Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore fragrant-coconut

fragrant-coconut

Published by สุภาวิตา ทองน้อย, 2019-04-29 02:01:32

Description: fragrant-coconut

Search

Read the Text Version

มะพรา้ วนา้ หอม ใส่ภาพ ผูจ้ ดั ทา : นายจอมจลุ ถติ ยร์ ศั มี หน่วยงาน : อุทยานการเรยี นรู้สมทุ รสาคร (SK Park) สานักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมวิ บิลดงิ้ ชัน้ 18-19 ถ.วภิ าวดรี ังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

มะพร้าวน้าหอม ผูจ้ ดั ทา ใส่ภาพ นายจอมจลุ ถติ ยร์ ศั มี หนว่ ยงาน : อทุ ยานการเรียนรสู้ มทุ รสาคร (SK Park) สงั กดั อบจ.สมุทรสาคร สานักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมวิ บลิ ดงิ้ ชนั้ 18-19 ถ.วภิ าวดรี ังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

มะพรา้ วนา้ หอม สานักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมวิ บิลดงิ้ ชนั้ 18-19 ถ.วภิ าวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

ชุดความรู้ทามาหากนิ “มะพร้าวนา้ หอม” บทนา หลักการและเหตผุ ล มะพร้าวน้าหอม เป็นผลไม้ดาวรุ่งน่าจับตามองเป็นอย่างย่ิง ปัจจุบันความต้องการมะพร้าวน้าหอมในตลาดผู้บริโภคสูงมาก มีการ น้ามะพรา้ วไปแปรรูปเปน็ ขนม เครือ่ งดมื่ เครือ่ งใช้ ของท่ีระลึก และ ของว่างต่างๆหลากหลายชนิด และนับวันจะมีการคิดค้นน้าเอาส่วน ต่างๆ ของมะพร้าวไปแปรรูปมากข้ึน ท้าให้ความต้องการปริมาณ มะพรา้ วน้าหอมสงู ข้นึ เป็นเงาตามตัว อาชพี การปลกู มะพร้าวน้าหอม จงึ ถือเป็นโอกาสทางอาชีพหนึ่งที่ สามารถสร้างรายได้อย่างมาก หากเพียงต้องปลูกมะพร้าวน้าหอมให้ ถูกวธิ ีจึงจะให้ไดผ้ ลผลิตค้มุ คา่ วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดทาชดุ ความรทู้ ามาหากิน 1. เพ่ือน้าเสนอเป็นทางเลือกในการประกอบอาชีพหลัก หรือ อาชีพเสรมิ 2. เพอ่ื ใหผ้ ทู้ ี่สนใจใชเ้ ปน็ คูม่ ือการปลูกท่ีได้ผลคุ้มค่า

ชุดความรู้ทามาหากนิ “มะพร้าวนา้ หอม” กลุ่มเปา้ หมาย 1. ผ้ทู ปี่ ลกู มะพร้าวน้าหอมอยู่เดมิ แตย่ งั ไมป่ ระสบผลสา้ เร็จ 2. ผ้ทู ่ีมีพน้ื ทแี่ ตป่ ล่อยพนื้ ที่โดยเปลา่ ประโยชน์ สามารถปลูกเปน็ อาชีพเสรมิ 3. บคุ คลท่ีสนใจประกอบอาชีพปลกู มะพร้าวนา้ หอม วัตถุประสงคข์ องการจดั ทาชุดความรู้ทามาหากิน 1. เพื่อน้าเสนอเป็นทางเลือกในการประกอบอาชีพหลัก หรือ อาชีพเสริม 2. เพอ่ื ให้ผ้ทู ส่ี นใจใชเ้ ป็นค่มู ือการปลูกท่ีได้ผลคมุ้ คา่ ข้นั ตอนการจดั ทาชดุ ความรทู้ ามาหากิน 1. วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการอาชพี 2. รวบรวมความรู้ 3. ประมวลและเรยี บเรียงเนื้อหาความรู้ 4. ตรวจสอบเน้อื หาชุดความรู้ว่ามคี วามครบถ้วนสมบรู ณ์ 5. เผยแพรช่ ดุ ความรู้

ชุดความรู้ทามาหากนิ “มะพร้าวนา้ หอม” ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั 1. ใช้เป็นคู่มือในการประกอบการตัดสินใจประกอบอาชีพ 2. ทาใหม้ ีรายไดเ้ พม่ิ ขึน้ 3. สามารถนาความรู้ ขั้นตอน เทคนิคต่างๆ มาใชป้ ระกอบ อาชีพใหป้ ระสบผลสาเรจ็

