือนคนเดียวในสังคมชนบทมากกว่าสังคมในเมอื ง สว่ นหน่ึงเปน็ เพราะ ผสู้ งู อายใุ นชนบทถกู ละทงิ้ ใหอ้ ยกู่ บั บา้ น ในขณะทลี่ กู หลานยา้ ยถนิ่ ฐานเขา้ มาทำ� งาน และเรยี นหนงั สอื ในตวั เมือง แต่ปจั จุบันพบว่าครอบครัวคนเดยี วในเมือง และในชนบทมสี ดั ส่วนพอๆ กัน ซง่ึ อาจ หมายถึงอิทธิพลจากการเลือกท่ีจะใชช้ ีวติ โสดคนเดียวในเมืองมีสูงขึ้น หรอื การทค่ี นต้องย้ายถ่นิ 8 ความอยดู่ มี ีสุขของครอบครัวไทย �����������6.indd 8 147//2560 BE 17:09

จากครอบครวั เดมิ ไปเรยี นหรอื ไปทำ� งานในทอ่ี นื่ (โดยเฉพาะในเมอื ง) มากขนึ้ ทำ� ใหต้ อ้ งอยคู่ นเดยี ว ซึ่งในด้านการจัดการเมือง (Urban planning) มองว่าการมีจ�ำนวนครัวเรือนที่มีขนาดเล็กๆ จำ� นวนมากน้ี จะใชท้ รพั ยากรของสงั คมสน้ิ เปลอื งกวา่ การทแี่ ตล่ ะครวั เรอื นมสี มาชกิ จำ� นวนมาก แตม่ จี ำ� นวนครวั เรอื นนอ้ ยๆ เนอ่ื งจากสามารถใชท้ รพั ยากรตา่ งๆ ในครวั เรอื นรว่ มกนั ได้ โดยเฉพาะ อย่างย่งิ ของใช้คงทน (Durables) ตา่ งๆ ไมว่ ่าจะเป็นตเู้ ยน็ โทรทศั น์ เคร่ืองซักผา้ และอน่ื ๆ อัตราการหย่าร้างท่ีสูงข้ึน เป็นประเด็นทางครอบครัวอีกประเด็นหนึ่งท่ีส่งสัญญาณ ความเปราะบางของชีวิตสมรสและครอบครัวไทย แม้การเลือกคู่ครองในปัจจุบันจะเปิดกว้าง อย่างเต็มที่ เพื่อให้ชายหญิงได้ตัดสินใจเลือกคู่ครองด้วยตนเอง มีช่องทางในการพูดคุยพบปะ คบหา หรอื แมแ้ ตก่ ารทดลองอยดู่ ว้ ยกนั กอ่ นทจี่ ะตดั สนิ ใจแตง่ งานผกู พนั กนั ทงั้ ในทางสงั คมและ กฎหมาย ผิดกับการเลือกคู่ครองสมัยก่อนที่มีระเบียบจารีตคอยก�ำกับควบคุมอย่างเข้มงวด แตก่ ลบั พบว่าอัตราการหย่าร้างในปจั จบุ ันสูงกวา่ ในอดตี เปน็ อย่างมาก ซ่งึ อาจสะท้อนใหเ้ หน็ วา่ ตลาดการเลือกคู่ที่เสรีข้ึนเน่ืองมาจากแนวคิด ค่านิยม และวิถีการปะทะสังสรรค์ของชายหญิง สมัยใหม่ ไมไ่ ดเ้ กย่ี วขอ้ งอะไรกบั อตั ราการหยา่ รา้ ง และการท่อี ตั ราการหยา่ ร้างในอดตี ท่ีพบว่ามี น้อยกว่าปัจจบุ นั มากก็ไม่ไดแ้ ปลวา่ การอย่รู ่วมกันจนถอื “ไมเ้ ทา้ ยอดทอง กระบองยอดเพชร” จะไมม่ ปี ญั หารนุ แรงระหวา่ งสามภี รรยา เพยี งแตก่ ารหยา่ รา้ งสรา้ งความอบั อายในสงั คมเกนิ กวา่ ท่จี ะรบั ได้ แต่สง่ิ ทีเ่ ปล่ียนแปลงไปจากในอดีตทท่ี �ำให้การตตี ราจากการหย่าร้าง กลายเปน็ เร่ือง ท่ที กุ ข์ทรมานนอ้ ยกวา่ การทนอยู่กับสภาพปญั หาเดิมๆ ในบา้ น คือการทช่ี ายและหญิงตา่ งให้ ความส�ำคัญกับความเป็นปัจเจกของตนเองมากขึ้น ซึ่ง Anthony Giddens ผเู้ ขียนหนงั สือ The Transformation Intimacy: Sexuality, Love and Eroticism in Modern Societies (1992) เรียกว่าเป็นกระบวนการ Individualization ทงั้ ยงั มีการสรา้ งความเป็นประชาธิปไตย ในชีวิตสมรส ซ่ึงเรียกว่า Democratization of marriage เพื่อให้ทั้งสามีและภรรยา มีความเท่าเทียมกันในการเติมเต็มเป้าหมายในชีวิตของตนเอง (Individual fulfillment) อย่างเสมอภาค กลไกท้ังสองน้ี ท�ำให้ชีวิตสมรสในยุคใหม่ต้องมีการต่อรองกันระหว่างคู่ชีวิต อยตู่ ลอดเวลาเพอ่ื ใหท้ ง้ั สองฝา่ ยอยรู่ ว่ มกนั ไดต้ ราบทย่ี งั สามารถตอ่ รองไดเ้ ปน็ ผลสำ� เรจ็ ชวี ติ สมรส ไม่ได้เป็นของฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงอีกต่อไป ส่วนเรื่องความอับอายจากการหย่าร้างในสังคมไทยน้ัน ยงั นบั วา่ มอี ยแู่ มจ้ ะนอ้ ยลงจากในอดตี แตค่ นในยคุ ปจั จบุ นั เลอื กทจ่ี ะทนฝนื รบั การตตี ราในสงั คม มากกว่าที่จะยอมทุกข์ทรมานจากการถูกตีตรวนในบ้าน และเร่ิมที่จะเรียนรู้ว่าการหย่าร้าง ไม่ไดเ้ ปน็ เรือ่ งอปั ยศรา้ ยแรงเหมอื นในอดตี ในขณะที่สังคมไทยก�ำลังกังวลกับอัตราการเกิดที่ลดลง และเกรงว่าในอีกไม่ช้าเราจะมี ประชากรวัยแรงงาน ซึ่งเป็นวัยท่ีจะสร้างผลผลิตเพ่ือค�้ำจุนสังคมลดลงตามไปด้วย แต่จ�ำนวน การเกดิ จากแมว่ ยั รนุ่ กลบั มแี นวโนม้ สงู ขนึ้ อยา่ งนา่ ตกใจ จากรายงาน Impact of Demographic ภูเบศร์ สมุทรจกั ร I ธรี นชุ กอ้ นแกว้ I รฎิ วัน อเุ ดน็ 9 �����������6.indd 9 147//2560 BE 17:09

Change in Thailand (2011) โดยกองทนุ ประชากรแหง่ สหประชาชาติ (United Nations Population Fund) รายงานการเพม่ิ ข้ึนของแมว่ ยั ร่นุ จากทีเ่ คยมจี ำ� นวนประมาณ 50,000 ราย หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ 6 ของจ�ำนวนการเกดิ ทง้ั หมดใน พ.ศ. 2503 เปน็ ประมาณ 130,000 ราย หรือร้อยละ 14 ของจ�ำนวนการเกิดทั้งหมดใน พ.ศ. 2533 และยังมีแนวโน้มที่เพ่ิมข้ึนเรื่อยๆ ทง้ั ยงั พบว่าแมว่ ัยรุ่นเหล่านี้ สว่ นใหญอ่ ย่ใู นครอบครวั ทีม่ ฐี านะยากจน มีการศึกษาค่อนขา้ งนอ้ ย ทำ� ใหบ้ ตุ รทเ่ี กดิ มาจะไดร้ บั การเลย้ี งดทู ดี่ อ้ ยคณุ ภาพ ทง้ั ยงั เกย่ี วขอ้ งโดยตรงกบั ลกั ษณะครอบครวั ท่ีอยู่กินกัน (Cohabitation) โดยไม่ได้แต่งงาน ครอบครัวแบบแม่เลี้ยงเดี่ยวในกรณีท่ีเลิกรา กับสามี หรือการที่ต้องทิ้งลูกไว้ให้กับพ่อแม่ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพ่อแม่ฝ่ายหญิงเป็นผู้ดูแล ไม่ว่า จะเป็นด้วยความอับอาย หรือเป็นเพราะพ่อแม่วัยรุ่นยังไม่สามารถดูแลลูกได้ เพราะยังเรียน หนงั สอื ไมจ่ บ หรอื เปน็ เพราะพอ่ แมว่ ยั รนุ่ เลกิ รากนั ไป กลายเปน็ ครอบครวั ลกั ษณะขา้ มรนุ่ ในทส่ี ดุ จากข้อมลู จากการส�ำรวจภาวะการทำ� งานของประชากรไทย ไตรมาสที่ 3 พ.ศ. 2530– พ.ศ. 2556 โดยสำ� นกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ พบวา่ ครอบครวั ขา้ มรนุ่ ในประเทศไทยเพมิ่ จากประมาณ 1 แสนกว่าครวั เรือน คิดเป็นสดั ส่วนนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 1 ใน พ.ศ. 2530 เปน็ 4 แสนกวา่ ครัวเรือน คิดเป็นสดั ส่วนประมาณรอ้ ยละ 2 ใน พ.ศ. 2556 กว่ารอ้ ยละ 76 ของครอบครัวข้ามรนุ่ นี้อยใู่ น เขตชนบท ความจรงิ ทนี่ า่ ตระหนกและสะเทอื นใจของสงั คมไทยปจั จบุ นั คอื ความมง่ั คง่ั ของโอกาส และทรพั ยากรทม่ี ากองกระจกุ อยใู่ นสงั คมเมอื ง และลอ่ ใหค้ นออกจากถนิ่ ฐานบา้ นนอกมาดนิ้ รน ไขว่คว้า กลับมีไม่มากพอที่จะเลี้ยงดูลูกที่เกิดขึ้นในเมือง และต้องส่งไปให้ปู่ย่า ตายายใน ต่างจังหวัดเลี้ยงดูแทน พ่อแม่ได้แต่ส่งเงินค่าเล้ียงดู และเดินทางไปเยี่ยมลูกน้อยเป็นครั้งคราว พร้อมกับของเล่นราคาแพงกับขนมแปลกตา เพื่อชดเชยความรู้สึกคิดถึงและความห่างเหิน ของทงั้ ลกู และพอ่ แม่ แมป้ ยู่ า่ ตายายจะเปน็ สมาชกิ ในครอบครวั ทพ่ี อ่ แมไ่ วใ้ จทส่ี ดุ ทจ่ี ะใหด้ แู ลลกู แต่การเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วของโลก และสังคมท่ีมาสัมผัสเด็กผ่านช่องทางอันหลากหลาย อาจท�ำใหค้ นแก่เชื่องช้าเกนิ กวา่ ทจ่ี ะว่ิงตามได้ทนั การศกึ ษาของสตรี…บทบาทหญงิ ไทยท่ีเปลยี่ นแปลง กับหน่ึงศตวรรษของแม่บา้ นเต็มเวลาทห่ี ายไป Friedrich Engels นกั คดิ และนกั ปรชั ญาสำ� นกั เดยี วกบั Karl Marx แสดงทรรศนะเกยี่ วกบั การสมรสและครอบครวั อยา่ งอกุ อาจสำ� หรบั สงั คมศตวรรษที่ 19 ในหนงั สอื The Origin of the Family, Private Property and the State (1972) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นท่ี เกีย่ วกับบทบาทของผหู้ ญิงในครอบครัว ซึ่ง Engels ไม่เหน็ ว่าสถานภาพของหญิงที่ต�ำ่ ตอ้ ยกว่า 10 ความอยู่ดีมีสขุ ของครอบครวั ไทย �����������6.indd 10 147//2560 BE 17:09

ชายไมเ่ ก่ยี วขอ้ งอะไรกับลขิ ิตของพระเจ้า หรือขอ้ กำ� หนดทางธรรมชาติ แต่เป็นเรอื่ งของแนวคิด สงั คมทผ่ี ชู้ ายเปน็ ใหญ่ (Patriarchal) รปู แบบการอยกู่ นิ แบบผวั เดยี วเมยี เดยี ว (Monogamous) เป็นการสร้างกรรมสิทธิ์ (Privatize) ผกู พนั ภรรยาและครอบครวั ใหเ้ ปน็ ของสามที �ำนองเดยี วกบั ทรัพย์สิน ทั้งยังวิจารณ์ว่าครอบครัวในสังคมที่ผู้ชายเป็นใหญ่น้ีแสดงการแบ่งแยกให้หญิงต�่ำช้ัน กว่าชายอยา่ งชดั เจน ท้งั สทิ ธิและสถานะของผหู้ ญิงในบ้านไมแ่ ตกตา่ งอะไรไปจากคนรบั ใช้และ ผใู้ หบ้ รกิ ารทางเพศ ซงึ่ ความเหน็ ของ Engels สรา้ งแรงกระแทกใหก้ บั กลมุ่ สตรนี ยิ ม (Feminist) และนกั คดิ อ่ืนๆ ในยุคน้ัน อย่างกว้างขวาง บทบาทและสถานะของผู้หญิงในปัจจุบันเปล่ียนแปลงไปอย่างมากจากในอดีต แม้จะยัง ไมไ่ ดร้ บั สทิ ธเิ ทา่ เทยี มกบั ผชู้ ายโดยสมบรู ณใ์ นทกุ บรบิ ท แตก่ น็ บั วา่ ไดร้ บั การยกยอ่ งและมเี กยี รติ มากกวา่ แตก่ อ่ นอยา่ งมาก และมแี นวโนม้ ไปในทศิ ทางทดี่ ขี นึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ผลจากการดน้ิ รนและ การผลักดันของกลุ่มผู้มีแนวคิดสตรีนิยม ท�ำให้เกิดการปลดผู้หญิงจากแอกแห่งสังคมกดขี่ทาง เพศ ทสี่ ืบทอดมาหลายชว่ั อายคุ นดว้ ยการพัฒนาการศึกษาของสตรี แม้ในยุคแรกของการศึกษา ของสตรที น่ี อกเหนอื จากการเนน้ ใหอ้ า่ นออกเขยี นไดเ้ ปน็ พน้ื ฐานแลว้ สว่ นใหญก่ จ็ ะยงั คงวนเวยี น เก่ยี วกบั การบา้ นการเรอื น ซงึ่ เรยี กวา่ วชิ าคหกรรมศาสตร์ (Home economics) ยงั หลงเหลอื เงอื้ มเงาของหลักสูตร “แม่ศรีเรือน” เพอ่ื การจดั การบ้านชอ่ งใหเ้ รยี บรอ้ ย ปรนนิบตั ิสามแี ละลูก ไมใ่ หข้ าดตกบกพรอ่ ง โรงเรยี นและมหาวทิ ยาลยั เปน็ สถานทท่ี ผ่ี หู้ ญงิ จะไดพ้ บกบั สามที ดี่ ใี นอนาคต แต่ต่อมาภายหลัง การศึกษาของสตรีได้ขยายไปครอบคลุมหมวดวิชาต่างๆ อย่างกว้างขวาง จนมาถึงในปัจจุบันท่ีผู้หญิงเริ่มเข้ามาเรียนในสาขาวิชาที่ครั้งหน่ึงเคยผูกขาดโดยผู้ชาย ไม่ว่า จะเป็นวิศวกรรม ทหาร ต�ำรวจ หรอื แมก้ ระท่ังนกั บนิ ในวิทยานิพนธ์ของมาโนชญ์ มูลทรัพย์ (2557) เรื่อง การเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษา ของสตรไี ทยในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั (พ.ศ. 2411–2453) บรรยาย ถึงรากฐานการศึกษาของสตรีในประเทศไทย ซึ่งส�ำหรับชนช้ันเจ้านายในราชวงศ์นั้นมีมาในร้ัว ในวงั อยนู่ านแลว้ แตม่ าเรม่ิ ใหก้ ารศกึ ษาอยา่ งเปน็ ระบบแกส่ ตรสี ามญั ชนตงั้ แตก่ ารจดั ตงั้ โรงเรยี น กลุ สตรวี งั หลัง ใน พ.ศ. 2417 ซึ่งปจั จุบนั คอื โรงเรยี นวัฒนาวิทยาลัย มกี ารขยายไปตามหัวเมือง ต่างๆ ด้วยความร่วมมืออย่างแข็งขันจากกลุ่มมิชชันนารีเป็นหลัก การเรียนการสอนยังคงเน้น เพอื่ ใหอ้ า่ นออกเขยี นไดแ้ ละวชิ าการบา้ นการเรอื น แตก่ ารศกึ ษาทที่ ำ� ใหส้ ตรมี วี ชิ าชพี และออกมา ท�ำงานนอกบ้านช่วยสามีท�ำมาหากินจุนเจือครอบครัวจริงๆ เริ่มใน พ.ศ. 2439 เมื่อมีการต้ัง โรงเรียนผดุงครรภแ์ ละสตรี ปจั จบุ นั คือคณะพยาบาลศาสตร์ แหง่ มหาวทิ ยาลยั มหิดล ซ่ึงในช่วง แรกยงั มนี กั เรยี นไมม่ ากเทา่ กบั โรงเรยี นสนุ นั ทาลยั ทตี่ งั้ ขน้ึ ใน พ.ศ. 2456 เพอ่ื เปน็ โรงเรยี นฝกึ หดั ครูผู้หญิง ภายหลังกลายมาเป็นวิทยาลัยครูสวนสุนันทา และเปล่ียนเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสนุ นั ทาในปัจจุบนั ภเู บศร์ สมุทรจกั ร I ธรี นชุ ก้อนแก้ว I ริฎวนั อเุ ด็น 11 �����������6.indd 11 147//2560 BE 17:09