Mind Map

Infographic

ประมวลเนือ้ หา มะพรา้ วนา้ หอม ๑. กระบวนการผลติ ความรู้ / ทักษะการดาเนินการ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรข์ องมะพร้าว ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ของมะพรา้ ทีค่ วรทราบคือ อนุกรมวิธานของมะพร้าว สัณฐาน วิทยาของมะพร้าว การเจริญเติบโตของมะพร้าวน้าหอม การให้ผลของมะพร้าวน้าหอม แหล่งก้าเนิด ของมะพรา้ วนา้ หอม และการแพรก่ ระจายของมะพร้าว มรี ายละเอยี ดดังต่อไปน้ี อนุกรมวิธานของมะพรา้ ว อนุกรมวธิ านของมะพรา้ วตามหลกั การทางวิทยาศาสตร์ มรี ายละเอียดดงั น้ี อันดับ (Order) : Palmales วงศ์ (Family) : Palmae หรือ Arecaceae (plam) เผา่ (Tribe) : Cocoideae มมี ากกว่า 20 genara สกลุ (Genus) : Cocos ค้าระบชุ นดิ (specific epithet) : nucifera ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ (Scientific name) : Cocos nucifera Linn ชือ่ สามญั อังกฤษ : coconut plam ภาษาไทย : มะพรา้ ว ภาษาถน่ิ : หมากอนู ,บกั พร้าว,ลูกพรา้ ว มะพร้าวเป็นพืชเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Cocos และเป็นพืชท่ีส้าคัญท่ีสุดของวงศ์ ปาลม์ หรือตระกลู ปาล์ม เนอ่ื งจากแทบทุกสว่ นของมะพรา้ วมปี ระโยชนต์ อ่ มนษุ ย์ สณั ฐานวทิ ยาของมะพร้าว 1. ราก (Roots) มะพร้าวเป็นพืชยืนต้นชนิดใบเล้ียงเดี่ยว มีระบบรากแบบรากฝอย (fibrous root system) ซ่งึ รากมะพร้าวทีท่ า้ หนา้ ท่ยี ดึ เหนยี่ วลา้ ตน้ ดูดซึมน้าและธาตุอาหารต่าง ๆ เน่ืองจากมะพร้าว เป็นพืชที่ไมม่ ีขนราก (root hairs) ดงั นนั้ รากฝอยท่ีแผ่กระจาย ออกไปตามดินชนั้ ต่าง ๆ ก็จะทา หน้าท่ีดดู ซมึ นา้ และธาตอุ าหารส่งมายงั รากใหญ่ พร้อมทงั้ ช่วยยึดลาต้นไม่ให้โค่นล้มด้วย สาหรับ รากใหญ่นนั้ มีหน้าที่ลาเลียงอาหารเข้าส่ลู าต้น มากกว่าทาหน้าท่ีดดู อาหารโดยตรง แต่รากใหญ่ก็ ดดู ซมึ นา้ และธาตอุ าหารได้บ้าง เหมือนกนั ตรงบริเวณท่ีอยใู่ กล้กบั หมวกราก

ประมวลเนือ้ หา มะพรา้ วนา้ หอม ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ของมะพรา้ ว (ต่อ) ซึ่งรากใหญ่บริเวณดังกล่าวนี ้ ผนังเซลล์ราก บาง นอกจากนีแ้ ล้วรากใหญ่ยังมีรู สาหรับหายใจ ทาหน้าท่ีดดู เอาอากาศท่ีมีอย่ใู นดินเข้า ไปในรากและถ่ายเทอากาศจากรากออกมา ให้แก่ดิน ซ่งึ อวยั วะท่ีรากใช้แลกเปลี่ยนอากาศ รากชนิดต่าง ๆ ที่ได้กล่าวมาข้างต้นนนั้ เป็ นรากท่ี เกิดจากสว่ นล่างสดุ ของลาต้น ทงั้ สิน้ แต่ถ้ามะพร้าวมีอายมุ าก ๆ หรือดินมีนา้ ขงั อย่ตู ลอดเวลา ราก เหล่านีข้ องมะพร้าวจะ เน่าตายหรือสิน้ สภาพไป ดงั นนั้ มะพร้าวจะสร้างรากชดุ ใหม่ท่ีเรียกว่า ราก อากาศ (aerial roots) ขนึ ้ มาทดแทนรากชดุ เดิม ซ่งึ รากชดุ ใหม่นีเ้จริญออกมาจากโคนต้น เหนือผิวดนิ 2. ลาตน้ (Stem) มะพร้าวท่ีเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว ล้าต้นจะแบ่งเป็น 2 ส่วนที่ส้าคัญคือ ส่วนแรก เป็น สว่ นของล้าตน้ ท่อี ยูใ่ นดิน มีลกั ษณะทรงกรวยคว้่า พร้อมท้ังมีรากใหญ่เจริญออกมา โดยรอบ เรียกส่วน ของล้าต้นท่ีอยู่ในดินน้ีว่า bole ล้าต้นส่วนที่สองคือ ล้าต้นที่อยู่เหนือผิว ดินขึ้นมาท่ีเรียกว่า trunk ล้า ต้นมะพร้าวในส่วนนี้มีรูปร่างลักษณะเป็นกระบอกทรงสูง แต่ ตอนส่วนโคนต้นที่อยู่เหนือพื้นดิน เลก็ นอ้ ยมีลักษณะคล้ายตะโพก และมีขนาดใหญ่กว่า ส่วนล้าต้นที่อยู่สูงข้ึนไป ท่ีส่วนยอดสุดของล้าต้น มะพร้าวจะมีตาอยู่เพียงตาเดียวเท่านั้น ท่ี จะเจริญเติบโตเป็นล้าต้น ใบ และช่อดอก ถ้าหากตายอดนี้ ถกู ทา้ ลายหรือเนา่ ตายไป มะพรา้ วท้ังต้นกจ็ ะตายไปดว้ ย ซ่ึงตายอดที่มีความส้าคัญที่สุดของมะพร้าวน้ี เรียกว่า terminal bud ล้าต้นมะพร้าวส่วนที่อยู่เหนือดิน จะเร่ิมปรากฏรูปร่างเป็นทรงกระบอกเม่ือ มะพร้าวมีอายุได้ประมาณ 4-5 ปี โดยในช่วงแรกของการเจริญเติบโตทางล้าต้นน้ัน ตา ยอดจะ เจริญเติบโตทางด้านกว้างเพื่อเพ่ิมขนาดของล้าต้น จนกระท่ังการเพ่ิมขนาดล้าต้น เป็นไปตามลักษณะ ประจา้ พนั ธุ์แล้ว ตายอดก็จะเริ่มเจริญเตบิ โตทางด้านความสงู มี ลกั ษณะเป็ นรูปทรงกระบอกสงู ขนึ ้ ไปเรื่อย ๆ จนชว่ั ชีวิต ลาต้นมีสีเทาออ่ นและตงั้ ตรง แต่ มกั จะเอียงออกไปหาแสงสว่างหรือเอียงตาม ทิศทางลมที่พดั ประจามาสู่บริเวณนนั้ ได้ โดยท่ัวไปแล้ว ลาต้นมะพร้าวมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 25-30 เซนติเมตร บน ส่วนของลาต้นประกอบด้วย ข้อ ปล้อง และใบ เช่นเดียวกบั พืช ใบเลีย้ งเด่ียวทัว่ ๆ ไป แต่ ทว่าความห่างของปล้องจะอย่ใู กล้ชิดติดกันมาก ในปี แรก ๆ ของการ เจริญเติบโตจนกระท่ังมะพร้ าวตกผลนัน้ ลาต้นมะพร้ าวจะ เจริญเติบโตเพ่ิมความสูงขึน้ อย่าง รวดเร็ว หลงั จากนนั้ เจริญเติบโตจะช้าลง

ประมวลเนือ้ หา มะพร้าวนา้ หอม ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของมะพร้าว (ตอ่ ) และเม่ือผ่าล้าต้นมะพร้าวออกตามขวาง จะเห็นเน้ือเยื่อชั้นในหยาบเป็นเส้ียนแข็ง สี เหลอื งจาง และมีท่อน้าทอ่ อาหารกระจายอย่ทู ั่วไป โดยเฉพาะบรเิ วณใจกลางล้าต้นแล้วจะ มีท่ออาหาร อยู่มากกว่าบริเวณรอบนอก ส้าหรับเน้ือเย่ือช้ันนอกสุดของล้าต้นจะแข็งและ ค่อนข้างเปราะ ซึ่งเป็น เน้ือเย่ือพวก rhytidome และที่ผิวด้านนอกของล้าต้นมีรอยแตกต้ืน ๆ ขนาดเล็กอยู่ทั่วไป ท้าให้น้า และเช้ือโรคเข้าสูล่ ้าตน้ ตรงรอยแตกน้ีได้ 3. ใบ (Leaves) ใบมะพร้าวมีช่ือเรียกเฉพาะว่า fronds ซ่ึงเป็นใบประกอบแบบ pinnately compound leaf ทเ่ี กดิ จากตาส่วนยอดของตน้ และรวมกันอยู่เป็นกระจุก ปลายใบกระจาย ออกเป็น รัศมรี อบ ๆ ล้าตน้ โดยจ้านวนใบท่ีคงอยู่บนล้าต้นและอัตราการสร้างใบของ มะพร้าวในแต่ละปีน้ัน ใช้ เป็นเครื่องวัดความเจริญเติบโตของมะพร้าวได้เป็นอย่างดี กล่าวคือถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสม มะพร้าวท่ีมีการเจริญเติบโตดี จะสร้างจ้านวนใบได้ มาก และมีใบสดติดอยู่บนล้าต้นได้มากด้วย แต่ อย่างไรก็ตาม จ้านวนใบที่เกิดขึ้นบนล้าต้น จะผันแปรไปตามอายุของมะพร้าว อัตราการเกิดใบ อัตรา การร่วงของใบ ความอุดม สมบูรณ์ของดิน และสภาพลมฟูาอากาศต่าง ๆ ซึ่งมะพร้าวที่มีอายุ 1-2 ปี จะมีใบประมาณ 8-10 ใบ ต่อมาเม่ือมะพร้าวมีอายุ 3-4 ปี จะมีใบประมาณ 12-18 ใบ และเมื่อ มะพร้าวเริ่ม ออกดอกหรือมีอายุได้ประมาณ 6 ปี อัตราการสร้างใบในแต่ละปีจะสม่้าเสมอ จ้านวนใบ บน ล้าต้นจะมีประมาณ 21-34 ใบ โดยมีอัตราการสร้างใบในแต่ละปีประมาณ 12-18 ใบ แต่ เม่ือ มะพร้าวมีอายุมาก ๆ จ้านวนใบของมะพร้าวจะเร่ิมลดลง การเกิดของใบมะพร้าวน้ัน กลุ่มเซลล์ที่จะ เป็นใบ (leaf primodia) ใช้เวลาในการ เปล่ียนแปลงรูปร่างประมาณ 30 เดือน จึงจะโผล่ใบอ่อนเป็น ยอดแหลมคล้ายลูกศรขึ้นมา จากแผ่นใยของใบ (fibrous leaf sheath) ท่ีห่อหุ้มตายอดอยู่ ใบอ่อนน้ี จะยืดตัวอย่าง รวดเร็ว โดยใช้เวลาประมาณ 4-6 เดือน และหลังจากที่ใบมะพร้าวเจริญเติบโตเต็มที่ แล้ว ประมาณ 2 1/2 - 3 ปี จึงจะร่วงจากล้าต้น โดยใบท่ีแห้งจนเกือบร่วงจากล้าต้นจะท้ามุม 120- 170 องศากับล้าต้น ใบมะพร้าวแต่ละใบประกอบด้วย ก้านใบ (rachis or leaf stalk or petiole) และใบ ย่อย (leaflets) ความยาวก้านใบประมาณ 4.5-6.0 เมตร แต่ละใบจะมีใบย่อยประมาณ 200- 250 ใบ โดยใบยอ่ ยจะเรยี งตดิ กนั เปน็ แผงทงั้ สองข้างของกา้ นใบ