เรอื่ งการศกึ ษาของผหู้ ญงิ ทม่ี ากขนึ้ แลว้ ทำ� ใหบ้ ทบาทของผหู้ ญงิ ในสงั คมไทยเปลย่ี นแปลง และโดดเดน่ ขนึ้ เปน็ เรอื่ งทม่ี คี นเขยี นและสรปุ ไวม้ ากอยแู่ ลว้ แตใ่ นแงท่ ก่ี ารศกึ ษาทำ� ใหก้ ารหาความ หมายและเปา้ หมายในชวี ติ ของผหู้ ญงิ เปลย่ี นแปลงไป การคน้ หาตวั เองและบรรลคุ วามเปน็ ปจั เจก (Individualization) รวมท้ังการวางเส้นทางชีวิตเพื่อเติมเต็มความปรารถนาของตัวเอง (Individual fulfillment) มชี วี ิตและความฝนั ทกี่ ว้างและไกลไปกวา่ การไดส้ ามที ี่ดี ไดเ้ ลี้ยงลกู และดูแลบ้านและครอบครัว ท้าทายจารีตและคุณสมบัติของกุลสตรีในอดีต ยังมีไม่มากและ ชดั เจนนกั การเปลย่ี นแปลงเหลา่ นงี้ อกงามออกมาจากเมลด็ พนั ธก์ุ ารศกึ ษาทเี่ รมิ่ หวา่ นไวใ้ นสงั คม ไทยเม่อื กว่า 100 ปีกอ่ น ท�ำนองเดียวกบั ภาพยนตร์เร่อื ง Mona Lisa Smile ทีค่ รศู ลิ ปะสาว เข้าไปสอนในวิทยาลัยสตรีแห่งหน่ึงในมลรัฐ Massachusetts เมื่อ ค.ศ. 1953 ใช้ศิลปะและ ปรัชญาเปดิ โลกกวา้ งใหแ้ ก่นกั ศกึ ษาสาวๆ เปลีย่ นทศั นคติและ “สรา้ งการเปลีย่ นแปลง” (Make a difference) ไมเ่ พยี งแตจ่ ำ� นวนของนกั เรยี น และนกั ศกึ ษาหญงิ ทเ่ี พมิ่ ขน้ึ จนแทบไมเ่ หลอื ความแตกตา่ ง ระหวา่ งโอกาสทางการศกึ ษาระหวา่ งเพศในประเทศไทย ผหู้ ญงิ ยงั เรยี นในสาขาวชิ าทหี่ ลากหลาย มากย่ิงขึ้น และเมื่ออุตส่าห์เรียนจนส�ำเร็จแล้วก็ต้องใช้วิชาความรู้ท่ีเรียนมาให้เกิดประโยชน์ และมองเห็นโอกาสในการประกอบอาชีพ ท้ังสังคมก็ให้การยอมรับมากกว่าการ “อยู่กับเหย้า เฝา้ กบั เรอื น” เปน็ “แมศ่ รเี รอื น” คอยปรนนบิ ตั ดิ แู ลสามแี ละลกู เพยี งอยา่ งเดยี ว งานบา้ นกลาย เป็นงานที่ทั้งไม่ได้ค่าจ้าง (Unpaid) ด้อยมูลค่า (Undervalued) ท�ำให้สังคมไทยเร่ิมเห็น แม่–ภรรยาแบบเต็มเวลา (Full-time housewife) น้อยลงอย่างรวดเร็วในระยะเวลากว่า ศตวรรษท่ีผา่ นมา หลังจากท่ีผู้หญิงในสังคมไทยก้าวไปเป็นผู้หญิงท�ำงาน (Working women) มากขึ้น การจดั การตา่ งๆ ภายในบา้ นทแ่ี ตเ่ ดมิ เคยเปน็ ธรุ ะของผหู้ ญงิ ตอ้ งมกี ารจดั แบง่ และบรหิ ารจดั การ ใหม่ ในสมัยก่อนท่ีแรงงานระดับล่างยังหาได้ง่าย ครอบครัวไทยรู้จักการว่าจ้าง “คนรับใช้” มาช่วยแบ่งเบาภาระของผู้หญิงท่ีจะต้องออกไปท�ำงานนอกบ้าน ซึ่งมักเป็นผู้หญิงเพราะต้อง ท�ำงานท่ีเปน็ งานของผ้หู ญงิ ต้ังแต่ปดั กวาดเชด็ ถบู ้าน ดแู ลความเรยี บรอ้ ยของบา้ น ซกั ผา้ รีดผา้ ทำ� อาหาร ดูแลลกู ๆ ของเจา้ นาย ตั้งแต่ตื่นนอน แต่งตวั ปอ้ นข้าว ส่งไปโรงเรียน จนกระท่งั เรียน เสร็จกลับมาถึงบ้าน ป้อนข้าวตอนเย็นและส่งเข้านอน รวมทั้งการดูแลผู้สูงอายุภายในบ้าน งานของคนรับใช้สะท้อนได้เป็นอย่างดีว่าในยุค “แม่ศรีเรือน” หน้าที่ของผู้หญิงตามทฤษฎี โครงสรา้ งการหนา้ ทีข่ องครอบครัวประกอบด้วยอะไรบา้ ง การจ้างคนรับใช้มาดูแลงานที่เคยเป็นธุระของผู้หญิงนี้ สะท้อนให้เห็นว่างานอาชีพ นอกบ้านมีความส�ำคัญอยู่ไม่น้อย แม้ไม่อาจบอกได้ว่าส�ำคัญกว่างานภายในบ้าน แต่อย่างน้อย 12 ความอยดู่ มี ีสุขของครอบครวั ไทย �����������6.indd 12 147//2560 BE 17:09

มีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และความคุ้มค่าทางสังคมมากกว่า หรือหากกล่าวจากมุมมองทาง เศรษฐศาสตรอ์ าจพดู ไดว้ า่ งานอาชพี นอกบา้ นมตี น้ ทนุ ทางโอกาส (Opportunity costs) สงู กวา่ งานภายในบ้าน เชน่ สามารถช่วยสามหี าเงินเพอ่ื จุนเจอื ครอบครัวได้สงู กว่าค่าจ้างแม่บา้ น หรือ คนรับใช้ ในเชิงการบริหารงานยุคใหม่อาจมองได้ว่า เป็นการจัดจ้างคนภายนอกให้มาท�ำแทน (Outsourcing) ซ่ึงในศาสตรก์ ารจดั การ จะตัดสินใจทำ� ก็ต่อเม่อื งานนน้ั เป็นงานทไ่ี มถ่ นัด คนอ่ืน ทำ� ไดม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู กวา่ หรอื เปน็ งานทไ่ี มใ่ ชง่ านส�ำคญั (Core tasks) เพอ่ื ใหม้ เี วลาไปท�ำงาน อน่ื ท่ีมีความสำ� คญั มากกวา่ ถนัดมากกวา่ หรอื ท�ำงานอน่ื ท่ีชอบมากกวา่ การศึกษาของสตรีเร่ิมใช้เวลายาวนานขึ้น จากในสมัยก่อนท่ีเรียนจบเพียงประโยค มัธยมเป็นอันหมดวิชาที่ลูกผู้หญิงควรจะเรียน ภายหลังค่านิยมเปล่ียนเป็นการจบการศึกษา อย่างน้อยในระดับปริญญาตรีเป็นขั้นพ้ืนฐาน และในระยะต่อมากลายเป็นจะต้องส�ำเร็จ การศึกษาอย่างน้อยในระดับปริญญาโท เพ่ือความก้าวหน้าในอาชีพการงาน และเงินเดือนท่ี สูงขึ้น ซ่ึงการใช้ระยะเวลาอันยาวนานในการศึกษานี้ ผูกพันทั้งหญิงและชายไม่ให้แต่งงาน สร้างครอบครวั รวมถงึ การมลี กู เปน็ ระยะเวลานานขนึ้ กว่าในสมัยก่อน จากการศึกษาเรื่อง “ไลฟสไตล์ แผนการด�ำเนินชีวิต กับแนวคิดการมีบุตรของ คนเจเนอเรชนั วาย” (ภเู บศร์ สมุทรจกั ร และนพิ นธ์ ดาราวุฒมิ าประกรณ์, 2557) รายงานวา่ ในทศั นะของคนรนุ่ ใหม่ อายทุ เ่ี หมาะส�ำหรบั การแตง่ งานหรอื การมคี สู่ �ำหรบั ผหู้ ญงิ คอื 27–28 ปี ส่วนผูช้ ายควรมอี ายุ 29–30 ปี นอกจากนี้ ในการศกึ ษาดงั กล่าวยังพบว่าภารกจิ ส�ำคญั ของชวี ติ หลังจากส�ำเร็จการศึกษาแล้ว อันดับแรกคือการเรียนต่อ อันดับท่ีสองคือการท�ำงาน ต่อด้วย การซ้อื รถ แล้วจงึ ซ้ือบา้ น ส่วนการแตง่ งานและการมีบุตรมีความสำ� คญั เปน็ ลำ� ดบั ท้ายๆ ซ่ึงอายุ ทเ่ี หมาะสมสำ� หรบั การมลี กู คนแรกสำ� หรบั ผชู้ ายคอื 28–29 ปี สว่ นผหู้ ญงิ อยากมลี กู คนแรกตอน อายุ 30–32 ปี และกวา่ รอ้ ยละ 80 ของทง้ั หญงิ และชายอยากมลี กู โดยมสี ดั สว่ นของผชู้ ายมากกวา่ หญงิ เลก็ น้อย การวางแผนชีวิตของคนรุ่นใหม่ท่ีใช้เวลาค่อนข้างมากในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย มคี วามเกี่ยวโยงอย่างใกล้ชดิ กบั อัตราเกดิ ท่ีลดลง เพราะกวา่ จะพอใจกับดกี รี (ระดับการศกึ ษา) ทตี่ ้องการ และมีความม่ันคงเพียงพอที่จะเริม่ ใช้ชวี ิตค่แู ละมลี กู กล็ ว่ งเขา้ วัยเกือบ 30 ปี ป่านน้ัน อายแุ หง่ การเจรญิ พนั ธซ์ุ ง่ึ เรม่ิ ตงั้ แตอ่ ายุ 15 ปกี ห็ ายไปกวา่ ครงึ่ และเมอ่ื อายลุ ว่ งเขา้ 30 ปไี ปแลว้ โอกาสการมีลูกอย่างปลอดภัยเริ่มน้อยลง และต้องพึ่งเทคโนโลยีทางการแพทย์และ การเจรญิ พนั ธเ์ุ พอ่ื ใหม้ ลี กู ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการเตบิ โตของคลนิ กิ ใหค้ ำ� ปรกึ ษาการมบี ตุ รยากและ การทำ� “กฟ๊ิ ท์” (Gift) ซึ่งมีคา่ ใชจ้ ่ายสงู ลว่ิ ในปจั จบุ ัน �����������6.indd 13 ภเู บศร์ สมุทรจกั ร I ธรี นุช กอ้ นแกว้ I รฎิ วนั อเุ ดน็ 13 147//2560 BE 17:09

คนร่นุ ใหมก่ บั การสร้างครอบครวั การสร้างครอบครัว เปน็ กิจกรรมทางสังคม ซึ่งนักวชิ าการดา้ นครอบครัวกลมุ่ หนึง่ มองวา่ เปน็ กิจกรรมทีม่ ีลำ� ดบั ข้นั ตอนและมีลักษณะเป็น “วัฏจักร” เรยี กมมุ มองน้ีวา่ เปน็ “วัฏจกั รชีวติ ครอบครัว” (Family life-cycle approach) เป็นส่วนหน่ึงของทฤษฎีพัฒนาการครอบครัว (Family development theory) โดยอธบิ ายวา่ กระบวนการเกดิ ขน้ึ ของครอบครวั เปน็ กระบวนการ ท่ีมีรูปแบบค่อนข้างคงท่ีมาแต่ไหนแต่ไรจนแทบจะเป็นกระบวนการธรรมชาติ ไม่ว่าจะอยู่ใน วัฒนธรรมแบบไหนและประวัติศาสตร์ช่วงใด เร่ิมด�ำเนินตั้งแต่การเป็นวัยเด็ก พัฒนาเข้าสู่ วัยผู้ใหญ่ และใช้ชีวิตคู่ Evelyn Duvall (1985) ผู้ให้ก�ำเนิดแนวคิดวัฏจักรชีวิตครอบครัว ซ่ึงพฒั นามาจากแนวคดิ ของ Ruben Hill อธิบายถงึ การสร้างครอบครวั วา่ มี 8 ขัน้ ตอน ไดแ้ ก่ (1) เร่ิมชีวิตแต่งงาน แต่ยังไม่มีลูก (2) ต่อมาเป็นครอบครัวที่มีลูกอายุไม่เกิน 30 เดือน (3) จากน้นั เปน็ ครอบครัวท่มี ลี กู ก่อนวยั เรยี น (4) ลูกเขา้ โรงเรียน (5) ลกู เป็นวยั รนุ่ (6) ลกู ยา้ ย ออกจากบา้ นเพอื่ ไปใชช้ ีวติ ของตัวเอง (7) พอ่ แม่เขา้ สู่วยั กลางคน และ (8) พ่อแม่เข้าสวู่ ยั ชรา กิจกรรมและความเป็นไปภายในแต่ละขั้นตอนได้รับอิทธิพลจากอายุ ความจ�ำเป็น และ ความต้องการในช่วงวัยนั้นๆ Duvall ยังอธิบายด้วยว่า ทุกครั้งท่ีลูกคนโตเข้าสู่พัฒนาการใหม่ เป็นคร้ังแรกไม่ว่าจะเป็นการเร่ิมเดิน เร่ิมพูด เร่ิมเข้าโรงเรียน เร่ิมมีแฟน หรือออกจากบ้าน ครอบครวั จะไดร้ บั ประสบการณใ์ หมท่ ส่ี รา้ งการเปลย่ี นแปลงใหก้ บั ครอบครวั และตอ้ งมกี ารปรบั ตวั ภายในครอบครวั เสมอ การสร้างครอบครัวนับเป็นเรื่องใหญ่ของชีวิต เพราะจะว่าไปแล้ว การสร้างครอบครัว เปน็ การวางแผนชวี ติ ทง้ั ชวี ติ และเปน็ การสง่ ตอ่ การดแู ลชวี ติ ของแตล่ ะคน จากทแี่ ตเ่ ดมิ อยใู่ นการ ดแู ลของพอ่ แม่ โอบอมุ้ ปกปอ้ งอยแู่ นบอก จนปลอ่ ยลงสมั ผสั พน้ื และจงู มอื เมอ่ื เรมิ่ เดนิ ได้ มาจนถงึ วนั ทพี่ อ่ แมเ่ รม่ิ ปลอ่ ยมอื เพอ่ื ใหเ้ ผชญิ ชวี ติ และสรา้ งครอบครวั ของตวั เอง กระบวนการสรา้ งครอบครวั จึงเก่ียวพันกับการวางแผนการด�ำเนินชีวิตอย่างแยกกันไม่ออก และจริงๆ แล้วการวางแผน การด�ำเนินชีวิตเร่ิมต้นขึ้นก่อน ส่วนกระบวนการสร้างครอบครัวเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผน การด�ำเนนิ ชวี ติ คนในแต่ละรุ่น หรือเจเนอเรชันมีการวางแผนการด�ำเนินชีวิตที่แตกต่างกันไปตาม การเปลีย่ นแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ และอาจรวมถงึ การเมืองในแตล่ ะยคุ แผนการด�ำเนนิ ชวี ติ นไี้ ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากไลฟสไตล์ หรอื วถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ เปน็ อยา่ งมากดงั ทกี่ ลา่ วมาแลว้ ในขา้ งตน้ ซึ่งไลฟไสตล์นี้เป็นผลลัพธ์จากโลกทัศน์ และค่านิยมของคนในแต่ละยุคสมัย อย่างเช่นผู้ชาย ในเจเนอเรชันเบบี้บูม (Babyboomers: เกดิ ระหว่าง พ.ศ. 2486–พ.ศ. 2503) เริ่มแต่งงานและ 14 ความอยู่ดมี ีสขุ ของครอบครวั ไทย �����������6.indd 14 147//2560 BE 17:09