ประมวลเนือ้ หา มะพรา้ วนา้ หอม ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรข์ องมะพร้าว (ตอ่ ) ใบยอ่ ยทโี่ คนใบและ ปลายใบจะมีขนาดใบแคบและส้ันกว่าใบย่อยที่อยู่ตอนกลางใบ ใบ ย่อยที่โคนใบจะยาว ประมาณ 76 เซนติเมตร กว้าง 2.5 เซนติเมตร ส่วนใบย่อยที่ปลายใบจะยาว ประมาณ 45 เซนตเิ มตร กว้าง 1.3 เซนติเมตร ส้าหรบั ใบยอ่ ยท่ยี าวทส่ี ดุ ประมาณ 1 เมตร ซ่ึงจะเป็นใบ ย่อยท่ีอยู่ประมาณ 1/3 ของก้านใบท่ีนับจากโคนใบ โคนใบส่วนที่ยึดติดกับล้าต้นอย่าง เหนียวแน่น มี ขนาดใหญเ่ กอื บครึ่งรอยลา้ ตน้ และมีร่องเหนือโคนใบใหน้ ้าไหลส่ยู อดได้ ใบท่ีอยู่บนล้าต้นและรวมกันอยู่เป็นกระจุกน้ัน ใบแต่ละใบจะมีการเร่งตัวอย่างมี ระเบียบเพื่อให้ใบทุก ใบรับแสงแดดอย่างเต็มท่ี การเรียงตัวของใบบนล้าต้นมีลักษณะเป็น เกลียว ซ่ึงมีทั้งเกลียวเวียนซ้าย (ตามเขม็ นาฬกิ า) และเกลยี วเวยี นขวา (ทวนเข็มนาฬิกา) ถ้ามะพร้าวมีใบเรียงเป็นเกลียวเวียนซ้ายแล้ว ทะลายมะพร้าวจะพาดอยู่ทางขวาของก้าน ใบ ในทางตรงกันข้ามกัน ถ้ามะพร้าวมีใบเรียงเป็นเกลียว เวียนขวา ทะลายมะพร้าวจะพาด อยู่ทางซ้ายของก้านใบ ซึ่งการเรียงตัวของใบท้ัง 2 ลักษณะน้ี การ จัดเรยี งของใบบนล้าต้น (phyllotaxy) ประมาณ 2/5 กลา่ วคอื ใบแตล่ ะใบห่างกันท้ามุมประมาณ 137- 140 องศา ดังน้ันถ้าก้าหนดให้ใบยอดเป็นใบท่ี 1 ซ่ึงมีอายุอ่อนท่ีสุด แล้วนับใบท่ีแก่กว่าลงมาเร่ือย ๆ จะพบวา่ เม่ือใบเวียนครบ 2 รอบ ประมาณ 2/5 ของรอบล้าต้น ใบที่ 6 จะอยู่เกือบตรงกับ ใบที่ 1 โดย ท้ามุมห่างกันประมาณ 15-35 องศา และในท้านองเดียวกัน ใบที่ 7 จะอยู่เกือบ ตรงกันใบท่ี 2 ใบที่ 8 จะอยู่เกือบตรงกับใบที่ 3 เป็นเช่นน้ีเรื่อย ๆ ไป ดังภาพแสดงการ เรียงของใบมะพร้าว เมื่อมะพร้าว เจรญิ เตบิ โตเต็มทีจ่ ะมีใบประมาณ 30-40 ใบ ใบต่าง ๆ บนลา้ ตน้ มะพรา้ วนแี้ บง่ ออกได้เปน็ 4 ชุด คือ ชุดที่ 1 มีใบประมาณ 3-5 ใบ เป็นใบอ่อนที่อยู่ในตามะพร้าว อาจจะมีบางใบท่ีใบ ย่อย เร่ิมคลอ่ี อกบา้ งแล้ว ชุดที่ 2 มีใบประมาณ 10-12 ใบ เป็นใบท่ีใบย่อยคล่ีออกแล้ว และมีช่อดอกอายุ ต่าง ๆ กันอย่รู ะหวา่ งมมุ ใบ ชุดที่ 3 มใี บประมาณ 10-14 ใบ เปน็ ใบทีร่ องรบั ทะลายมะพร้าวทมี่ อี ายุต่าง ๆ กัน ชุดที่ 4 มีใบประมาณ 10-12 ใบ เป็นใบที่ได้เก็บเก่ียวทะลายมะพร้าวแล้ว ใบชุดน้ี ไม่มี ประโยชน์อะไร

ประมวลเนือ้ หา มะพรา้ วนา้ หอม ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรข์ องมะพร้าว (ตอ่ ) 4. ชอ่ ดอก (Inflorescence) มะพร้าวเป็นพืชใบเลี้ยงเด่ียว ช่อดอกจะมีดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่แยกกัน แต่ดอก ทั้งสองชนิดอยู่ในช่อดอกเดียวกัน ลักษณะประจ้าพันธ์ุของมะพร้าวจะเป็นสิ่ง ก้าหนดระยะเวลาการ ออกดอก มะพร้าวพันธต์ุ น้ สูงจะออกดอกเม่ืออายปุ ระมาณ 6 ปี แต่ มะพรา้ วพันธ์ุเต้ีย หรือพันธ์ุลูกผสม จะออกดอกเม่ืออายุประมาณ 4-5 ปี ชอ่ ดอกมะพร้าว เกิดอยู่ในมุมใบระหว่างส่วนของล้าต้นกับโคนใบ โดยมีแผ่นใยของโคนใบห่อหุ้มอยู่ มะพร้าวที่มุมใบทุกใบมีช่อดอกเกิดข้ึนอย่างสม้่าเสมอ เรียกว่า regular bearer ส่วน มะพร้าวที่มีช่อดอกเกิดไม่สม่้าเสมอ เรียกว่า irregular bearer ดังนั้นมะพร้าว พวก regular bearer จะมีจ้านวนช่อดอกเท่ากับจ้านวนใบ และมีช่อดอกปีละประมาณ 10-14 ช่อ ดอก มะพร้าวท่ีเร่ิมออกดอกคร้ังแรก หรือในกรณีของมะพร้าวท่ีถูกปาดช่อดอกท้าน้าตาลเป็น เวลานาน ๆ พบว่าในช่อดอกจะมีเฉพาะดอกตัวผู้เท่าน้ัน ช่อดอกมะพร้าวหรือ ท่ีเรียกว่าจ่ัน (spadix) หรือมีขนาดเล็กจะเจริญเติบโตออกมาก่อนแล้ว หยุดการเจริญเติบโต หลังจากน้ันกาบหุ้มอันในจะ เจริญเติบโตแทงทะลุกาบนอกออกมา และท้าหน้าที่หุ้มช่อดอกไว้ จั่นมะพร้าว เม่ือแรกเกิดมีสีเหลือง คอ่ นข้างแบน เมื่อจ่นั เจรญิ เติบโตเตม็ ทจ่ี ะมีลักษณะคลา้ ยลกู กระสวย (fusi-form) สเี ขยี วกลมยาวและ โค้งออก บางท้องถิ่นอาจเรียกว่า นกมะพร้าวน้ัน มีกาบ (spathe) จ้านวน 2 อันหุ้มช่อดอก โดยกาบ หุ้มอันนอกส่วนโคนเล็กเรียวแต่ส่วนปลายเล็กแหลม ความยาวของจั่นประมาณ 1-2 เมตร บริเวณท่ี ใหญ่สุดมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 15 เซนติเมตร ต่อมาทางด้านล่างของกาบหุ้มจะแตก ช่อดอก มะพร้าวเป็นแบบ panicle ประกอบด้วยแกนกลางช่อดอก (rachis) ซ่ึงมี แขนงช่อดอกแยกออกไป เปน็ ระแง้ (panicle) ติดกับช่อดอกเรียงเป็นเกลียว จ้านวน ประมาณ 40 อัน ในแต่ละระแง้มีดอกตัวผู้ อยูต่ อนปลายเป็นจ้านวนมาก และตอนโคนของ ระแงแ้ ตล่ ะอันจะมดี อกตัวเมยี อยปู่ ระมาณ 1-2 ดอก ดอกตัวผู้ (male flower or male spikelet) ในแต่ละจ่ัน จะมีเป็นจ้านวนมาก ต้ังแต่ 200-300 ดอก จนถงึ จ้านวนนับพัน ๆ ดอก โดยอาจจะเกิดเป็นดอกเด่ียวหรือเป็นกลุ่ม ๆ ละ 2-3 ดอก กไ็ ด้ ลกั ษณะของดอกคล้ายข้าวเปลือก เมล็ดใหญ่ ไม่มีก้านดอก ขนาดของ ดอกยาวประมาณ 0.7-1.3 เซนติเมตร กว้างประมาณ 0.5-0.7 เซนติเมตร มีกลีบดอก (perianth of floral leaves) สีเหลือง จ้านวน 6 กลีบ แยกออกเป็น 2 วง ๆ ละ 3 กลีบ โดย กลีบดอกวงนอกมีขนาดเล็กกว่า และเกิดสลับ กบั กลีบดอกวงใน เม่อื ดอกแกจ่ ะแตกออก ตามยาวของดอก

ประมวลเนือ้ หา มะพรา้ วน้าหอม ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรข์ องมะพร้าว (ต่อ) ภายในดอกมีเกสรตัวผู้ (stamen) จ้านวน 6 อัน และแยกออกเป็น 2 วง ๆ ละ 3 stamen ตรงกลางดอกซึ่งเป็นช้ันในสุดมีเกสรตัวเมียท่ีพัฒนาไม่สมบูรณ์และไม่ท้าหน้าที่แล้ว (rudimentary pistil) ซ่ึงปลายแยกเป็น 3 แฉก แต่ละแฉกมีต่อมน้าหวานเพื่อ ล่อแมลงให้ช่วยถ่ายเท ละอองเกสรตัวผู้ การบานของดอกตวั ผูน้ น้ั ดอกท่ีอย่ปู ลายระแงแ้ ละ ดอกท่ตี ิดอยู่บนฐานดอกตวั เมียจะ เร่ิมบานก่อน หลังจากน้ันดอกท่ีอยู่ถัดลงไปตามระแง้ ล่าง ๆ ก็จะค่อย ๆ บานทยอยไปเรื่อย ๆ แต่ละ ดอกจะบานอยู่ประมาณ 1 วัน ก็ร่วงหล่น ไป ระยะเวลาตั้งแต่ดอกตัวผู้ดอกแรกเร่ิมบานไปจนถึงดอก สดุ ท้ายร่วง (male phase) ใช้ เวลาประมาณ 20-24 วัน และละอองเกสรตัวผู้ท่ีแตกออกจากอับเกสร น้ัน จะมีละอองเกสร อยู่ 2 ชนิดคือ ละอองชนิดกลมที่ไม่เป็นหมัน กับละอองเกสรท่ีเหี่ยวท่ีเป็นหมัน ประมาณ 25 เปอรเ์ ซน็ ต์ ดอกตัวเมีย (female flowers or button) ดอกตัวเมียมีลักษณะกลมนูน มีกลีบ ดอก (perianth) ห่อหุ้มเป็นปลีคล้าย ๆ กับกะหล่้าปลีขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางดอกประมาณ เม่ือ ดอกตัวเมียได้รับการผสมจากละอองเกสรตัวผู้เรียบร้อยแล้ว ก็จะเจริญเติบโต เป็นผลต่อไป กลีบดอก ตัวเมียทั้ง 6 อัน ท่ีติดอยู่กับระแง้ก็จะขยายใหญ่ขึ้น และติดอยู่บน ฐานของผลต่อไปจนกระท่ังผลแก่ และแห้ง 5. ผล (Fruit) ผลมะพรา้ วจะมีขนาดโตเตม็ ท่ีหลังจากที่มีการผสมเกสรแล้ว 6 เดือน และ หลังจากนั้น อีก 6 เดือน ผลก็จะสุกแก่พร้อมท่ีจะเก็บเกี่ยว ลักษณะของผลเป็นแบบ fibrous drups ที่เรียกกันว่า nut ขนาดของผล สีของผล จะเปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะ ประจ้าพันธุ์ ผลของมะพร้าวหรือเปลือก มะพรา้ วนี้ประกอบดว้ ยชั้นตา่ ง ๆ 3 ชนั้ คือ 1. Exocarp คือ เปลือกนอกสุดของผล เป็นแผ่นของเส้นใยที่เหนียวและแข็ง เมื่อ ผลแก่จะมีสีเขียว แดง หรอื เหลืองตามลกั ษณะประจ้าพนั ธุ์ ส้าหรับผลท่ีแกแ่ ละแหง้ จัดจะมี สีน้าตาลเข้ม 2. Mesocarp เป็นช้ันที่อยู่ถัดจากเปลือกนอกเข้ามา เมื่อผลยังอ่อนมีลักษณะอ่อน นุ่มบางพันธ์ุอาจมี รสหวานรับประทานได้ แต่เม่ือผลแก่จะกลายเป็นชั้นของเส้นใยที่เรียกว่า กาบมะพร้าว (coir) ซ่ึงช้ันน้ี จะหนาประมาณ 4-8 เซนตเิ มตร