มคี รอบครัวเมือ่ อายุเฉลี่ยประมาณ 25 ปี ผู้หญิงอายุเฉลย่ี ประมาณ 22 ปี มีลกู 4-5 คนโดยเฉลย่ี ต่อครอบครัว ส่วนผู้ชายในเจเนอเรชันเอ็กซ์ (Generation X: เกิดระหว่าง พ.ศ. 2504– พ.ศ. 2522) เริม่ แตง่ งานและมคี รอบครัวเม่ืออายเุ ฉลี่ย 27 ปี ผูห้ ญิงอายเุ ฉล่ียประมาณ 24 ปี มลี ูก 2-3 คนโดยเฉลยี่ ต่อครอบครัว ชาย โพธิสิตา (2552) สะทอ้ นใหเ้ หน็ การเปล่ยี นแปลงใน คา่ นยิ มเกยี่ วกบั การเรมิ่ สรา้ งครอบครวั และอาจรวมถงึ วตั ถปุ ระสงคข์ องการมลี กู ซง่ึ ในวรรณกรรม เก่ียวกับครอบครัวและการมีลูกเรียกว่าเป็น “คุณค่าของลูก” (Value of children) โดยท่ี ลูกเป็นแรงงานในการช่วยพ่อแม่ท�ำมาหากิน น�ำมาซ่ึงความมั่งคั่งของครอบครัวและของพ่อแม่ ในยามชรา สรา้ งเสถียรภาพของการสมรส เพราะเป็นเครือ่ งยึดเหนีย่ วให้สามีภรรยาอยดู่ ้วยกัน และเป็นความม่ันคงของสถานภาพของภรรยาในครอบครัวของฝ่ายสามี รวมท้ังความหมายท่ีมี ตอ่ การสบื ทอดวงศ์ตระกูล หรือแมแ้ ต่การสืบทอดกิจการ และการสืบทอดอ�ำนาจทางการเมือง เมื่อมาถึงเจเนอเรชันวาย (Generation Y: เกดิ ระหว่าง พ.ศ. 2523–พ.ศ. 2546) ซง่ึ เปน็ เจเนอเรชันท่ี “รับผิดชอบ” ต่อการผลิตประชากรและสร้างครอบครัวในขณะนี้ ยิ่งพบว่าอายุ เฉลยี่ ของการเรม่ิ แตง่ งานกลบั เพมิ่ มากขนึ้ ไปเปน็ ประมาณ 30 ปสี ำ� หรบั ผชู้ าย และ 28 ปสี ำ� หรบั ผู้หญิง ตง้ั ใจท่จี ะมีลูกเฉล่ียประมาณ 2 คน (ภูเบศร์ สมทุ รจกั ร และนพิ นธ์ ดาราวฒุ ิมาประกรณ์, 2557) ในการสำ� รวจทศั นคตขิ องคนรนุ่ ใหมต่ อ่ การแตง่ งานและการมลี กู ของพมิ ลพรรณ อศิ รภกั ดี (2557) คนรุ่นใหม่ร้อยละ 38 มีลูก “เพื่อให้ชีวิตมีความสมบูรณ์” ซ่ึงเป็นเหตุผลที่มีคนตอบ มากที่สุด ส่วนเหตุผลอื่นๆ ได้แก่ การรักษาความสัมพันธ์ในครอบครัวร้อยละ 17 เพ่ือให้ดูแล ยามพ่อแมเ่ จ็บปว่ ยรอ้ ยละ 14 เพือ่ สบื สกุลรอ้ ยละ 12 สว่ นทีค่ าดหวังว่าจะให้ลกู เป็นคนเลีย้ งดู หรือสนบั สนุนทางเศรษฐกิจมเี พยี งรอ้ ยละ 6 บางคนทอ่ี าจยังหาเหตผุ ลชัดๆ ไม่ไดว้ า่ มลี กู ไปเพอื่ อะไร ลงเอยด้วยการบอกเพียงว่า “แต่งงานแล้วก็ต้องมีลูก” ซึ่งดูเป็นการมีลูกโดยธรรมเนียม หรอื โดยปรยิ าย (For granted) มากกว่าการมดี ้วยเหตผุ ลอยา่ งหน่งึ อยา่ งใด ทำ� ใหม้ ีลกู เพียง 1 หรือ 2 คน ก็นา่ จะเพียงพอ ในบางรายหาเหตผุ ลที่ชัดเจนไม่ไดจ้ งึ ตัดสินใจทไ่ี มม่ ีเสยี เลย การมชี วี ติ คู่ ไมว่ า่ จะมกี ารสมรสหรอื ไม่ ยงั เปน็ สงิ่ ทไ่ี มว่ า่ คนรนุ่ ใดถวลิ หาเสมอ เปน็ ธรรมชาติ พนื้ ฐานของมนษุ ยท์ ตี่ อ้ งการความรกั โดยแทจ้ รงิ ไมว่ า่ จะเปน็ การสำ� รวจครงั้ ไหน คนกย็ งั ตอ้ งการ ความรักและความสัมพันธ์ลึกซึ้ง แต่เร่ืองท่ีจะแต่งงานอยู่กินกันอย่างเป็นทางการและมีลูกนั้น กลับไม่ใช่ความส�ำคัญเร่งด่วนในการวางแผนชีวิตเสียแล้ว สังคมปัจจุบันมีความท้าทายและ กิจกรรมอ่ืนๆ ให้คิดให้ท�ำมากมาย จนท�ำให้เส้นทางการด�ำเนินชีวิตแบบเรียนจบ–แต่งงาน– มีลูก–เลี้ยงลูก ดูเป็นพันธนาการยาวนาน ท่ีจะลดทอนช่วงเวลาสนุกสนานและหอมหวาน ของวัยหนุ่มสาว คนเจเนอเรชันนี้อยากใช้เวลาแห่งการผลิบานของชีวิตน้ีให้คุ้มค่า แม้แต่งงาน แลว้ กย็ งั อยากใชช้ ีวติ ครู่ ักทมี่ ีเพยี งสองคนอกี สกั ระยะหนึ่งจนพอใจ หรือจนพรอ้ มแลว้ จึงจะมีลูก ภูเบศร์ สมุทรจักร I ธรี นชุ ก้อนแกว้ I รฎิ วนั อุเด็น 15 �����������6.indd 15 147//2560 BE 17:09

กระบวนการทจ่ี ะมลี กู ในปัจจบุ นั นนั้ ยงุ่ ยากและซบั ซอ้ นมากกว่ารุ่นปู่ยา่ ตายาย หรอื ร่นุ พ่อแม่ เพราะต้องมีการเตรียมความพร้อมมากมาย แม้พ่อแม่สมัยใหม่ต้ังใจจะมีเพียงแค่หนึ่ง หรือสองคน ซึ่งเมื่อเทียบกับจ�ำนวนลูกของคนในเจเนอเรชันก่อนๆ แล้ว นับว่าน้อยมาก การเตรียมความพร้อมเหล่านี้ต้องมีการศึกษาท่ีสูงเป็นเบื้องต้น เมื่อเรียนจบแล้วต้องหาทาง เรียนต่อโดยเร็วเพื่อหน้าที่การงานและเงินเดือนท่ีดี และส�ำหรับคนเจเนอเรชันวายช้ันกลาง การศกึ ษาขนั้ ตำ�่ ตอ้ งอยา่ งนอ้ ยถงึ ระดบั ปรญิ ญาโท และตอ้ งหางานทด่ี ที ำ� และในยคุ นต้ี อ้ งทำ� งาน ไปดว้ ยเรยี นไปดว้ ยเพอื่ ไมใ่ หเ้ สยี โอกาสในการทำ� งาน และตอ้ งมรี ถกอ่ นมบี า้ น เพราะรถเกยี่ วขอ้ ง กับไลฟสไตล์ หน้าตา และความจ�ำเป็นในสังคมท่ีการขนส่งมวลชนไม่สะดวกสบายเท่าที่ควร อย่างประเทศไทย ซึ่งแตกต่างจากคนรุ่นก่อนที่ปลูกฝังให้ซื้อบ้านก่อนซื้อรถ เพราะบ้านเป็น ทรพั ยส์ นิ และเปน็ ความมน่ั คงของครอบครวั ทงั้ หมดน้ี คนรนุ่ ใหมต่ อ้ งมคี รบพรอ้ มใหไ้ ดก้ อ่ นทจ่ี ะ ตัดสินใจมีลูก ซ่ึงความย้อนแย้งที่เกิดข้ึนกับการวางแผนการด�ำเนินชีวิตตามขั้นตอนเหล่านี้ คือ เม่ือถึงจุดที่คิดว่าพร้อมแล้วก็มีอายุท่ีล่วงเลยเข้าสู่วัยที่ต้ังครรภ์ได้ยากข้ึน และอาจต้อง พ่ึงนวัตกรรมการเจริญพันธ์ุมากมาย เพื่อชว่ ยใหต้ งั้ ครรภแ์ ละคลอดลูกได้อย่างปลอดภยั ผิดกับ คนเจเนอเรชันก่อนๆ ที่เมื่อแต่งงานแล้วก็จะเริ่มมีลูกกันเลย ส่วนเรื่องเรียนต่อหรือเรื่องรถนั้น เปน็ เร่อื งทค่ี ่อยๆ ท�ำไปพร้อมกบั เลีย้ งลกู สิง่ หนงึ่ ทน่ี ่าสนใจเก่ยี วกับการเล้ียงลกู และเตรียมความพร้อมให้กับลกู ในยคุ ปจั จุบัน คอื ไม่ว่าจะเป็นครอบครัวระดับไหนล้วนแต่มองเห็นว่า การมีลูกสักคนต้องใช้ต้นทุนมากเหลือเกิน ทงั้ ตน้ ทนุ ทเี่ ปน็ ตวั เงนิ และตน้ ทนุ ทเี่ ปน็ ทรพั ยากรอน่ื ๆ เชน่ เวลา หลายคนอาจจะคดิ วา่ ครอบครวั ท่ีมีเงินมากสักหน่อยน่าจะสามารถมีลูกมากกว่าครอบครัวอ่ืนได้โดยไม่มีปัญหา แต่กลับพบว่า ในครอบครวั แตล่ ะระดบั ตา่ งมคี วาม “แพง” ของการเลยี้ งลกู ในระดบั ของตวั เอง ส�ำหรบั ครอบครวั ทมี่ ฐี านะยากจนนนั้ เราอาจเขา้ ใจไดด้ วี า่ เปน็ เพราะมคี วามอตั คตั อยแู่ ลว้ ในการหาเลย้ี งตวั เองให้ พอเพียงในแตล่ ะเดือน การมีลกู จงึ เปน็ ภาระดา้ นการเงินที่หนกั มากเปน็ ธรรมดา แต่เมอื่ ขยับขนึ้ มาถงึ ครอบครวั ทมี่ ฐี านะปานกลาง หรอื ปานกลางคอ่ นขา้ งรวย การเลยี้ งลกู กจ็ ะใชท้ รพั ยากรอกี แบบหน่งึ ขา้ วของเครอ่ื งใชอ้ กี ย่ีหอ้ หน่ึง เข้าโรงเรียนอีกระดับหนึง่ มีกจิ กรรมเสริมทักษะพเิ ศษ ท่ีแพงข้ึนไปในอีกระดับหน่ึง ซ่ึงในเร่ืองน้ีภาคธุรกิจมีพัฒนาการปรับตัวรองรับได้อย่างรวดเร็ว สามารถสร้างสินค้าและบริการตอบสนองทุกระดับรายได้ แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ส�ำนัก คลาสสิกที่บอกว่า ย่ิงธุรกิจแข่งขันกันเสรี ราคาก็จะย่ิงถูกลง และผู้บริโภคก็จะได้รับประโยชน์ สงู สดุ อาจจะไมจ่ รงิ เสยี แลว้ เมอ่ื วนั นม้ี กี ารแขง่ ขนั แนวใหมด่ ว้ ยการสรา้ งมลู คา่ เพมิ่ (Value-added) เชน่ การสรา้ งแบรนดโ์ กห้ รู หบี หอ่ สดุ ลำ�้ พรเี ซนเตอรด์ งั ๆ สรา้ งความแตกตา่ ง (Differentiation) ทัง้ ทีเ่ ป็นจรงิ และทีเ่ ป็นเพียงความรู้สกึ (Real versus perceived differentiation) ให้สนิ ค้า และบรกิ ารสามารถแบง่ ออกเปน็ ระดบั ชนั้ เหมาะกบั แตล่ ะระดบั ได้ สดุ ทา้ ยคอื ลกู คา้ ทกุ ระดบั ชน้ั 16 ความอยดู่ ีมสี ุขของครอบครัวไทย �����������6.indd 16 147//2560 BE 17:09

ต้องจ่ายเงินเพ่ิมขึ้นให้กับสินค้าและบริการที่นับวันจะมีจ�ำนวนรายการท่ีจ�ำเป็นต้องซื้อ ต้องใช้ และราคาทเ่ี พม่ิ ขึ้นทกุ ที ไมว่ า่ จะเปน็ อะไรกล็ ว้ นแตเ่ ป็นสิง่ จำ� เปน็ ท่จี ะตอ้ งซือ้ ต้องจา่ ย การมีลกู และการเลย้ี งลกู จึงเป็นการลงทนุ ก้อนใหญ่ ผกู พนั ระยะยาวทที่ �ำให้พ่อแมต่ อ้ งคดิ มากขนึ้ ช่วงเวลาวิกฤตช่วงหนึ่งของการมีลูก คือ ช่วงระยะเวลาตั้งแต่หลังคลอดจนถึง 3 ขวบ โดยเฉพาะเม่ือเป็นลูกคนแรก เพราะเป็นช่วงระยะเวลาท่ีพ่อแม่มือใหม่ต้องปรับตัวและเรียนรู้ ประสบการณใ์ หมน่ ไี้ ปพรอ้ มๆ กนั โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในสงั คมทท่ี ง้ั พอ่ และแมต่ า่ งมงี านประจำ� ทำ� และหน�ำซ�้ำอาจอยู่ในสังคมเมืองท่ีห่างไกลจากการช่วยเหลือของปู่ย่าและตายาย ส่วนชุมชน รอบขา้ งกไ็ มร่ จู้ กั มกั คนุ้ หรอื เปน็ ญาตทิ จี่ ะสามารถไวว้ างใจ รบกวนขอความชว่ ยเหลอื ได้ กลไกรฐั ชว่ ยเหลอื ไดเ้ พยี งการลาคลอดเปน็ เวลา 3 เดอื น ซงึ่ เพยี งเทา่ นนั้ กเ็ ปน็ ภาระมากอยแู่ ลว้ แกน่ ายจา้ ง และผู้ร่วมงาน และอาจเป็นอุปสรรคต่อความก้าวหน้าในการท�ำงานของแม่ การตัดสินใจเป็น แม-่ ภรรยาเตม็ เวลา และใหพ้ อ่ -สามี ทำ� งานหาเลยี้ งครอบครวั เพยี งคนเดยี ว อาจมคี วามเสย่ี งดา้ น การเงินมากเกินไปในภาวะท่ีค่าใช้จ่ายในการด�ำรงชีวิตแพงขึ้นเร่ือยๆ โดยเฉพาะในครอบครัว ทม่ี ฐี านะปานกลางลงไป เมอื่ พน้ ระยะเวลา 3 เดอื นและแมต่ อ้ งกลบั ไปทำ� งาน การหาคนชว่ ยเลย้ี งลกู ชว่ งเวลากลางวนั จงึ เปน็ เรอื่ งสำ� คญั ในบางครอบครวั สามารถใหป้ ยู่ า่ ตายายมาชว่ ยเหลอื แบง่ เบา ได้ ในบางครอบครวั ทไ่ี มส่ ามารถทำ� ได้ จำ� เปน็ ตอ้ งจา้ งคนชว่ ยเลยี้ งซงึ่ ปจั จบุ นั หายาก และมรี าคา ค่อนข้างสูง และแม้มีคนช่วยเลี้ยงแล้วก็ยังต้องหาสถานรับเลี้ยงเด็ก ซึ่งต้องติดต่อจองคิวตั้งแต่ เริ่มตั้งครรภ์ จากการศึกษาเกี่ยวกับประเด็นคุณภาพและความพอเพียงของสถานรับเลี้ยงเด็ก ในเขตกรุงเทพฯ และปรมิ ณฑล พบวา่ แมพ้ ่อแมจ่ ะมเี วลาเล้ยี งลกู เอง หรอื มคี นชว่ ยเลี้ยง ก็ยงั ตอ้ งนำ� ลกู ไปฝากไวก้ บั สถานรบั เลยี้ งเดก็ ดว้ ยเหตผุ ลเกย่ี วกบั การตดิ ตามพฒั นาการของเดก็ กอ่ น วัยเรียน และฝึกลูกให้เข้าสังคม ใช้ชีวิตร่วมกันคนอื่น ซ่ึงค่าใช้จ่ายส�ำหรับสถานรับเล้ียงเด็ก คิดเป็นประมาณร้อยละ 10 ของรายได้ครัวเรือน ส�ำหรับครอบครัวที่มีรายได้ครัวเรือนไม่ถึง 10,000 บาท และยังต้องเช่าหรือผ่อนช�ำระที่พักอาศัยนับว่าเป็นค่าใช้จ่ายท่ีค่อนข้างสูง และ ย่งิ หากจะมลี กู มากกวา่ 1 คนกจ็ ะยง่ิ เพมิ่ ภาระทางการเงนิ แก่พอ่ แม่ จนแทบจะเปน็ ไปไมไ่ ดเ้ ลย นอกจากน้ี ความพอเพียงของสถานรบั เล้ยี งเด็ก การกระจายตัวอยา่ งเหมาะสมให้สอดคล้องกบั วิถีชีวิตและการท�ำงานของพ่อแม่ รวมทั้งคุณภาพและมาตรฐานของสถานรับเลี้ยงเด็กก็ยังเป็น ส่ิงท่ีภาครัฐและนายจ้างต้องหาทางออกร่วมกัน เพ่ือสร้างคุณภาพชีวิตท่ีดีของครอบครัวของ พนักงาน ในแนวคดิ “วฏั จกั รชวี ติ ครอบครวั ” ของ Duvall สะทอ้ นลำ� ดบั ชวี ติ ของครอบครวั มนษุ ย์ ซึ่งคล้ายๆ กับสัตว์หลายชนิด ท่ีเมื่อพ่อแม่เลี้ยงดูลูกพ้นวัยรุ่นไปแล้วก็จะย้ายออกจากบ้านเพ่ือ ไปใช้ชีวิตลำ� พงั พึ่งพาตัวเอง และเตรียมสร้างครอบครวั ใหม่ (Leave the nest) เป็นข้นั ตอน การเขา้ สวู่ ยั ผใู้ หญ่ ซงึ่ ในวรรณกรรมระยะหลงั ของ Evelyn Duvall ทเ่ี ขยี นกบั Brent Hill (1985) ภูเบศร์ สมุทรจกั ร I ธีรนุช กอ้ นแกว้ I ริฎวัน อุเด็น 17 �����������6.indd 17 147//2560 BE 17:09

บอกดว้ ยซำ�้ วา่ เป็นชว่ งทลี่ กู มีอายุประมาณ 20 ปี สะท้อนชีวิตสงั คมอเมรกิ นั อย่างมากทลี่ ูกเร่ิม ออกจากบา้ นเมือ่ เรียนจบมธั ยมปลาย (High school) ไปใช้วัยผใู้ หญโ่ ดยล�ำพงั รับผดิ ชอบชวี ติ ตัวเอง หาเงินเอง ยืนด้วยล�ำแข้งของตนเอง ในขณะท่ีวัยมัธยมปลายในสังคมไทยยังดูเป็นเด็ก เกินกว่าที่จะใช้ชีวิตล�ำพังและรับผิดชอบตัวเอง ระบบการท�ำมาหากินที่พอจะเล้ียงชีพตัวเองได้ เริ่มต้ังแต่เรียนจบระดับอนุปริญญา แต่ส่วนใหญ่การหางานเริ่มอย่างเป็นเร่ืองเป็นราวเมื่อเรียน จบปริญญาตรี และอาจเป็นที่มาของค่านิยมของคนในสังคมไทยที่ต้องเรียนจบปริญญาตรีเป็น อยา่ งน้อย และกลายเป็นสงั คม “ปรญิ ญานิยม” ในทส่ี ุด อย่างไรก็ตาม แม้การประกอบอาชพี ของวยั ร่นุ ไทยจะเริ่มในชว่ งอายดุ ังกล่าว แต่กลับพบแนวโน้มที่ “เงนิ เดอื น” ในตอนเร่ิมท�ำงาน ไม่พอใช้ และต้องได้รับการสนับสนุนจากพ่อแม่อยู่ต่อไปอีกระยะหน่ึง (ภูเบศร์ สมุทรจักร และมนสกิ าร กาญจนะจติ รา, 2557) ซง่ึ สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ มาตรฐานการใชช้ วี ติ ทพี่ อ่ แมป่ จั จบุ นั ใหก้ บั ลกู สงู กวา่ ความเปน็ จรงิ ทลี่ กู จะสามารถหาได้ อยา่ งนอ้ ยในชว่ งระยะเรมิ่ ตน้ ในบางครอบครวั อาจตอ้ งดแู ลและสง่ เสยี ลกู จนถงึ ขน้ั เรยี นจบปรญิ ญาโท ท�ำใหเ้ กดิ “ความยดื เยอื้ ของการพงึ่ พงิ ” (Prolonged dependent period) และ “ความยดื เยอ้ื ของชว่ งวยั รนุ่ ” (Prolonged adolescence) ในความหมายท่ลี ูกโตเป็นวยั ผใู้ หญช่ า้ ลง พ่ึงพาตนเองได้ช้าลง และ “ไม่พ้นอกพอ่ แม่” สักที การศกึ ษาเพ่อื เตรยี มความพรอ้ มให้กบั ลกู ความยากลำ� บากทเ่ี กย่ี วกบั การมลี กู ของคนรนุ่ ใหม่ ไมไ่ ดอ้ ยเู่ พยี งแคก่ ารเตรยี มความพรอ้ ม สรา้ งฐานะกอ่ นการมลี กู เทา่ นนั้ แตล่ กู ทเ่ี กดิ มาดจู ะเปน็ ภาระความรบั ผดิ ชอบทต่ี อ้ งใชพ้ ลงั มหาศาล ทั้งก�ำลังกายและก�ำลังทรัพย์ในการอุ้มชูเลี้ยงดู ตั้งแต่การหาคนช่วยเลี้ยง ซ่ึงนับวันจะหาคนท่ี ไวว้ างใจไดม้ าชว่ ยเลย้ี งยากขน้ึ ราคาแพงขนึ้ เมอ่ื พน้ เวลาการลาคลอดแลว้ แมต่ อ้ งกลบั ไปทำ� งาน เพราะไม่ได้เป็นแม่เต็มเวลาอย่างแต่ก่อน ในครอบครัวท่ีไม่มีเงินมากอาจต้องส่งลูกไปให้ปู่ย่า ตายายหรือญาติเล้ียง ข้าวของเคร่ืองใช้เกี่ยวกับเด็กมีราคาแพงโดยเฉพาะท่ีเกี่ยวกับการศึกษา ที่กว่าจะเล้ียงลูกให้จบปริญญาตรี หรือมีการศึกษาเพ่ือเล้ียงดูตัวเองได้นับเป็นต้นทุนมหาศาล และเปน็ พนั ธกจิ ทผ่ี กู พนั พอ่ แม่ไปเกือบ 20 ปี และตน้ ทุนการศึกษาของลกู น้มี ีแต่แนวโน้มทจี่ ะ เพิ่มสงู ขนึ้ ในภาวะความเป็นเมืองขยายตัวกว้างขวางย่งิ ขน้ึ คนมรี ายไดเ้ พิม่ มากขึ้น ชนชั้นกลาง มจี ำ� นวนมากขน้ึ ทำ� ใหก้ ารแขง่ ขนั เพอ่ื เตรยี มลกู ใหม้ กี ารศกึ ษาและความสามารถพเิ ศษดา้ นอน่ื ๆ ยิ่งรุนแรงขึ้น การเรียนพิเศษเพื่อติดอาวุธทางปัญญาให้กับลูกเร่ิมต้ังแต่อนุบาลและเพ่ิมมากขึ้น 18 ความอยดู่ มี ีสุขของครอบครัวไทย 147//2560 BE 17:09 �����������6.indd 18

จนกระทั่งลูกเข้าเรยี นมหาวิทยาลยั พอ่ แมช่ ้นั กลางข้นึ ไปใช้เวลาตอนเยน็ หลังเลกิ งาน และเสาร์ อาทิตย์สาละวนกับการไปรับไปส่งและน่ังเฝ้าลูกเรียนพิเศษคอร์สต่างๆ ที่เพ่ิมมากข้ึนทุกวัน แต่ก่อนอาจมีเพียงการเรียนวิชาหลักๆ เช่น คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ แต่ปัจจุบันต้องเรียน ทงั้ สงั คม ภาษาไทย รวมทัง้ วชิ าเฉพาะสำ� หรบั สาขาตา่ งๆ ในการส�ำรวจของส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) (2559) รายงานวา่ รอ้ ยละ 60 ของนกั เรยี นมธั ยมปลายเรยี นพเิ ศษ เพราะตอ้ งการเทคนคิ ในการทำ� ข้อสอบและเรียนท่ีโรงเรียนไม่เข้าใจ หรือบางวิชาที่โรงเรียนไม่สอน มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยคนละ 19,748 บาทตอ่ เทอม ผปู้ กครองทม่ี ฐี านะยากจนร้อยละ 52 ต้องกยู้ มื เงินเพือ่ ใหล้ ูกได้เรยี นต่อ และสงิ่ ทนี่ า่ ตกใจยง่ิ กวา่ คอื การทค่ี า่ ใชจ้ า่ ยตอ่ เดอื นของกลมุ่ นกั เรยี นทมี่ ฐี านะยากจนกบั นกั เรยี น ท่ีมีฐานะดี แตกต่างกันถึง 5 เท่า สะท้อนให้เห็นว่า การศึกษาของไทยตกอยู่ในระบบทุนนิยม อยา่ งสมบรู ณแ์ บบ ซงึ่ ทส่ี ดุ แลว้ จะน�ำไปสคู่ วามเหลอื่ มลำ้� ทลี่ กุ ลามจนเปน็ รอยรา้ วทชี่ ดั เจนมากขนึ้ ระหวา่ งชนชนั้ ในระยะยาว และไมร่ วู้ า่ จะถงึ วนั แตกรา้ วเมอื่ ใด มหาวทิ ยาลยั และคณะทเี่ ขา้ ไดย้ าก ซ่ึงเป็นใบเบิกทางสู่อาชีพที่จะย่ิงสร้างรายได้และโอกาสในอนาคตได้มาก อยู่ในมือของคนที่มี ฐานะดเี ปน็ สว่ นใหญ่ เพราะมกี ำ� ลงั ทจ่ี ะทมุ่ ทนุ ปน้ั ลกู ดว้ ยหลกั สตู รพเิ ศษทง้ั หลาย พอ่ แมช่ น้ั กลาง ยคุ ปจั จุบนั ไม่มที างเลือกอนื่ มากนักนอกจาก “ทุ่มสดุ ตวั ” และเลิกรอการปฏริ ูปการศึกษาท่ไี มร่ ู้ วา่ จะมาถงึ เมอ่ื ไหร่ ผปู้ กครองและนกั เรยี นเชอื่ มน่ั ในความรจู้ ากสำ� นกั ตวิ (Tutor) มากกวา่ ความรู้ ที่ได้จากโรงเรียน จนเร่ิมไม่แน่ใจว่าความหมายของโรงเรียนที่มีต่อสังคมคืออะไร หรือโรงเรียน เปน็ เพยี งยห่ี อ้ ทแ่ี บง่ ชนชนั้ ของนกั เรยี นและผปู้ กครอง แตท่ ส่ี ดุ แลว้ นกั เรยี นไมว่ า่ จากโรงเรยี นไหน กไ็ ปรวมกนั อยทู่ ส่ี ำ� นกั ตวิ ความฝนั ลกึ ๆ ของพอ่ แมท่ มี่ ตี อ่ การศกึ ษาของลกู ในยคุ นอี้ าจขอแคเ่ พยี ง ความเท่าเทียมของโอกาสทางการศึกษาเท่านนั้ นอกจากนี้ พ่อแม่ยุคปัจจุบันยังเข้าไปมีส่วนร่วมในการศึกษาของลูก (Parental involvement in child’s education) มากกวา่ ยุคกอ่ นอย่างเห็นไดช้ ดั สมาคมผปู้ กครองแบบ สมัยก่อน กลายเป็นกลไกที่ผิวเผินในการเข้าไปติดตามการด�ำเนินงานของโรงเรียนของลูก เม่ือ เทียบกับไลน์กลุ่มผู้ปกครองท่ีมีครูประจ�ำช้ันของลูกอยู่ในกลุ่ม เพื่อคอยติดตามการเคลื่อนไหว ของลูกๆ การสนับสนนุ กจิ กรรมตา่ งๆ ของห้องเรยี น และการร้องเรยี นสารพดั เรอ่ื ง ต้ังแตท่ ีน่ งั่ ของลกู เมอ่ื ขนึ้ เทอมใหมไ่ ปจนถงึ ผลการเรยี น นอกจากนค้ี า่ ใชจ้ า่ ยสำ� หรบั เดก็ ในยคุ แบรนดเ์ นมท่ี เรียนพิเศษ และใช้ชีวิตตั้งแต่เช้ายันเย็นในห้างสรรพสินค้า ซ่ึงขยายสาขาออกจากกรุงเทพฯ ชนั้ ในไปสชู่ านกรงุ ปรมิ ณฑล และขณะนไ้ี ปถงึ หวั เมอื งใหญแ่ ละหวั เมอื งรอง เปน็ สว่ นหนงึ่ ทที่ ำ� ให้ การมลี กู และการเลย้ี งลกู สรา้ งภาระคา่ ใชจ้ า่ ยอนั หนกั หนว่ งและซบั ซอ้ นกวา่ ในสมยั กอ่ นอยา่ งมาก �����������6.indd 19 ภูเบศร์ สมทุ รจักร I ธรี นชุ ก้อนแก้ว I ริฎวัน อุเด็น 19 147//2560 BE 17:09

สมดุลของการท�ำงานและการใชช้ วี ติ (Work-life balance) พ้ืนทท่ี ับซ้อนระหวา่ งออฟฟิศกบั บา้ น ในสมัยสังคมเกษตรกรรม บ้าน ชีวิตครอบครัว และการท�ำมาหากิน เป็นส่ิงที่แยกกัน ไม่ออก ไม่ว่าจะในมิติของเวลาหรือสถานที่ สมาชิกหนุ่มสาวในบ้านเป็นแรงงาน คนแก่ท�ำงาน เลก็ ๆ นอ้ ยๆ ตามกำ� ลงั ทเ่ี หลอื จากการทำ� งานมาตลอดชวี ติ สามจี ดั การเรอื กสวนไรน่ าและผลผลติ ทไี่ ด้ ซอื้ ขายแลกเปลยี่ นกนั เพอื่ ใหไ้ ดส้ ง่ิ จำ� เปน็ ครบถว้ นตามความตอ้ งการในชวี ติ ประจำ� วนั ภรรยา ดูแลความเรียบร้อยของบ้าน การดูแลลูกๆ เป็นเรื่องท่ีต่างต้องช่วยกัน แต่อาจหนักไปทางเป็น ความรบั ผดิ ชอบของภรรยา โดยเฉพาะในชว่ งทลี่ กู ยงั เลก็ พอเดก็ โตขน้ึ พอทจี่ ะทำ� งานได้ ลกู ชาย ตามพอ่ ไปทำ� งานในเรอื กสวนไรน่ า ซง่ึ ไมไ่ กลจากบา้ นหรอื อาจอยใู่ นบรเิ วณบา้ น ลกู สาวชว่ ยงาน แม่ในบ้าน การท�ำงานและชีวิตส่วนตัวเป็นส่ิงท่ีแยกกันไม่ออก เป็นชีวิตประจ�ำวันท่ีเป็นเรื่อง เดยี วกนั ไมม่ เี สน้ กน้ั ระหวา่ งทท่ี ำ� งานกบั ทบ่ี า้ น ไมม่ เี วลาแยกระหวา่ งเวลาทำ� งานกบั เวลาครอบครวั ชวี ติ ไม่ตอ้ งแสวงหาจดุ สมดลุ ระหว่างเวลาสำ� หรับครอบครัวและเวลาส�ำหรบั การท�ำงาน จนกระทั่งสังคมวิวัฒน์เข้าสู่ยุคอุตสาหกรรมตามโลกตะวันตกโดยมีนวัตกรรมการผลิต มากมาย การเกิดข้ึนของโรงงานผลิต ซึ่งลงทุนโดยนายทุน และต้องการแรงงานมาเป็นก�ำลัง ในการผลติ ทง้ั สนิ คา้ และบรกิ าร การเปลย่ี นสถานะของชาวบา้ นจากแตเ่ ดมิ เปน็ เจา้ ของทรพั ยากร การผลติ มาเปน็ คนขายแรงงาน การออกจากบา้ นตอนเชา้ มารวมกนั ทโี่ รงงาน หรอื สถานทท่ี ำ� งาน แลว้ กลบั บา้ นในตอนเยน็ กลายเปน็ วถิ ชี วี ติ ของสงั คมอตุ สาหกรรม ซงึ่ แตกตา่ งจากวถิ ชี วี ติ ในสงั คม เกษตรกรรมแบบดงั้ เดมิ ทตี่ ง้ั และเวลาสำ� หรบั การทำ� งานแบง่ แยกกนั เดด็ ขาดจากบา้ น พรอ้ มกบั การแบง่ หนา้ ที่ (Division of labor) ระหวา่ งสามแี ละภรรยาทช่ี ดั เจนย่ิงข้ึน โดยสามอี อกไปเปน็ แรงงานเพื่อเป็นรายได้ (Paid work) นอกบ้าน ส่วนภรรยาในสังคมอุตสาหกรรมยุคแรกยังมี หน้าที่ท�ำงานบ้านแบบไม่มีรายได้ (Unpaid domestic labor) ดูแลความเรียบร้อยของบ้าน ดูแลเด็กๆ และคนแก่ การแบง่ งานกนั ระหวา่ งสาม–ี ภรรยาในครอบครวั ของสงั คมอตุ สาหกรรม ยคุ แรกดจู ะลงตวั และสมดลุ เป็นอยา่ งดี จนกระทัง่ เรมิ่ มกี ารเรียกร้องเกยี่ วกับความสมดลุ ระหวา่ งการท�ำงานและ ชวี ิตครอบครวั ทีเ่ ป็นระบบและเป็นรปู ธรรมมากขึ้น เรม่ิ จากการเรียกรอ้ งใหม้ ีวันหยุดสุดสัปดาห์ (Weekend) เป็นคร้ังแรกใน ค.ศ. 1908 ท่ีโรงงานทอฝ้ายแห่งหนึ่งในมลรัฐ New England โดยประกาศให้คนงานทำ� งาน 40 ชัว่ โมงตอ่ สปั ดาห์ และหยุดทำ� งาน 2 วันตอ่ สัปดาห์ สังคมอุตสาหกรรมได้ด�ำเนินต่อมาจนถึงปัจจุบัน พร้อมกับการดึงเอาภรรยาท่ีเคย รับผิดชอบดูแลงานบ้าน และการเล้ียงดูเด็กและคนแก่ให้ออกมาท�ำงานนอกบ้านมากขึ้น ไม่ว่า 20 ความอยดู่ มี สี ขุ ของครอบครวั ไทย �����������6.indd 20 147//2560 BE 17:09