ประมวลเนือ้ หา มะพรา้ วนา้ หอม ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของมะพรา้ ว (ตอ่ ) 3. Endocarp เป็นชั้นในสุดท่ีมีกาบมะพร้าวหุ้มล้อมรอบ เม่ือผลแก่จะมีลักษณะ แข็ง สีน้าตาลด้า ท่ี เรียกวา่ กะลา (husk or shell) ซ่ึงผิวด้านนอกของกะลาจะมีสันนูน 3 สัน ที่กะลาด้านที่อยู่ทางข้ัวของ ผลจะมีตาอยู่ 3 ตา carpel ละ 1 ตา โดยมีตาแข็ง 2 ตา และตาน่ิมอันใหญ่ 1 ตา ตานิ่มน้ีจะอยู่บน ส่วนของกะลาอนั ใหญ่ท่ีสดุ เมื่อมะพร้าวงอกหนอ่ ออกมา ตน้ ออ่ นจะแทงทะลุผา่ นตานิ่มอันนี้ 6. เมลด็ (Seed) เมล็ดมะพร้าวมีขนาดใหญ่ ซ่ึงเมล็ดมะพร้าวน้ีก็คือเน้ือมะพร้าว (kernel or meat or endosperm) ท่ีอยู่ภายในกะลานั่นเอง ประกอบด้วย seed coat เป็นแผ่นบาง ๆ สีน้าตาลค่ันอยู่ ระหวา่ งกะลากบั เน้ือมะพร้าว ซ่ึง seed coat น้ีจะติดแน่นกับเน้ือมะพร้าว เนื้อมะพร้าวโดยท่ัวไปจะมี ความหนาเฉลี่ยประมาณ 1-2 เซนติเมตร สีขาวและมีน้ามันอยู่ มาก ส่วนของคัพภะ(embryo) จะอยู่ ใต้ตานิ่ม มีลักษณะคล้ายหัวเข็มหมุดสีเหลืองขนาด 0.5-1 เซนติเมตร ฝังอยู่ในเนื้อมะพร้าว ภายใน เมล็ดจะเป็นช่องว่างขนาดใหญ่ เม่ือผลอ่อน จะมีน้า (liquid endosperm) บรรจุอยู่เต็ม ซึ่งน้า มะพร้าวมีน้าตาลพวกกลูโคสและซูโคส เมื่อผลแก่จะมีสารที่ขับออกมาจากเซลล์ของ endosperm รวมอยู่ด้วย ท้าให้น้ามะพร้าวมี รสกร่อยลงไป ปริมาณน้าก็มีน้อยลง ดังนั้นเมื่อเขย่าผลมะพร้าวจะได้ ยินเสียงของน้า เมลด็ มะพร้าวไม่มีการพกั ตัว ดงั น้ันคพั ภะจะเจรญิ เติบโตได้ทันทีหลังจากที่ผลแก่ เต็มที่ แล้ว โดยคัพภะจะงอกหน่อออกมาทางตาน่ิมและโผล่ยอดอ่อนออกมาจากเปลือกของ มะพร้าวพร้อม ทั้งมีรากเกิดข้ึนที่หน่ออ่อนด้วย ซึ่งระยะเวลาท่ีคัพภะเจริญเติบโตเป็นหน่อ และมีรากน้ัน ใช้เวลา ประมาณ 4 เดือน เมื่อน้าผลมะพร้าวท่ีมีลักษณะดังกล่าวนี้มาผ่าออก ตามยาวของผลจะพบว่า ส่วน ของใบเลี้ยงที่หุ้มยอดอ่อน (plumule) และรากอ่อน ของคัพภะ เกิดการขยายตัวใหญ่ข้ึนภายใน ช่องว่างของเมล็ดที่เรียกว่า จาวมะพร้าว (haustorial organ or apple) ซึ่งผิวนอกมีสีเหลืองอ่อน แต่ เนอื้ เยื่อภายในมีลักษณะฟุาม ชุ่มน้าคล้าย ๆ กับฟองน้า จาวมะพร้าวนี้จะท้าหน้าท่ีล้าเลียงอาหารจาก endosperm ไป หล่อเลี้ยงคัพภะ รากอันแรกของมะพร้าวที่เจริญออกมาจากคัพภะนั้น เป็นรากท่ีมี อายุส้ัน ช่ัวระยะเวลาหนึ่ง หลังจากนั้นจะมีรากวิสามัญเจริญเติบโตออกมาจากส่วนข้อของล้าต้น แทน พร้อมท้ังมีรากฝอยแตกสาขาเจริญอยู่ภายในชั้น mesocarp และรากจะแทงทะลุ เปลือกของผล ออกมาหลงั จากท่หี น่อออ่ นโผล่ข้นึ มาแลว้