จะด้วยการที่สังคมมีความบีบค้ันทางเศรษฐกิจมากขึ้น จนท�ำให้ภรรยาต้องออกมาช่วยสามี ทำ� มาหาเลย้ี งชพี นอกบา้ น หรอื ดว้ ยเพราะผหู้ ญงิ เรมิ่ มกี ารศกึ ษาและมวี ชิ าชพี มากขนึ้ ปรารถนา การยอมรับและศักดิ์ศรีที่ดีข้ึนในสังคม หรือด้วยเหตุผลท้ังสองอย่าง การเรียกร้องเก่ียวกับ ความสมดุลของการท�ำงานและชีวิตส่วนตัวในสังคมตะวันตกเร่ิมข้ึนใน ค.ศ.1926 เม่ือบริษัท รถยนต์ฟอร์ด (Ford) ประกาศให้มีการหยุดท�ำงานในวันเสาร์และอาทิตย์ จากแรงกดดันของ สหภาพแรงงาน หลังจากนั้นกระแสการเรียกร้องเกี่ยวกับความสมดุลของการท�ำงานและชีวิต สว่ นตวั จงึ เรมิ่ ขยายตวั มากขน้ึ ในชว่ งทศวรรษที่ 1970 โดยมเี หตผุ ลเกย่ี วกบั การไมม่ เี วลาดแู ลลกู เป็นหลัก (Harrington, 2007) ท�ำให้ค�ำว่า “Work-Life Balance” เร่ิมมีการพูดถึงกัน อย่างจริงจงั ในสังคมตะวนั ตก นบั แตน่ น้ั เป็นตน้ มา แม้เวลาการท�ำงานอย่างเป็นทางการในปัจจุบันจะไม่เปล่ียนแปลงไปมากนักจากในอดีต คือเฉล่ียประมาณ 40 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ หรือวันละ 8 ช่ัวโมง แต่สภาพการเปลี่ยนแปลงของ เศรษฐกิจและสังคมท�ำให้จริงๆ แล้ว เวลาท่ีคนออกไปท�ำงานนอกบ้านใช้เวลามากกว่าน้ันมาก การท่ีคนท�ำงานต้องมารวมกนั ในที่ใดท่ีหนึ่งเพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการท�ำงาน และการบรหิ าร จดั การ ทำ� ใหท้ ที่ ำ� งานหา่ งไกลจากบา้ นและตอ้ งใชเ้ วลาในการเดนิ ทาง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในการ จัดการเขตเมือง (Urban management) ที่มกี ารแยกกนั ระหวา่ งเขตทอี่ ยอู่ าศัย (Residential area) และเขตอุตสาหกรรม (Industrial area) รวมทั้งเขตธุรกิจ (Business district) และ ในสภาวะทมี่ แี นวโนม้ ของ “นคราภวิ ตั น”์ หรอื การขยายตวั ของความเปน็ เมอื ง (Urbanization) ท�ำให้หลายพ้ืนที่ท่ีเคยเป็นเขตชนบทกลายเป็นพื้นท่ี “กึ่งเมืองก่ึงชนบท” เกิดปัญหาจราจร ติดตามมา การเดินทางจากบ้านไปท่ีท�ำงานใช้เวลานานขึ้น แม้ระยะทางและจ�ำนวนช่ัวโมง ในการทำ� งานจะไมเ่ ปลย่ี นแปลง รวมทงั้ การทตี่ อ้ งไปทำ� งานในตา่ งจงั หวดั หรอื ตา่ งประเทศไกลๆ การทำ� งานล่วงเวลา หรือการมาทำ� งานในวนั หยดุ เนอื่ งจากการขยายตัวของธุรกิจหรือภาระงาน ทม่ี ากขน้ึ หรอื ทำ� ดว้ ยความจำ� เปน็ เนอ่ื งจากเปน็ ความรบั ผดิ ชอบ ชดเชยดว้ ยการไดร้ บั คา่ ตอบแทน ในอัตราพิเศษท่ีเย้ายวนใจ ในสมัยก่อน การท่ีทั้งสามีและภรรยาออกไปท�ำงานนอกบ้านยังพอท่ีจะแก้ปัญหาการ จัดการภาระภายในครวั เรอื นได้ ด้วยการมี “สาวใช”้ ท่ีคร้งั หน่ึงเคยเป็นคนชนบทในตา่ งจังหวัด ทหี่ วงั จะยา้ ยถนิ่ เขา้ มาทำ� งานในเมอื งอนั เปน็ กา้ วสำ� คญั ในการพฒั นาฐานะของตนเอง ชนบทไทย จึงเปน็ แหลง่ ส่งออกสาวใช้ พเ่ี ลยี้ ง (คนชว่ ยเล้ียงลกู ) และแรงงานต่างๆ เข้ามาในตัวเมือง และ ในกรุงเทพฯ จนกระทั่งสาวใช้และแรงงานจากชนบทในยุคแรกเปล่ียนสถานะเป็นชนชั้นกลาง ในเมือง เนอื่ งจากมฐี านะทด่ี ีขน้ึ ในยุคถัดมา มาตรฐานการด�ำเนินชวี ิตทส่ี ูงขึ้นทำ� ให้คา่ ตอบแทน ที่สาวใช้ต้องการสูงขึ้นไปถึงระดับท่ีไม่สามารถจ้างสาวใช้ และแรงงานที่เป็นคนไทยได้ จึงต้อง หันไปจ้างชาวเขา หรือคนตา่ งดา้ วจากประเทศเพ่อื นบา้ น ไม่วา่ จะเป็นลาว พมา่ หรอื เขมรแทน ภูเบศร์ สมุทรจักร I ธีรนุช กอ้ นแกว้ I ริฎวนั อเุ ดน็ 21 �����������6.indd 21 147//2560 BE 17:09

ซง่ึ เร่ิมหายาก และต้องจ่ายคา่ จา้ งแพงขนึ้ ทุกวันตามพัฒนาการทางเศรษฐกจิ สาม–ี ภรรยาไทย มกี ารปรับตวั อีกคร้งั ตั้งแตช่ ว่ งปลายศตวรรษที่ 20 โดยพึง่ พาแรงงานจากนอกครอบครวั นอ้ ยลง เนอื่ งจากทง้ั หายาก ไวใ้ จไดย้ าก และมรี าคาแพง ทพ่ี กั อาศยั เรมิ่ ตอ้ งมขี นาดเลก็ ลง เพอื่ ใหเ้ หมาะ กับจ�ำนวนสมาชิกในครอบครัว และสะดวกต่อการดูแลความสะอาดและความเรียบร้อย ดว้ ยตวั เอง ทำ� ใหอ้ าชพี แมบ่ า้ นหรอื สาวใชเ้ รม่ิ เลอื นลางไปจากสงั คมไทย คงเหลอื แตใ่ นครอบครวั ทม่ี รี ายได้สงู เหมือนในสงั คมประเทศพฒั นาแล้วทว่ั ไป อย่างไรก็ตาม เมอ่ื สาม-ี ภรรยามีลูกโดย เฉพาะช่วงหลังหมดเวลาการลาคลอด (Maternity leave) ไปจนถึงวัยเข้าโรงเรียน (3 ขวบ) การดแู ลลกู มคี วามยากลำ� บากยง่ิ ขน้ึ และจะตอ้ งหาคนชว่ ยเลย้ี งเพอื่ ใหพ้ อ่ และแมส่ ามารถ กลับไปท�ำงานได้ ซึง่ ราคาของคนชว่ ยเลยี้ งลูกที่ไวใ้ จไดม้ รี าคาค่อนข้างสูงในปจั จบุ นั ในปัจจุบัน เริ่มมีสัญญาณเบาๆ ของกระแสการกลับมาของแม่เต็มเวลา ซ่ึงแม้จะยังมี ไมม่ ากแตเ่ รมิ่ เหน็ อยบู่ า้ ง ทงั้ สามแี ละภรรยาเรม่ิ เหน็ ความไมค่ มุ้ คา่ กบั การจา่ ยเงนิ จา้ งคนชว่ ยเลยี้ ง และคา่ เทอมของสถานรบั เลย้ี งเดก็ และอยากใหภ้ รรยากลบั มาเปน็ “แมศ่ รเี รอื น” เพอื่ ดแู ลบา้ น และดูแลลูกเหมือนในยุคก่อน ช่วงเวลาท่ีท�ำให้สามีและภรรยาฉุกคิดและตัดสินใจมักเป็นช่วงท่ี การลาคลอดใกลห้ มดลง และภรรยาตดั สนิ ใจทจี่ ะไมก่ ลบั ไปทำ� งาน โดยอาจขอรบั งานมาทำ� ทบี่ า้ น ยื่นข้อเสนอที่จะมีเวลาการท�ำงานที่ยืดหยุ่นได้มากขึ้น แลกกับการขอรับค่าตอบแทนที่น้อยลง หรืออาจเบนเข็มมาเร่ิมอาชีพอิสระ (Freelance) เพื่อตนเองจะได้อยู่ดูแลลูกและดูแลบ้าน ซง่ึ แมจ้ ะไดร้ บั คา่ ตอบแทนนอ้ ยลง แตส่ ขุ ใจและอนุ่ ใจมากกวา่ โดยมเี งอ่ื นไขทส่ี �ำคญั คอื สามตี อ้ ง มีความม่ันคงในอาชีพ การเงิน และรายไดใ้ นระดบั หนง่ึ เปน็ ครอบครัวแบบ มีรายได้ประจ�ำและ มน่ั คงคนหนง่ึ ส่วนอีกคนหนง่ึ มเี วลาและรายไดย้ ดื หย่นุ (One-Fixed One-Flexible) การขยายตวั ของคนชน้ั กลาง นคราภิวัตน์ กับความสับสนของครอบครัวคนชนั้ กลาง ความแตกต่างระหว่าง “ชนชั้น” ปรากฏในวาทกรรมทางการเมืองตลอดเวลาใน ประวัติศาสตร์ และอาจเป็นความหลากหลายทางประชากรท่ีเก่าแก่ท่ีสุด เพราะแม้ในกลุ่ม สง่ิ มชี วี ติ ดงั้ เดมิ กอ่ นจะพฒั นามาเปน็ มนษุ ยก์ ป็ รากฏวา่ มี Alpha male ซง่ึ แสดงตวั เปน็ หวั หนา้ ฝงู มีสิทธ์ิบังคับบัญชาสมาชิกอ่ืนๆ ที่ไม่ได้มีฐานันดรดังกล่าว รอยร้าวและความแตกแยกระหว่าง ชนชนั้ นำ� มาซงึ่ การเปลยี่ นแปลงทางการเมอื งเสมอมา ไมว่ า่ จะเปน็ การปฏวิ ตั ฝิ รง่ั เศสในศตวรรษ ท่ี 18 การลม่ สลายของราชวงศช์ งิ และการสถาปนาอ�ำนาจของพรรคคอมมวิ นสิ ตจ์ นี ในศตวรรษ ท่ี 20 การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ในประเทศไทย มาจนถงึ เหตกุ ารณพ์ ฤษภาทมฬิ 22 ความอยดู่ มี สี ุขของครอบครวั ไทย �����������6.indd 22 147//2560 BE 17:09

พ.ศ. 2535 ทีช่ นช้ันกลางโดยเฉพาะในกรุงเทพฯ รวมตัวกันเปน็ “ม็อบมอื ถอื ” ขัดขนื ต่อรฐั บาล ทหาร และจวบกระทั่งวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–พ.ศ. 2557 ที่มีการใช้ค�ำว่า ไพร่ อำ� มาตย์ และรากหญา้ ใน “มอ็ บนกหวดี ” ซงึ่ คำ� เหลา่ นลี้ ว้ นเปน็ เสยี งสะทอ้ นออกมาจาก รอยรา้ วระหวา่ งชนชน้ั ในสังคมทั้งส้นิ ชนชน้ั กลางในอดีตมกั หมายถงึ กลุ่มคนท่ีอยู่ตรงกลางระหว่างชนช้ันปกครอง (Nobility) และชนชาวบ้านสามัญ (Peasantry) ในขณะท่ีอ�ำนาจของชนช้ันปกครองอยู่ทท่ี รพั ยส์ ินเงินทอง และสทิ ธ์ขิ าดการมอบอำ� นาจสัมปทาน อำ� นาจของชนชาวบา้ นอยทู่ ีจ่ ำ� นวนแรงงาน และผลผลติ ส่วนอ�ำนาจของชนช้ันกลางอยู่ที่การเป็นตัวกลางระหว่างชนช้ันปกครอง และชาวบ้านสามัญ รวมทั้งการมีเงินทุน และความรู้ในเชิงวิชาชีพสาขาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการค้าขาย การธนาคาร การแพทย์ หรอื วศิ วกรรม เรยี กวา่ เปน็ ชนชน้ั กระฎมุ พี (Bourgeoise) (ฉตั รทพิ ย์ นาถสภุ า, 2557) สรา้ งประโยชน์จากแรงงานและผลผลติ ของชาวบา้ นสามัญ รวมทง้ั สัมปทานจากชนชน้ั ปกครอง ซง่ึ มกั เปน็ อำ� นาจจากการเปน็ ตวั กลาง (Intermediary) ทท่ี ำ� ใหต้ ลาดหรอื การแลกเปลยี่ นเกดิ ขน้ึ ชนชั้นกลางอาจเกิดจากการเลื่อนลงของชนชั้นปกครองท่ีไม่สามารถเล่ือนช้ันสูงต่อไปได้ หรือ อาจเกิดจากการเล่ือนข้ึนของชาวบ้านสามัญท่ีสามารถเลื่อนช้ันข้ึนไป ไม่ว่าจะด้วยการศึกษา ความรู้ความสามารถ หน้าท่กี ารงาน หรอื การสมรส ปจั จบุ นั ยงั ไมม่ กี ารใหค้ ำ� นยิ ามอนั เปน็ ทส่ี นิ้ สดุ ของ “ชนชนั้ กลาง” แมแ้ ตใ่ นองคก์ รระหวา่ ง ประเทศท่ีวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างธนาคารโลก (World Bank) หรือองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Cooperation and Development: OECD) ต่างต้องใช้นิยามร่วมจากหลายส�ำนัก บ้างก็ใช้ ค่าใช้จ่ายต่อหวั ต่อวนั (Daily per capita expenditure) 6–10 เหรยี ญสหรฐั (Banerjee & Duflo, 2008) บ้างก็ใช้ 10–100 เหรียญสหรัฐต่อวัน (Kharas, 2010) และยังมีที่พิจารณา ร่วมกันระหว่างรายได้และค่าใช้จ่าย โดยให้เป็นผู้ท่ีมีรายได้ต�่ำกว่า 90 เปอร์เซนไทล์และมี การใชจ้ า่ ยไม่นอ้ ยกวา่ 10 เหรียญสหรัฐต่อวัน กวา่ ครง่ึ ศตวรรษของพฒั นาการทางเศรษฐกจิ และสงั คมไทย นบั ตงั้ แตแ่ ผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมฉบบั แรกใน พ.ศ. 2504 ประเทศไทยประสบความสำ� เร็จในการยกระดบั ความเปน็ อยู่ ของประชาชน และกา้ วเขา้ สกู่ ารเปน็ ประเทศรายไดป้ านกลางระดบั สงู (Upper-middle income country) ซงึ่ เปน็ กล่มุ ประเทศทมี่ รี ะดับรายได้ตอ่ หวั ต่อปีระหวา่ ง 3,976–12,275 เหรียญสหรัฐ ต้ังแต่ พ.ศ. 2554 ด้วยระดับรายได้ต่อหัว ต่อปี 4,210 เหรียญสหรัฐ ระดับความยากจนใน ประเทศไทยลดลงอย่างรวดเรว็ จากรอ้ ยละ 67 ใน พ.ศ. 2522 เหลือรอ้ ยละ 11 ใน พ.ศ. 2557 ประชากรไทยที่มีรายได้ต�่ำกว่าเส้นความยากจน (Poverty line) มีร้อยละ 8.1 ตัวช้ีวัดต่างๆ เกยี่ วกบั การพฒั นาประเทศดขี นึ้ อยา่ งมาก ไมว่ า่ จะเปน็ อตั ราตายทารก อายคุ าดเฉลย่ี เมอื่ แรกเกดิ ภูเบศร์ สมุทรจักร I ธรี นุช กอ้ นแก้ว I รฎิ วนั อุเดน็ 23 �����������6.indd 23 147//2560 BE 17:09

อตั ราการเขา้ ถงึ การศกึ ษาของประชาชน แมห้ ลายฝา่ ยจะแสดงความกงั วลทปี่ ระเทศไทยอาจจะ ตดิ กบั ดกั รายไดป้ านกลาง (Middle income trap) เพราะไมส่ ามารถเปลย่ี นแนวทางการพฒั นา ประเทศให้ก้าวกระโดดออกจากกับดักท่ีจองจ�ำให้ประเทศไทยละล่�ำละลักอยู่ในฐานะ “จะรวย ก็ไม่รวย จะจนก็ไม่จน” แต่ก็นับว่าเป็นหลักบอกระยะทางท่ีส�ำคัญในประวัติศาสตร์การพัฒนา ประเทศ การเติบโตของชนชั้นกลางไทยเกิดข้ึนไปพร้อมกับนคราภิวัตน์ (Urbanization) และ ความเป็นสมยั ใหม่ (Modernization) ปจั จบุ ันประชากรประมาณครง่ึ หน่งึ อาศัยอย่ใู นเขตเมอื ง เปน็ ผลมาจากทง้ั การยา้ ยถนิ่ ของคนชนบทเขา้ มาสตู่ วั เมอื งเพอ่ื แสวงหาความกา้ วหนา้ โดยเฉพาะ การเขา้ มาตามหาความ “ศวิ ไิ ลซ”์ ในกรงุ เทพฯ ซง่ึ เปน็ เมอื งหลวง และศนู ยก์ ลางของความเจรญิ ทั้งมวล จนท�ำให้ใน พ.ศ. 2524 กรุงเทพฯ มีประชากรมากกว่านครราชสีมา ซ่ึงเป็นหัวเมือง ท่ีใหญ่ท่ีสุดรองจากกรุงเทพฯ กว่า 50 เท่าตัว (UNFPA, 2011) และใน พ.ศ. 2543 พบว่า กวา่ คร่งึ หนึง่ ของประชากรเขตเมืองเป็นผู้ท่ีอาศัยอยู่ในกรงุ เทพฯ ซง่ึ เป็นผผู้ ลิตรอ้ ยละ 35 ของ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศ (GDP) ทงั้ ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 3 และ 4 พยายามกระจายการพฒั นาออกไปสหู่ วั เมืองเพอื่ ไม่ใหค้ วามเจริญกระจกุ ตัวอยู่ แตใ่ นกรงุ เทพฯ ดว้ ยกลไกการสนบั สนนุ อุตสาหกรรมในภูมภิ าคต่างๆ ดงั นนั้ การขยายเมอื งใน ประเทศไทยเกดิ ขน้ึ จากทงั้ การยา้ ยถนิ่ ของคนชนบทเขา้ สเู่ ขตเมอื ง ไมว่ า่ จะเขา้ มาอยใู่ นกรงุ เทพฯ ปรมิ ณฑล หรอื เมอื งใหญๆ่ ในตา่ งจงั หวดั รวมถงึ ตวั เมอื ง หรอื ปรมิ ณฑลในเขตอำ� เภอตา่ งๆ และ การขยายตัวของเขตเมืองไปพร้อมๆ กัน อันเน่ืองมาจากการขยายตัวทางอุตสาหกรรมและ เศรษฐกิจ เขตตัวเมืองของประเทศไทยขยายตัวจากพน้ื ท่ี 2,400 ตารางกิโลเมตรใน พ.ศ. 2543 เปน็ 2,700 ตารางกโิ ลเมตรใน พ.ศ. 2553 เฉพาะกรงุ เทพฯ มพี น้ื ทกี่ วา้ งกวา่ 2,100 ตารางกโิ ลเมตร ความหนาแน่นของประชากรเขตเมืองเพ่ิมจาก 4,000 คนต่อตารางกิโลเมตร เป็น 4,300 คน ต่อตารางกิโลเมตรในช่วงระยะเวลาเดียวกัน หัวเมอื งทมี่ ีความหนาแนน่ ของประชากรมากทีส่ ุด คือหาดใหญ่ และรองลงมาคือเชียงใหม่ (World Bank, 2015) นอกจากน้ียังพบว่า แนวโน้ม การย้ายถ่ินระหว่างภูมิภาคมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 47 ใน พ.ศ. 2550 เป็นร้อยละ 54 ใน พ.ศ. 2552 และหลังจากน้ัน พบว่าการย้ายถ่ินระหว่างภูมิภาคมีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย ส�ำหรับการย้ายถิ่นระหว่างจังหวัดเพิ่มมากขึ้นจากร้อยละ 18 ใน พ.ศ. 2550 เป็นร้อยละ 21 ใน พ.ศ. 2556 ซงึ่ เปน็ ผลสบื เนอื่ งจากแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตทิ ต่ี อ้ งการกระจาย ความเจริญไปสู่ทกุ พ้นื ท่ีในประเทศไทย (ส�ำนักงานสถติ ิแห่งชาติ, 2557) การขยายตวั ของชนชน้ั กลาง และความเปน็ เมอื งในสงั คมไทยมนี ยั ยะตอ่ การเปลย่ี นแปลง ของครอบครวั ในหลายมติ ิ ในประการแรกนน้ั การยา้ ยถน่ิ ฐานจากชนบทสตู่ วั เมอื งไมว่ า่ จดุ หมาย ปลายทางจะอยทู่ กี่ รงุ เทพฯ หรอื หวั เมอื งในจงั หวดั ตา่ งๆ เพอื่ ความกา้ วหนา้ ทางการศกึ ษา อาชพี 24 ความอยู่ดมี สี ุขของครอบครวั ไทย �����������6.indd 24 147//2560 BE 17:09

และรายได้ท่ีดีขึ้น ท�ำให้ครอบครัวขยายแบบดั้งเดิมที่เคยอยู่ร่วมกับญาติพี่น้องบริเวณบ้านใกล้ เรือนเคียงในชนบทกลายเป็นครอบครัวเดี่ยว หรือแม้แต่ครอบครัวเลี้ยงเด่ียว และครอบครัว คนเดียวในตัวเมืองท่ีต่างคนต่างอยู่ การช่วยเหลือเก้ือกูลกันระหว่างสมาชิกในครอบครัวท�ำได้ ยากขึ้น แม้ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบันและการคมนาคมขนส่งที่สะดวก สบายขนึ้ ไม่ว่าจะเป็นรถไฟ รถประจ�ำทาง หรอื เครือ่ งบนิ โดยสารต้นทนุ ต่ำ� (Low cost airline) จะบรรเทาความห่างเหินท่ีเกิดจากระยะทาง แต่ก็ยังไม่อาจชดเชยการอยู่รวมกันของสมาชิก ในครอบครัวได้อย่างสมบูรณ์ ครอบครัวไทยในศตวรรษที่ 21 พลัดพรากจากกันมากข้ึน คนในครอบครัวไทย “ใช้ชีวิตเพ่ือคิดถึงกัน” มากข้ึน จากการย้ายถิ่นไม่ว่าจะข้ามจังหวัด หรอื ขา้ มภมู ภิ าค ชาวชนบทผพู้ ลดั ถนิ่ ทเี่ ขา้ มาในเมอื ง และพอ่ แมพ่ น่ี อ้ งในตา่ งจงั หวดั ตา่ งรอคอย วันหยุดเทศกาล เพื่อครอบครัวจะได้พร้อมหน้ากันในช่วงระยะเวลาสั้นๆ และชาวกรุงเทพฯ กไ็ ดเ้ หน็ อยา่ งชดั เจนวา่ จำ� นวนเพอื่ นบา้ นทมี่ าจากตา่ งจงั หวดั มมี ากเพยี งใด จากความจอแจและ ความพลุกพล่านทพ่ี ลันหายไปจากท้องถนนในช่วงระหว่างวันหยดุ ของทุกเทศกาล ในอีกประการหนึ่ง การขยายตวั ของคนช้นั กลางยงั หมายถึง การท่รี ะดับรายได้เฉลย่ี ของ คนไทยเพมิ่ สงู ขนึ้ มกี ารศกึ ษาและความรมู้ ากขนึ้ มาตรฐานความเปน็ อยดู่ ขี นึ้ ซง่ึ เกย่ี วขอ้ งโดยตรง กับการเลือกสรรสินค้าและความเป็นอยู่ท่ีละเมียดละไมมากขึ้น อันเป็นความปกติของ การยกระดับฐานะ นวัตกรรมของสินค้า และบริการที่เกิดจากการวิจัยและพัฒนา (Research and development) ของบริษทั ต่างๆ สร้างความทันสมยั ในการดำ� รงชีวิตและเปลี่ยนแปลงวิถี การด�ำเนินชวี ิตคนไทยอย่างผดิ หผู ดิ ตาในระยะเวลากวา่ ครึ่งศตวรรษท่ผี ่านมา การเปล่ยี นแปลง ในอุตสาหกรรมการค้าปลีกในประเทศไทยเป็นจุดรวมของการเปล่ียนแปลงท่ีสังเกตได้ง่ายท่ีสุด จุดหนึ่ง เน่ืองจากการค้าปลีกสัมผัสกับชีวิตการใช้จ่ายของคนโดยตรง การเปล่ียนวิถีชีวิตจาก การซ้ือสินค้าในตลาดสดมาเพื่อประกอบอาหารแบบมื้อต่อม้ือ หรือวันต่อวัน กลายเป็นการซ้ือ สนิ คา้ รายสปั ดาห์ หรอื รายเดอื นจากซปุ เปอรม์ ารเ์ กต็ ทอี่ ยใู่ นรา้ นคา้ ไฮเปอรม์ ารท์ มากขน้ึ เนอ่ื งจาก การมีตู้เย็นที่สามารถเก็บถนอมอาหารสดได้ การประกอบอาหารในบ้านลดน้อยลง เน่ืองจาก มจี ำ� นวนสมาชกิ ในบา้ นไมม่ ากเหมอื นครอบครวั ขยายสมยั กอ่ น และอาจถงึ ขน้ั ไมป่ ระกอบอาหารเลย ครวั มขี นาดเลก็ ลงและอปุ กรณใ์ นครวั มนี อ้ ยชนิ้ เพยี งแคม่ ตี เู้ ยน็ และเตาไมโครเวฟกเ็ พยี งพอแลว้ ในการประกอบอาหารง่ายๆ ส�ำหรับคนไม่กี่คน ท่ีอาจมีเวลากินข้าวพร้อมหน้าพร้อมตากัน ไม่บ่อยครั้งนัก เวลาและกิจกรรมในบ้านและรวมท้ังกิจกรรมที่อื่นๆ ถูกดึงไปรวมกันท่ี หา้ งสรรพสนิ คา้ ซง่ึ ปจั จบุ นั ไมเ่ ปน็ แตเ่ พยี งแหลง่ รวม “สรรพ-สนิ คา้ ” แตย่ งั รวมถงึ “สรรพ-บรกิ าร” ไมว่ า่ จะเปน็ รา้ นอาหาร ทเี่ รยี นพเิ ศษ โรงภาพยนตร์ ทอี่ อกกำ� ลงั กาย สถานบนั เทงิ โรงแรม หอ้ งประชมุ และอ่ืนๆ อีกมากมาย การใช้ชีวิตในหา้ งสรรพสินค้ารวมท้งั การใช้ชวี ิตนอกบ้านในที่ต่างๆ ไม่วา่ จะเปน็ รา้ นกาแฟ รา้ นอาหาร หรอื สถานทอี่ อกกำ� ลงั กาย ไดก้ ลายเปน็ วฒั นธรรมเมอื งทดี่ ทู นั สมยั ภูเบศร์ สมทุ รจักร I ธรี นุช กอ้ นแก้ว I รฎิ วัน อเุ ดน็ 25 �����������6.indd 25 147//2560 BE 17:09

ปรากฏชัดเจนและกว้างขวางมากขึ้น เมื่อห้างสรรพสินค้ารวมท้ังร้านค้าปลีกสมัยใหม่อื่นๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ไฮเปอรม์ ารท์ ซปุ เปอรม์ ารเ์ กต็ และรา้ นสะดวกซอื้ แบบแฟรนไชสย์ หี่ อ้ ตา่ งๆ กระจาย สู่หัวเมืองใหญ่ในแต่ละภูมิภาคและในจังหวัดต่างๆ ข้าวของเคร่ืองใช้ของคนชั้นกลางต้องมี “ตรายี่ห้อ” (Brand name) ซึ่งเป็นนวัตกรรมทางธุรกิจท่ีแสดงออกถึงคุณสมบัติและ อัตลกั ษณ์ของสนิ ค้า และเป็นการเพม่ิ มลู คา่ ใหก้ บั ตวั สินค้า มีใหเ้ ลือกมากมายหลายระดบั เพื่อ ให้เหมาะกับรสนิยมและความหลากหลายของรายได้ ความสะดวกสบายและรสนิยมที่คน ช้ันกลางได้รับการตอบสนองจากสินค้าและบริการเหล่าน้ี แลกมากับจ�ำนวนรายการของสินค้า และบรกิ ารทเ่ี หน็ ว่า จ�ำเปน็ ต่อการดำ� เนนิ ชีวติ ประจ�ำวันมีสนนราคาเพิม่ ขึน้ ตลอดเวลา คา่ ใชจ้ า่ ยในการดำ� รงชวี ติ ทสี่ งู ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ งน้ี ทำ� ใหส้ มาชกิ ในครอบครวั ตอ้ งขวนขวาย มากข้ึน เพื่อหารายได้มาเล้ียงดูครอบครัวตามมาตรฐานการด�ำรงชีวิตของตน ส�ำนักงานสถิติ แห่งชาติ (2555) รายงานอัตราการเพิ่มขึน้ ของรายไดค้ รัวเรือนไทยระหว่าง พ.ศ. 2543–2554 เฉล่ยี รอ้ ยละ 9 ต่อปี ในขณะที่การบริโภคและหนค้ี รัวเรือนเพ่มิ ขนึ้ ร้อยละ 16 ต่อปี สังคมเมือง และความเป็นคนช้ันกลาง แม้จะหมายถึงการที่คนมีรายได้เพิ่มมากขึ้นและขยับฐานันดรสูงขึ้น แต่ค่าใช้จ่ายและหน้ีสินจากการด�ำรงชีวิตก็เพ่ิมตามข้ึนไปด้วย ต้นทุนการเล้ียงดูชีวิตเพ่ิมสูงขึ้น ทุกวัน โดยเฉพาะต้นทุนการเลี้ยงดูลูก ตั้งแต่การดูแลครรภ์ การคลอด การดูแลหลังคลอด สถานทีร่ ับเล้ียงเดก็ เลก็ เพือ่ ดแู ลลูกเม่ือพอ่ แม่ตอ้ งออกไปท�ำงาน ค่าเลา่ เรียนต้ังแตอ่ นบุ าลจนถงึ มหาวทิ ยาลยั การแขง่ ขนั ทส่ี งู ขน้ึ ตอ้ งใชท้ รพั ยากรสนบั สนนุ ทม่ี ากขน้ึ และเปน็ เหตผุ ลหนง่ึ ทที่ �ำให้ คนรุ่นใหม่ลังเลกับการมีลูก และต้องมีการเตรียมความพร้อมทางการเงินมากกว่าคนรุ่นก่อน สงั คมเมอื งและความเปน็ คนชนั้ กลางแมจ้ ะหมายถงึ การทค่ี นมรี ายไดเ้ พม่ิ มากขน้ึ และขยบั ฐานนั ดร สูงขึ้น แตค่ า่ ใช้จา่ ยในการด�ำรงชวี ิตกเ็ พิ่มตามข้นึ ไปดว้ ย ในภาวะการแข่งขันด้านความเป็นอยู่อันร้อนแรงน้ี อาจท�ำให้เกิด “ความสับสนของ คนชั้นกลาง” ทเี่ กิดขนึ้ จากการด�ำเนินชวี ิตอยู่รว่ มกบั ผมู้ ีรายได้สงู ไมว่ ่าจะเป็นการเรียนหนงั สอื ดว้ ยกนั ทำ� งานรว่ มกนั เดนิ เทย่ี วหา้ งสรรพสนิ คา้ เดยี วกนั เปดิ รบั สอื่ การโฆษณาสนิ คา้ และบรกิ าร รวมทั้งส่ือสังคมตา่ งๆ ทถี่ กู แบ่งปัน (แชร)์ ให้ได้รบั รพู้ ร้อมๆ กนั และรบั เอามาตรฐานการด�ำรง ชวี ติ เดยี วกนั มาใช้ ทงั้ ๆ ทร่ี ะดบั รายไดแ้ ตกตา่ งกนั อยา่ งมาก อาจนำ� ไปสคู่ วามเสย่ี งทางความมน่ั คง ทางการเงิน ในขณะท่ีผู้มีรายได้สูงสามารถจับจ่ายสินค้าและบริการเหล่านั้นได้ โดยมีข้อจ�ำกัด ทน่ี ้อยกว่า หรอื ไมม่ เี ลย ในอีกมิติหน่ึง เป็นการเปลี่ยนแปลงของครอบครัวท่ีเกิดข้ึนบริเวณรอยตะเข็บระหว่าง เขตเมืองกับเขตชนบทท่ีมีลักษณะเป็นพื้นที่ “ก่ึงเมือง กึ่งชนบท” ซึ่งเป็นผลการจากการขยาย สาธารณูปโภคสมัยใหม่เข้าไปใกล้เขตชนบทมากข้ึน เช่น การตัดถนนขนาดใหญ่ สถานีขนส่ง หรือสถานีรถไฟฟ้า ตามมาด้วยห้างสรรพสินค้า อ�ำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี เป็นตัวอย่าง 26 ความอยดู่ มี สี ุขของครอบครัวไทย �����������6.indd 26 147//2560 BE 17:09