ประมวลเนือ้ หา มะพร้าวนา้ หอม ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของมะพรา้ ว (ตอ่ ) 7. พนั ธ์ุ (Varieties) ในการจ้าแนกพันธุ์มะพร้าวออกเป็นหมวดหมู่น้ัน ใช้การพิจารณาลักษณะต่าง ๆ ท่ี สา้ คญั 3 ประการคือ (1) การเจริญเตบิ โตของล้าต้น (2) อายทุ ่ีมะพร้าวเร่ิมตกผล และ (3) ลักษณะการ บานของดอก จากหลักเกณฑ์ท้ัง 3 ประการน้ี ท้าให้แบ่งมะพร้าว ออกเป็น 2 พันธ์ุ คือ (1) มะพร้าว พันธุ์ต้นเต้ีย (Dwarf type var.nana) และ (2) มะพร้าว พันธุ์ต้นสูง (Tall type var. typica) ซ่ึง มะพร้าวทงั้ 2 พันธุ์มีลักษณะทแี่ ตกตา่ งกันดงั น้ี คอื มะพร้าวพันธุ์ต้นเตี้ย หมายถึง มะพร้าวท่ีมีล้าต้นเล็ก ทางใบส้ัน ความสูงล้าต้น ไม่เกิน 12 เมตร เริ่ม ออกดอกและผลหลงั ปลกู ประมาณ 3-4 ปี มะพรา้ วพนั ธุน์ ้ีเป็นพวก ผสมตัวเอง ขนาดผลเล็ก มะพร้าวที่ จัดเป็นพวกพันธุ์เต้ีย มีช่ือเรียกตามภาษาท้องถิ่น ได้แก่ นกคุ่ม หมูสีเขียว หมูสีแดง หรือนาฬิเก มะพรา้ วเตีย้ มะพรา้ วน้าหอม เปน็ ตน้ สาหรับมะพร้าวพันธ์ุต้นสูง ส่วนมากเป็นมะพร้าวท่ีปลูกเพื่อขายผลแก่ หรือท้า มะพร้าวแห้ง มี ลกั ษณะลา้ ต้นสงู ใหญ่ อายุมากอาจถงึ 80-90 ปี ความสูงลา้ ตน้ ประมาณ นอกจากมะพร้าวท้ัง 2 พันธ์ุแล้ว ยังมีมะพร้าวอีกชนิดหน่ึงท่ีมีลักษณะของช่อ ดอก แบบ spike ไม่มีระแง้ ดอกตัวเมียมีจ้านวนมากติดอยู่กับก้านดอก และมีดอกตัวผู้อยู่ ตรงส่วนปลาย ของก้านดอก มะพร้าวชนิดน้ีเรียกชื่อเฉพาะว่า มะแพร้ว ส้าหรับปัจจุบันนี้ มะพร้าวที่ปลูกเป็นการค้า ในประเทศไทยให้ผลผลิตต้่า จึงได้ มีการปรับปรุงพันธ์ุให้ได้ผลผลิตสูงข้ึนที่ศูนย์วิจัยพืชสวนสวี จังหวัด ชุมพร ท้าให้ได้ มะพร้าวลูกผสมพันธุ์สวีลูกผสม 1 ซึ่งมะพร้าวพันธ์ุนี้มีผลผลิตสูงเน้ือมะพร้าวหนา เปอร์เซน็ ต์น้ามนั มาก และเปน็ พนั ธุท์ ่แี นะนา้ ใหก้ ับชาวสวนมะพรา้ ว

ประมวลเนือ้ หา มะพร้าวนา้ หอม สายพันธุ์ มะพร้าวเป็นพชื ผสมขา้ มพันธ์ุ แตล่ ะต้นจึงไม่เป็นพันธ์ุแท้ อาศัยหลักทางการผสมพนั ธ์ทุ ี่ เป็นไปโดยธรรมชาติ สามารถแบง่ มะพรา้ วเป็น 2 พันธ์ุคอื พันธ์ตุ น้ เตย้ี กับพนั ธตุ์ ้นสูง มะพรา้ วต้นเตี้ย มะพรา้ วประเภทน้มี กี ารผสมตวั เองค่อนข้างสูง จึงมกั ใหผ้ ลดกและไมค่ อ่ ยกลายพนั ธุ์ สว่ นใหญ่นิยมปลูก ไวเ้ พ่ือรบั ประทานผลอ่อนเพราะในขณะทผี่ ลยงั ไม่แก่ อายุประมาณ 4 เดอื น เนอ้ื มีลักษณะออ่ นน่มุ และนา้ มีรสหวาน บางพนั ธ์ุน้ามีคณุ สมบตั ิพิเศษ คอื มกี ลน่ิ หอม ลกั ษณะทวั่ ไป ล้าต้นเล็ก โคนตน้ ไม่มสี ะโพก ตน้ เตี้ย โตเตม็ ที่สูงประมาณ 12 เมตร ทางใบสั้น ถา้ มี การดแู ลปานกลางจะเริม่ ให้ผลเมื่ออายุ 3-4 ปี ให้ผลผลติ ประมาณ 35-40 ปี มะพรา้ วประเภทตน้ เตี้ยมีหลายพันธุ์ แตล่ ะพันธม์ุ ลี กั ษณะแตกตา่ งกนั เชน่ เปลือกสี เขียวเหลอื ง นวล(สงี าช้าง) นา้ ตาลแดง หรือสสี ม้ น้ามรี สหวาน มกี ล่ินหอม มะพรา้ วตน้ เตี้ยทกุ พันธจ์ุ ะ มผี ลขนาดเลก็ เมอื่ ผลแก่มีเนือ้ บางและนอ้ ย ซึง่ ได้แก่ พนั ธ์ุนกคมุ่ หมสู ีเขยี ว หมู่สีเหลืองหรือนาฬกิ า มะพรา้ วเตย้ี น้าหอม และมะพรา้ วไฟ มะพร้าวไฟ