ทเ่ี หน็ ไดช้ ดั ทพ่ี น้ื ทถี่ กู ระบชุ ดั เจนวา่ เปน็ เขตชนบทแตม่ รี ถไฟฟา้ วง่ิ ผา่ นและสถานบี างใหญเ่ กดิ ขนึ้ พรอ้ มกบั หา้ งสรรพสนิ คา้ ขนาดใหญท่ สี่ รา้ งเสรจ็ กอ่ นสถานรี ถไฟฟา้ เสยี ดว้ ยซำ�้ ในขณะทหี่ า่ งจาก ถนนเส้นใหญ่และสถานีรถไฟฟ้าไปไม่ไกล ยังคงเป็นบริเวณเรือกสวนไร่นา และท่ีอยู่อาศัยของ ชาวชนบท ซึ่งอาจมรี ะดับรายได้น้อยเกินกวา่ จะใช้ชวี ิตจับจ่ายในห้างสรรพสินคา้ ทีต่ ้งั อยูไ่ ม่ไกล จากบ้าน แต่ก็เชื่อได้ว่าสุดท้ายชาวบ้านเขตก่ึงเมือง กึ่งชนบทเหล่าน้ีก็คงรับเอาวัฒนธรรม ห้างสรรพสินค้าและวิถีเมืองท่ีมีราคาสูงล่ิวมาเป็นวิถีชีวิตของตนในที่สุดในอีกไม่นาน และอาจ ตอ้ งแลกดว้ ยการด้นิ รนและการเปล่ยี นแปลงบางอยา่ งในชีวติ ครอบครัวชนบทไทย จากวันส่งลกู ไปท�ำงานในกรุง ถึงวันรบั หลานกลบั มาเล้ียง สถานีรถไฟและสถานีขนส่งดูสับสนอลหม่านเป็นพิเศษในช่วงเทศกาล หรือวันหยุดยาว หลายวัน ณ จุดนี้เป็นท่ีรวมตัวของแรงงานชาวชนบทที่เข้ามาท�ำมาหากินในกรุงเทพฯ และ หัวเมอื ง หอบหิ้วถุงสีสนั สวยงามจากห้างสรรพสนิ ค้าชอ่ื ดงั เพอ่ื น�ำของสดุ โกจ้ ากในเมอื งไปฝาก พ่อแม่และญาติพ่ีน้องในขากลับไปบ้าน และพะรุงพะรังด้วยชะลอมของฝากจากบ้านนอก ท้งั ของกนิ ของใช้ทถ่ี กู ปากถกู ใจ แต่หาไดย้ ากในเมืองในขากลบั เมือง หัวล�ำโพง หมอชติ เอกมยั สายใต้ใหม่ และสถานีขนส่งของแต่ละจังหวัด กลายเป็นจุดเริ่มและจุดเชื่อมของหลายชีวิต ที่ตัดสินใจลาจากบ้านเกิดเพ่ือความก้าวหน้าในชีวิต เรื่องราวของความส้ินหวัง ความสมหวัง การตอ่ สูด้ ้ินรน และความหา่ งเหินเดียวดายของท้งั ลูกหลานที่ย้ายถ่ินเขา้ เมือง และพอ่ แม่ ปูย่ า่ ตายาย ที่อยรู่ อคอยลูกหลานท่บี า้ นนอกอยู่ค่สู ังคมไทยตลอดมา สำ� มะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2543 รายงานวา่ กวา่ 1 ใน 3 ของประชากรในกรงุ เทพฯ เป็นผู้ย้ายถ่ินต้ังแต่ พ.ศ. 2523 (อารี จ�ำปากลาย และอารีย์ พรหมโม้, 2550) ในจ�ำนวนนี้ กว่า 1 ใน 4 เป็นพี่น้องชาวอีสาน (กฤตยา อาชวนิชกุล และคณะ, 2536) ซ่ึงเป็นภูมิภาค ที่มีจ�ำนวนประชากรที่ใช้ชีวิตด้ินรนอยู่ต่�ำกว่าเส้นความยากจนจ�ำนวนมากที่สุดในประเทศ (อานนั ท์ชนก สกนธวฒั น์, 2555) พัฒนาการทางเศรษฐกิจของประเทศจากสงั คมเกษตรกรรม มาเปน็ สังคมอตุ สาหกรรม ได้เพ่มิ สัดสว่ นของแรงงานที่อยนู่ อกภาคการเกษตรมาจนอยใู่ นระดบั ใกล้เคียงกับแรงงานที่อยู่ในภาคการเกษตร สัดส่วนของแรงงานในภาคการเกษตรท่ีเคยมากถึง รอ้ ยละ 63 ใน พ.ศ. 2533 ลดลงเหลอื เพยี งรอ้ ยละ 41 ใน พ.ศ. 2544 (สำ� นกั งานสถติ แิ หง่ ชาต,ิ 2555) อย่างไรก็ตาม สัดส่วนของแรงงานในและนอกภาคการเกษตรมีการขึ้นลงสลับกันในบางช่วง การสำ� รวจแรงงานในชว่ งภาวะวกิ ฤตเศรษฐกจิ พ.ศ. 2540 พบวา่ แรงงานในภาคการเกษตรเพมิ่ ภูเบศร์ สมทุ รจักร I ธีรนชุ ก้อนแกว้ I ริฎวนั อเุ ดน็ 27 �����������6.indd 27 147//2560 BE 17:09

สงู ขนึ้ และมสี ดั สว่ นพอๆ กนั กบั แรงงานนอกภาคการเกษตร จนกระทง่ั ภาวะเศรษฐกจิ ดขี น้ึ แรงงาน นอกภาคการเกษตรจงึ กลบั มามจี ำ� นวนสงู กวา่ เชน่ เดมิ ในขณะทเี่ มอื งและเมอื งหลวงเปน็ สญั ลกั ษณ์ ของอนาคตและความกา้ วหน้า ทั้งด้านการศึกษา อาชพี การงาน แม้กระท่งั การแตง่ งาน การมี เขย–สะใภช้ าวกรงุ ดเู ปน็ หนา้ เปน็ ตาของใครหลายคน ภาพของ “ตา่ งจงั หวดั ” หรอื “บา้ นนอก” มักเป็นความล้าหลัง ความไม่เจริญ และเรื่องราวของอดีต อย่างไรก็ตาม ความอบอุ่นและ ความเออื้ อาทรท่ีมีอย่างลน้ เหลอื ในชนบทโอบอุ้มหวั ใจยามเป็นทกุ ขแ์ ละสน้ิ หวงั ครงั้ แลว้ ครง้ั เลา่ การยา้ ยออกของแรงงานในภาคการเกษตร เขา้ ไปเปน็ แรงงานในเมอื งเมอื่ 40–50 ปกี อ่ น ท�ำให้สังคมไทยเริ่มพบผู้สูงอายุที่ต้องอยู่ล�ำพังในชนบทเพ่ิมมากข้ึน สร้างความกังวลเก่ียวกับ สวัสดิภาพ และความอยู่ดีมีสุขของประชากรกลุ่มดังกล่าว แรงงานย้ายถ่ินในยุคแรกๆ ลงหลัก ปักฐาน สรา้ งครอบครัว มีลูก และเลย้ี งลูกในเมอื งและในเมอื งหลวง ท�ำให้คนเจเนอเรชนั ที่ 2 ของผูย้ า้ ยถิ่นเข้าเมืองกลายเปน็ คนเมืองไปโดยปรยิ าย อย่างไรก็ตาม พัฒนาการของการย้ายถนิ่ จากชนบทเขา้ สเู่ มอื งในปจั จบุ นั กอ่ ใหเ้ กดิ ความกงั วลในรปู แบบใหม่ เมอื่ ผยู้ า้ ยถน่ิ จากชนบทเขา้ ไป ในเมืองเพอ่ื เรียนหนังสอื หรือท�ำงาน หรือสร้างครอบครัวและมีลกู จะโดยต้งั ใจหรือโดยไม่ต้ังใจ ก็ตาม แต่ไม่สามารถดูแลลูกที่เกิดข้ึนมาได้ ไม่ว่าจะเพราะค่าใช้จ่ายในเมืองสูงเกินไป สภาพ การทำ� งานหนกั เพอ่ื ความอยรู่ อดในภาวะมาตรฐานการครองชพี สงู และการเดนิ ทางทใ่ี ชเ้ วลานาน บนทอ้ งถนนอนั เนอื่ งมาจากสภาพการจราจรติดขัดอยา่ งมากในเมอื ง รวมทง้ั อนั ตรายของสงั คม เมอื งท่ีไม่น่าไว้วางใจทำ� ให้ไม่สามารถเล้ยี งลกู ได้ การตัดสนิ ใจสง่ ลูกกลบั ไปใหป้ ู่ย่า ตายาย เล้ยี ง ในต่างจังหวัดจึงเป็นทางออก ท�ำให้เกิดรูปแบบของการอยู่อาศัยแบบ “ครอบครัวข้ามรุ่น” (Skipped-generation household) หรอื “ครอบครวั แหว่งกลาง” ซง่ึ หมายถึงครอบครัวทม่ี ี คนแกท่ ี่เปน็ ป่ยู ่า ตายาย เล้ยี งดหู ลานทล่ี กู ของตนเองส่งมา มจี ำ� นวนเพ่มิ ข้นึ ประเด็นเร่ืองครอบครัวข้ามรุ่นโดยเฉพาะที่พบในชนบทเริ่มมีความส�ำคัญ เนื่องจาก ปรากฏการณน์ ส้ี ะทอ้ นถงึ คณุ ภาพของความสมั พนั ธใ์ นครอบครวั รวมถงึ คณุ ภาพชวี ติ ของผทู้ อ่ี ยู่ ถนิ่ ฐานตน้ ทาง และอาจสง่ ผลตอ่ เดก็ ทกี่ ำ� ลงั ตอ้ งการความอบอนุ่ และการดแู ลจากพอ่ แม่ รวมทงั้ ผลต่อตัวผู้สูงอายุเองที่นอกจากจะมีปัญหาด้านรายได้และสุขภาพแล้ว ยังมีภาระในการเลี้ยงดู เด็กๆ หรือเดก็ วยั ร่นุ จากรายงานการย้ายถิน่ ในการทำ� สำ� มะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 พบว่า ประชากรท่ีมีถิ่นเกิดคนละจังหวัดกับท่ีอยู่ปัจจุบันร้อยละ 22 เป็นประชากรที่ย้ายถ่ิน ในชว่ ง 5 ปี ระหวา่ ง พ.ศ. 2548–2553 จำ� นวน 6.2 ลา้ นคน คิดเป็นรอ้ ยละ 9 ของประชากร ทงั้ ประเทศ และผลพวงจากการยา้ ยถนิ่ ไปทำ� งานนเี่ องทสี่ ง่ ผลใหค้ รอบครวั ในชนบทไทยมผี สู้ งู อายุ อาศยั อยกู่ บั เดก็ รนุ่ หลานตามลำ� พงั เทา่ นน้ั มรี ายงานวา่ มผี สู้ งู อายทุ อี่ าศยั อยใู่ นครอบครวั ขา้ มรนุ่ 28 ความอยดู่ มี ีสุขของครอบครวั ไทย 147//2560 BE 17:09 �����������6.indd 28

ถึงร้อยละ 10 (วิพรรณ ประจวบเหมาะ, 2557) การอยูอ่ าศยั ในรูปแบบนี้ เป็นปรากฏการณ์ทม่ี ี แนวโน้มจะเพิ่มมากข้ึน จากการศึกษาเร่ือง “สถานการณ์การเลี้ยงดูหลานในครัวเรือนข้ามรุ่น ของประเทศไทย” ของกาญจนา เทียนลาย และวรรณี หุตะแพทย์ (2558) ท่ีศึกษาเกี่ยวกับ ครอบครวั ขา้ มร่นุ ในจงั หวัดพษิ ณโุ ลก ขอนแก่น และกาญจนบุรี พบวา่ แหล่งท่ีมาของรายได้ของ ครอบครัวลกั ษณะนี้เป็นเพยี งเงินจากเบ้ียยงั ชพี และเงินส่งกลับจากลกู หลานของตนเองเทา่ นน้ั มองในอกี แงม่ มุ ครอบครวั ขา้ มรนุ่ เชน่ นเี้ ปน็ การพงึ่ พากนั ภายในครอบครวั อกี ลกั ษณะหนง่ึ ความรสู้ กึ ของปยู่ า่ ตายายทร่ี บั หลานมาเลยี้ ง บางกรณอี าจรสู้ กึ ดที ไ่ี ดช้ ว่ ยแบง่ เบาภาระใหก้ บั ลกู ซ่ึงก�ำลังด้ินรนสร้างฐานะ และบางคนมีความรู้สึกว่าตนเองเลี้ยงหลานได้ดีกว่าคนอ่ืน เพราะมี ความผกู พนั ทางสายเลอื ด ยอ่ มใหค้ วามรกั และความอบอ่นุ และการดูแลอยา่ งใกล้ชดิ ในขณะที่ บางครอบครวั เหน็ วา่ เปน็ ภาระในยามชราทมี่ รี ายไดน้ อ้ ยลง สขุ ภาพไมเ่ ออื้ อำ� นวย ซงึ่ การเลยี้ งหลาน ต้องใช้ก�ำลังและความกระฉับกระเฉงอย่างมาก ท�ำให้ไปไหนมาไหนไม่อิสระเหมือนคนอื่น ท่ีไม่ต้องเลี้ยงหลาน ภาระการเล้ียงหลานอาจสร้างความขุ่นเคืองให้ปู่ย่า ตายายมากข้ึน หากพ่อแม่ของหลานไม่ส่งเงินมาช่วยเหลือค่าใช้จ่าย หรือส่งมาน้อยและไม่เพียงพอ ทั้งอาจ เกิดปัญหากับการพัฒนาการของเด็กในกรณีที่ปู่ย่า ตายายไม่สามารถดูแลเอาใจใส่เท่าท่ีควร ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองอาหารการกิน การเรียนหนังสือ หรือการตามใจหลานมากเกินไปเพื่อชดเชย กับการทหี่ ลานไมไ่ ด้อยู่ใกลพ้ ่อแม่ หรือเพ่ือใหห้ ลานรัก ปัญหาส�ำคัญอีกประการหน่ึงเก่ียวกับครอบครัวข้ามรุ่น คือปัญหาช่องว่างระหว่างวัย ซง่ึ นบั วนั จะรนุ แรงมากยง่ิ ขน้ึ เนอ่ื งจากการเปลย่ี นแปลงในสงั คมยคุ โซเชยี ลเนต็ เวริ ก์ ทเี่ ดก็ วยั รนุ่ เปิดรับข่าวสารต่างๆ อย่างรวดเร็วและขาดกลไกควบคุมท่ีมีประสิทธิภาพ การที่ปู่ย่า ตายาย ไม่สามารถติดตามการเปล่ียนแปลงเหล่าน้ีได้เท่าทัน อาจท�ำให้เกิดความไม่เข้าใจกันระหว่าง ตนเองกับหลาน น�ำไปสู่การแสดงอารมณ์ของทั้งสองฝ่าย การท่ีเด็กหนีออกจากบ้าน และ ความเส่ียงอ่ืนๆ (วินัดดา ปิยะศิลป์, 2546) รวมท้ังการเกิดปัญหาด้านสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ (Adhikari et al., 2011) แม้พัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสารในศตวรรษท่ี 20 และ 21 สามารถช่วยลดปัญหาที่เกิดจากความห่างของระยะทางลงได้ โดยเฉพาะเม่ือโทรศัพท์เคล่ือนที่ สามารถถ่ายทอดสัญญาณภาพและเสียง ท�ำให้มคี วามรสู้ กึ เหมือนอยู่ไม่ไกลจากกัน ด้วยต้นทุน ที่ต�่ำลงและง่ายต่อการใช้งาน ท�ำให้ทั้งสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตอยู่ในมือของคนท้ังสามรุ่น แตก่ ารพบปะกนั ผา่ นโลกเสมอื น (Virtual sphere) กท็ ำ� ไดเ้ พยี งแคก่ ารบรรเทาความรสู้ กึ อา้ งวา้ ง และห่างเหินเท่าน้ัน ไม่อาจทดแทนและเติมเต็มความอบอุ่นและความอุ่นใจจากสมั ผัสท่ีหายไป ไดโ้ ดยสมบูรณ์ �����������6.indd 29 ภเู บศร์ สมทุ รจกั ร I ธีรนชุ ก้อนแกว้ I รฎิ วัน อเุ ด็น 29 147//2560 BE 17:09

““ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ สะทอ้ นความเปน็ ไป โอกาส และความทา้ ทายในมติ ิตา่ งๆ ท่ปี ระเทศก�ำ ลงั เผชญิ อยู่ในขณะนัน้ ... รวมทัง้ มิติ “ครอบครัว” �����������6.indd 30 147//2560 BE 17:09

บทท่ี 2 มิติ “ครอบครวั ” ในแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นหน่วยงานหลักในการเสนอ แผนการพฒั นาประเทศในมติ ติ า่ งๆ โดยจัดทำ� ทกุ ๆ 5 ปี นบั ตง้ั แตแ่ ผนพัฒนาฯ ฉบบั แรก ทเี่ ริม่ เมอ่ื พ.ศ. 2504 มาจนถงึ ปจั จบุ นั กำ� ลงั จะมกี ารนำ� เสนอแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) ซึ่งกระบวนการในการร่างแผนพฒั นาฯ น้ัน จะต้องมกี ารทบทวนสถานการณ์ปัจจุบันท้ังภายใน และภายนอกประเทศในแง่มุมต่างๆ เพ่ือให้มองเห็นทิศทางของส่ิงที่จะกระทบต่อการพัฒนา ประเทศ ด้วยเหตุนี้ประเด็นหลักและจุดเน้นต่างๆ ของแผนพัฒนาฯ แต่ละฉบับจึงเป็นกระจก สะท้อนความเป็นไป โอกาส และความท้าทายที่ประเทศก�ำลังเผชิญอยู่ในขณะนั้น การศึกษา ประเดน็ ทเ่ี กยี่ วกบั ครอบครวั จากแผนพฒั นาฯ แตล่ ะฉบบั จงึ ทำ� ใหเ้ ขา้ ใจบรบิ ทดา้ นครอบครวั และ ประชากรของประเทศในแตล่ ะชว่ งสมยั เปน็ อยา่ งดี จากจุดเริม่ ประชากรล้นในฉบบั ที่ 1 จนถึงประชากรระดบั ทดแทนในฉบับที่ 7 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 (พ.ศ 2504–พ.ศ. 2509) ถึงฉบับท่ี 7 (พ.ศ 2535–พ.ศ. 2539) เน้นไปที่การกระจายบริการพ้ืนฐานทางสังคมและการวางแผนครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การควบคมุ จำ� นวนประชากรและจำ� นวนบตุ รในแตล่ ะครอบครวั ไมใ่ หม้ มี ากเกนิ ไป สว่ นการพฒั นา ภเู บศร์ สมทุ รจักร I ธรี นุช กอ้ นแกว้ I รฎิ วัน อเุ ดน็ 31 �����������6.indd 31 147//2560 BE 17:09