ประมวลเนือ้ หา มะพรา้ วน้าหอม สายพนั ธ์ุ (ต่อ) มะพร้าวน้าหอมของไทย เป็นการกลายพันธุ์มาจากมะพร้าวพันธ์ุต้นเตี้ยสีเขียวท่ี เรียกว่า หมูสีเขียว เน่ืองจากได้มีการน้าไปทดลองปลูกที่ อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม แล้วมะพร้าวหมูสี เขียวน้กี ลายเป็นมะพร้าวน้าหอมข้นึ มาจงึ ท้าให้ไทยมีมะพร้าวสายพันธนุ์ า้ หอมน้เี กิดข้ึน ซึ่งเป็นสายพันธุ์ เดียวในโลก พน้ื ทีท่ เี่ หมาะในการปลกู มะพรา้ วนา้ หอม เป็นพ้ืนท่ีในภาคกลาง โดยเฉพาะในแถบ อ.นคร ชัยศรี จ.นครปฐม รวมท้ัง จ.สมุทรสาคร จ.ฉะเชิงเทรา จ.ราชบุรี จ.สมุทรสงคราม เนื่องจาก สภาพแวดลอ้ มมสี ่วนท้าให้คณุ ภาพของมะพรา้ วน้าหอมยังคงลักษณะของความหอมอยู่ เพราะถ้าน้าไป ปลูกในท่หี า่ งไกลออกไป ความหอมจะหายไปหรือจะมคี วามหอมนอ้ ยลง ปัจจุบันมะพร้าวน้าหอมก้าลังเป็นพืชเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่ง ท่ีนิยมใช้ในการบริโภคสด และส่งออกไปยังตลาดตา่ งประเทศ ตลอดจนใช้เป็นวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมเครื่องดมื่ มะพรา้ วต้นสูง ตามปกติมะพร้าวต้นสูงจะผสมข้ามพันธ์ุ คือ ในแต่ละช่อดอก (จ่ัน) หนึ่งๆ ดอกตัวผู้จะ ค่อยๆ ทยอยบาน และร่วงหล่นไปหมด ก่อนท่ีดอกตัวเมียในจ่ันนั้นจะเร่ิมบาน จึงไม่มีโอกาสผสม ตัวเอง มะพร้าว ประเภทน้เี ป็นมะพร้าวเศรษฐกิจส่วนใหญ่ปลูกเป็นสวนอาชีพ เพ่ือท้าน้าตาลมะพร้าว ใช้เนือ้ จากผลแกไ่ ปประกอบอาหาร หรือเพ่ือทา้ มะพร้าวแหง้ ใช้ในอุตสาหกรรมนา้ มนั มะพรา้ ว มะพรา้ วตน้ สูง พ้นื ท่ที ่ีเหมาะ คือภาคใต้ท้ัง 14 จังหวัด เพราะว่ามีปริมาณน้าฝนสูงกว่า 1,500 มลิ ลิเมตรต่อปี และมีการกระจายฝนที่ดี มีฤดูแล้งไม่เกิน 3 เดือน โดยจะมีการปลูกกันมากที่ จ. ประจวบคีรีขนั ธ์ ซ่งึ ถอื เปน็ จงั หวัดทีม่ ีพ้ืนที่ปลกู มะพรา้ วมากท่ีสดุ ในประเทศไทย คอื ประมาณ 450,000 ไร่ โดยเฉพาะในพ้ืนท่ี อ.ทับสะแก ซ่ึงได้มะพร้าวลูกใหญ่ ฉะน้ันเวลาประกาศขายมะพร้าว จึงใช้ มาตรฐานของมะพรา้ วที่ อ.ทับสะแก เปน็ เกณฑ์ เพื่อให้กระทรวงพาณิชย์ประกาศราคา

ประมวลเนือ้ หา มะพรา้ วนา้ หอม สายพนั ธ์ุ (ต่อ) ลักษณะทว่ั ไป ลา้ ต้นใหญ่ โคนต้นมีสะโพกใหญ่ ต้นสูง โตเต็มท่ีสูงประมาณ 18 เมตร ทางใบใหญ่และ ยาว ถ้ามีการดูแลปานกลางจะเรม่ิ ให้ผลเมอื่ อายุ 5-6 ปี อายยุ ืนใหผ้ ลผลิตนานประมาณ 80 ปี มะพร้าว ต้นสงู มผี ลโตเนื้อหนาปริมาณเนอื้ มาก มีลักษณะภายนอกหลายอย่างท่ีแตกต่างกัน เช่น ผลขนาดกลาง ขนาดใหญ่ รูปผลกลมผลรี บางพันธ์ุเปลือกมีลักษณะพิเศษ คือ ในขณะท่ีผลยังไม่แก่ เปลือกตอนส่วน หัวจะมีรสหวานใช้รับประทานได้ จึงมีชื่อเรียกต่างๆ กัน ได้แก่ พันธ์ุกะโหลก มะพร้าวใหญ่ มะพร้าว กลาง ปากจก ทะลายร้อย เปลอื กหวานและมะแพรว้

ประมวลเนือ้ หา มะพร้าวน้าหอม การคัดเลอื ก เน่ืองจากมะพร้าวเป็นพืชยืนต้นท่ีมีอายุยาวนานมาก หลังจากปลูกแล้ว 5-6 ปี จึงจะ ให