สังคมเร่มิ ไดร้ บั ความสนใจอยา่ งจรงิ จงั ตั้งแต่แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2515–พ.ศ. 2519) เป็นตน้ มา มีเป้าหมายเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของประชาชนใหด้ ขี ้ึน จัดหาบริการพื้นฐานทางสังคมแก่ประชาชนในเขตเมืองและชนบทอย่างท่ัวถึง ท้ังบริการด้าน การศกึ ษาและบรกิ ารสาธารณสขุ สำ� หรบั การพฒั นาครอบครวั นนั้ มกี ารดำ� เนนิ มาตรการวางแผน ครอบครัวเพื่อลดอัตราเพ่ิมประชากรให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ไม่ให้เป็นภาระทางเศรษฐกิจ แกค่ รอบครัวที่ยากจนและประเทศชาตใิ นระยะยาว ผลการพฒั นาทำ� ใหอ้ ตั ราเพม่ิ ประชากรลดลงจากรอ้ ยละ 3.1 ใน พ.ศ. 2514 เหลอื รอ้ ยละ 2.6 ใน พ.ศ. 2519 ใกลเ้ คยี งกับเป้าหมายร้อยละ 2.5 ทกี่ �ำหนดไว้ การด�ำเนนิ งานในระยะตอ่ มา ไดผ้ ลส�ำเร็จเป็นอยา่ งดี เพราะอตั ราเพม่ิ ประชากรไดล้ ดลงอย่างต่อเน่อื ง เหลอื เพยี งร้อยละ 1.7 ใน พ.ศ. 2529 และรอ้ ยละ 1.4 ในปี พ.ศ. 2534 ซงึ่ เปน็ ปสี ดุ ท้ายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 และฉบับที่ 6 ตามล�ำดับ ก่อนจะลดลงเหลือร้อยละ 1.1 เม่ือส้ิน แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 7 ถงึ เรมิ่ กงั วลเกย่ี วกบั อตั ราเจรญิ พนั ธจ์ุ ะตำ่� กวา่ ระดบั ทดแทน กลา่ วไดว้ า่ โครงสรา้ งประชากรและขนาดของครอบครวั ไทยเรม่ิ เปลย่ี นแปลงในทศิ ทางที่ ลดลงอยา่ งชดั เจนในชว่ งแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 3–7 อนั เนอ่ื งมาจากนโยบายการวางแผนครอบครวั โดยเฉพาะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 ซ่ึงรัฐบาลได้ประกาศนโยบาย ประชากรเม่ือวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2513 และโครงการวางแผนครอบครัวแห่งชาติก็ได้เริ่ม ก่อต้ังข้ึนในปีเดียวกัน วัตถุประสงค์ส�ำคัญก็เพื่อมุ่งลดอัตราเพ่ิมประชากร และเป็นนโยบาย ที่ต้องการปรับปรุงคุณภาพประชากรและพัฒนาจิตใจ เพื่อให้มีศักยภาพและมีความพร้อม ตอ่ การพัฒนาและการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกิจ แผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 8 (พ.ศ. 2540–พ.ศ. 2544) “คน” เปน็ ศนู ย์กลางการพัฒนา “ครอบครัว” ตอ้ งมีขนาดทเี่ หมาะสม ต่อมาในแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2540–พ.ศ. 2544) ได้เริ่มให้ความสําคัญกับ การเสรมิ สรา้ งความอบอนุ่ และความเขม้ แขง็ ในการพง่ึ พาตนเองของครอบครวั และการมสี ว่ นรว่ ม ในการเกื้อกูลสังคม เน้นคนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา โดยมีแนวทางท่ีสําคัญ ได้แก่ การสนับสนุนให้คนไทยมีขนาดครอบครัวท่ีเหมาะสม สนับสนุนและส่งเสริมให้คู่สมรส พ่อ และแม่ มีความรู้เก่ียวกับชีวิตครอบครัวและวิธีการเลี้ยงลูกท่ีถูกต้อง นอกจากนี้ แผนพัฒนาฯ ฉบบั ดงั กลา่ วพดู ถงึ การแกไ้ ขปญั หาความรนุ แรงในครอบครวั และเรม่ิ ใหค้ วามสำ� คญั กบั การดแู ล 32 ความอยูด่ มี สี ุขของครอบครัวไทย �����������6.indd 32 147//2560 BE 17:09

ผู้สูงอายุ รวมทั้งการเสริมสร้างขีดความสามารถด้านการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิต่างๆ ของ ประชาชน โดยเฉพาะสิทธเิ ด็กและสตรี เสรมิ สร้างความรู้ความเขา้ ใจใหม้ ีทักษะในการดาํ รงชีวติ และการประกอบอาชีพได้อยา่ งยั่งยืน การใหค้ นเปน็ ศนู ยก์ ลางการพฒั นา ตามเจตนารมณข์ องแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 8 นี้ กำ� หนด ให้เร่ิมจากการใส่ใจดูแลคนให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้นและมีความสุข เพราะได้เริ่มตระหนักถึง การเปลี่ยนแปลงในสังคมที่มุ่งเน้นการแข่งขันเพื่อสร้างความมั่งคั่งมากเกินไป จนท�ำให้คนไทย และสังคมไทยมคี วามเป็นวัตถุนยิ มมากขนึ้ ก่อใหเ้ กดิ ปญั หาด้านพฤติกรรมของคนในสงั คม คอื การย่อหย่อนในศีลธรรมจริยธรรม ขาดระเบียบวินัย เอารัดเอาเปรียบ ส่งผลให้วิถีชีวิตและค่า นิยมด้ังเดิมที่ดีงามของไทยจางหายไปพร้อมๆ กับการอ่อนแอลงของสถาบันครอบครัว ชุมชน และวัฒนธรรมท้องถ่ิน นอกจากน้ีสภาพบีบค้ันทางจิตใจของคนในสังคมเกิดจากความแออัด ของชุมชนเมืองและสภาวะแวดล้อมที่เสื่อมโทรม ซึ่งมาพร้อมกับกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจ นั่นเอง การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและรายได้ท่ีสูงข้ึนส่งผลให้ภาวะการเจ็บป่วยของคนไทย เปลยี่ นแปลงไปสโู่ รคสมยั ใหม่ เชน่ โรคมะเรง็ โรคหวั ใจ โรคความดนั โลหติ สงู รวมทง้ั การบาดเจบ็ ล้มตายจากอุบัติเหตุและอุบัติภัยที่มีอัตราสูงข้ึนตามไปด้วย (คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ,้ 2557 และสำ� นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต,ิ 2540) ค�ำว่า “ขนาดของครอบครัวที่เหมาะสม” นับเป็นประเด็นครอบครัวที่เด่นชัดของแผน พัฒนาฯ ฉบับนี้ ในค�ำปรารภของแผนพัฒนาฯ กล่าวถึงความไม่สมดุลเชิงพื้นที่ของประชากร โดยท่ีมีอัตราเกิดต�่ำในพื้นท่ีภาคเหนือ ภาคกลาง และกรุงเทพมหานคร ท�ำให้ต้องชะลอ การวางแผนครอบครวั ในพน้ื ทด่ี งั กลา่ ว และมอี ตั ราเกดิ สงู ในบางพน้ื ทขี่ องภาคใต้ และภาคตะวนั ออก เฉียงเหนือ จ�ำเป็นต้องส่งเสริมการวางแผนครอบครัวและจัดโครงการรณรงค์พิเศษเฉพาะข้ึน ใหส้ อดคลอ้ งกบั ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละคา่ นยิ มเกยี่ วกบั การมบี ตุ รในพน้ื ทเ่ี หลา่ น้ี รวมไปถงึ การปรบั ปรงุ คณุ ภาพและแบง่ เบาภาระทเี่ ทา่ เทยี มกนั ระหวา่ งชายหญงิ ในการวางแผนครอบครวั ด้วยวิธีต่างๆ เพื่อให้สามารถลดจ�ำนวนบุตรหรือเว้นระยะการมีบุตรได้ตามความต้องการของ ประชาชนทีร่ บั บริการอยา่ งมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ี ยงั เรมิ่ มกี ารพดู ถงึ นโยบายการเกดิ อยา่ งมคี ณุ ภาพ ดว้ ยการเตรยี มความพรอ้ ม ทุกด้านของเด็กปฐมวัย (อายุ 0–5 ปี) ให้ความรู้เก่ียวกับชีวิตครอบครัวและวิธีการเล้ียงลูก ที่ถูกต้องเหมาะสมแก่เยาวชน คู่สมรส และพ่อแม่ โดยมอบให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องประสาน การด�ำเนนิ งานไปในทิศทางเดยี วกนั สง่ เสริมให้เดก็ ก่อนวัยเรยี นได้รับบริการเตรียมความพร้อม ในรปู แบบตา่ งๆ รวมถงึ ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ และสถานรบั เลยี้ งเดก็ ในทที่ ำ� งานและสถานประกอบการ โดยด�ำเนินการร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และครอบครัว นอกจากน้ี ภเู บศร์ สมทุ รจักร I ธีรนชุ กอ้ นแกว้ I รฎิ วัน อเุ ด็น 33 �����������6.indd 33 147//2560 BE 17:09

ยังต้องการให้เด็กทุกคนได้รับการส่งเสริมด้านโภชนาการอย่างเพียงพอและมีคุณภาพ รณรงค์ ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความส�ำคัญของการดูแลสุขภาพของตนเอง และครอบครัว ตลอดจนการปรับเปล่ียนพฤติกรรมดูแลสุขภาพ โดยการสนับสนุนให้มีบริการ ตรวจสุขภาพคู่สมรสก่อนแต่งงาน ก่อนมีบุตร และสตรีท่ีอยู่ในระหว่างการตั้งครรภ์ ใช้การ วางแผนครอบครวั สำ� หรบั ปอ้ งกนั และคดั กรองโรคพนั ธกุ รรม โรคตดิ ตอ่ ในครรภ์ และความพกิ าร แตก่ �ำเนดิ เพ่อื เปน็ การสง่ เสริมสขุ ภาพทารกตัง้ แตอ่ ยู่ในครรภ์ สอดแทรกความรู้เร่อื งครอบครวั ศึกษา และการเสริมสร้างทักษะชีวิตในหลักสูตรการเรียนการสอนทุกระดับ รวมท้ังพัฒนาครู ให้มีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองน้ีอย่างถูกต้อง และสามารถถ่ายทอดความรู้ในวงกว้างได้ ทั้งยัง ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเพื่อพัฒนาการของเด็กและคุณภาพชีวิตท่ีดีของแม่ รวมถึงการรณรงค์ ผ่านสอ่ื ตา่ งๆ เพ่อื ใหค้ รอบครวั เหน็ ความส�ำคญั และดแู ลเอาใจใสผ่ ้สู งู อายุควบคู่กบั การมีความรู้ ความเข้าใจทีถ่ ูกต้อง และสามารถดูแลสขุ ภาพของผูส้ งู อายใุ นครอบครวั ได้ ในแผนพัฒนาฯ ฉบับน้ี ให้บทบาทแก่ชุมชนเพ่ือช่วยเหลือกลไกของภาครัฐในการบรรลุ เปา้ หมายทางดา้ นประชากรและครอบครวั ดว้ ยการสง่ เสรมิ การวจิ ยั พฒั นา และเผยแพรภ่ มู ปิ ญั ญา ทอ้ งถนิ่ ศลิ ปวฒั นธรรม และประเพณอี นั ดงี าม นำ� ศกั ยภาพของผสู้ งู อายทุ มี่ คี วามรคู้ วามสามารถ และประสบการณต์ ่างๆ มาใช้ในการดแู ลครอบครัว พัฒนาระบบประสานงานภายในชมุ ชนเพ่อื การใหบ้ รกิ ารแกค่ รอบครัวในรูปแบบเบ็ดเสร็จ เชน่ การจดั บรกิ ารดูแลเด็กและผ้สู งู อายุ การให้ คำ� ปรกึ ษาดา้ นกฎหมายและการใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั ชวี ติ การครองเรอื น การจดั สวสั ดกิ ารสงเคราะห์ แกก่ ลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาสในสงั คม เชน่ ครอบครวั ทม่ี คี นพกิ าร ครอบครวั ทมี่ ผี ปู้ ว่ ยเรอื้ รงั และทพุ พลภาพ ครอบครัวทม่ี แี ตผ่ สู้ งู อายุและเด็ก โดยให้ความช่วยเหลอื ทางการเงินทีม่ ีหลกั เกณฑ์ชัดเจน แผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 9 (พ.ศ. 2545–พ.ศ. 2549) สร้างความแข็งแรงของครอบครัว และชมุ ชน เพื่อฝ่าวกิ ฤตเศรษฐกิจ ใน พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบกบั วกิ ฤตเศรษฐกิจ (ตม้ ย�ำกุง้ ) สรา้ งความเสียหายท้ัง ต่อเศรษฐกิจและสังคมไทยอย่างรุนแรง การล้มละลายและการหยุดกิจการของบริษัทต่างๆ รวมทั้งการลดจ�ำนวนพนักงานทั้งในภาครัฐและเอกชน เกิดภาวะการว่างงานอย่างกว้างขวาง แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 9 นจี้ งึ ไดใ้ ช้ “ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” มาเปน็ แนวทางในการพฒั นาและ บรหิ ารประเทศ โดยยดึ หลักทางสายกลาง เพื่อให้สถานการณข์ องประเทศคล่คี ลายและรอดพน้ จากวิกฤต สามารถด�ำรงอยู่ได้อย่างม่ันคง เกิดการพัฒนาท่ีสมดุลมีคุณภาพ ภายใต้กระแส 34 ความอยู่ดมี ีสขุ ของครอบครวั ไทย 147//2560 BE 17:09 �����������6.indd 34

โลกาภิวัตน์และสถานการณ์เปลี่ยนแปลงต่างๆ โดยให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาที่สมดุล ทง้ั ด้านตวั คน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงการลดปญั หายาเสพตดิ เพอ่ื น�ำไปสู่ การพฒั นาทย่ี ั่งยนื และความอยดู่ ีมสี ุขของคนไทย แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 กล่าวถึงการท่ีสังคมไทยเร่ิมเข้าสู่สังคมสูงอายุและการเป็น สังคมเมืองมากข้ึน ประชากรกลุ่มเด็กจะมีสัดส่วนลดลงจากร้อยละ 23 ใน พ.ศ. 2545 เป็นรอ้ ยละ 22 ใน พ.ศ. 2549 ขณะท่ผี ูส้ งู อายุจะเพิ่มสดั สว่ นขน้ึ จากรอ้ ยละ 10 เป็นรอ้ ยละ 11 ในช่วงเวลาเดียวกัน คาดประมาณว่าประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุใน พ.ศ. 2564 ประกอบกับรูปแบบครัวเรือนที่เปล่ียนไปเป็นการอยู่เป็นโสดและครอบครัวพ่อแม่เล้ียงเด่ียว ซึ่งเป็นครอบครัวที่มีเพียงพ่อหรือแม่อยู่กับลูกมีจ�ำนวนเพ่ิมขึ้น นโยบายพัฒนาประชากร จงึ เนน้ ไปทก่ี ารพฒั นาคณุ ภาพประชากรวยั เดก็ ทง้ั ในเรอื่ งการพฒั นาการศกึ ษาและสขุ ภาพ และ จดั สวสั ดกิ ารดา้ นสขุ ภาพและหลกั ประกนั ทางสงั คมแกผ่ สู้ งู อายเุ พมิ่ ขนึ้ ในขณะเดยี วกนั สงั คมไทย เร่ิมปรับเปลี่ยนเป็นสังคมเมืองมากขึ้น จึงเป็นโอกาสที่จะเสริมสร้างศักยภาพการพัฒนาชนบท และเมืองให้เป็นสังคมท่ีน่าอยู่ เป็นสังคมที่ด�ำรงไว้ซึ่งคุณธรรมและคุณค่าของเอกลักษณ์สังคม ไทยทีพ่ ง่ึ พาเกอื้ กูลกนั ร้รู กั สามัคคี มีจารตี ประเพณดี งี าม มกี ารดแู ลผดู้ ้อยโอกาสและคนยากจน มคี วามรกั ภมู ใิ จในชาตแิ ละทอ้ งถนิ่ สามารถรกั ษาสถาบนั ครอบครวั ใหเ้ ปน็ สถาบนั หลกั ของสงั คม ที่เป็นรากฐานการพัฒนาชุมชน น�ำไปสู่ความอยู่ดีมีสุขของคนไทย (ส�ำนักงานคณะกรรมการ พฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ, 2545) แผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 9 วางวตั ถปุ ระสงค์ท่ีเกีย่ วกับครอบครวั ที่ส�ำคัญ 3 ประการ ไดแ้ ก่ (1) เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน ให้มีค่านิยมที่ถูกต้อง มีภูมิคุ้มกัน รวมทง้ั สรา้ งความตระหนกั และปลกุ จติ สำ� นกึ ของครอบครวั และชมุ ชน ใหด้ ำ� เนนิ ชวี ติ โดยยดึ ทาง สายกลาง มีความพอเพียง มีพื้นฐานจิตใจที่ดีงาม และมีวินัย เพ่ือให้ครอบครัวและชุมชนเป็น รากฐานสำ� คญั ของการสรา้ งธรรมาภบิ าลในสงั คมไทย (2) เพอื่ ใหป้ ระเทศไทยมโี ครงสรา้ งประชากร ท่ีสมดลุ และขนาดครอบครวั ทีเ่ หมาะสม โดยรกั ษาแนวโนม้ ภาวะเจรญิ พนั ธุ์ของประชากรให้อยู่ ในระดับทดแทนอย่างต่อเน่ือง และ (3) เพื่อสร้างความม่ันคงทางสังคมและความเข้มแข็ง ของครอบครวั โดยให้ทุกภาคสว่ นมสี ว่ นร่วมในการด�ำเนินงานป้องกนั และแกป้ ญั หายาเสพติด โดยการเฝา้ ระวงั ปญั หาการผลติ การเสพ และการคา้ ยาเสพตดิ นอกจากนี้ ยงั เสรมิ สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั โดยให้ความรู้ท่ีถูกต้องและเหมาะสมในการป้องกันตนเองแก่เด็กและเยาวชนที่ไม่เคยใช้ ยาเสพตดิ รวมไปถงึ การเสรมิ สรา้ งความรแู้ ละทกั ษะในการสรา้ งรายไดค้ วบคไู่ ปกบั การมพี ฤตกิ รรม การออมและการบรโิ ภคทเี่ หมาะสม ตลอดจนการจดั บรกิ ารทางสงั คมแบบเบด็ เสรจ็ แกค่ รอบครวั ตามความเหมาะสมของชมุ ชน ภูเบศร์ สมุทรจักร I ธีรนุช ก้อนแก้ว I รฎิ วนั อเุ ด็น 35 �����������6.indd 35 147//2560 BE 17:09


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook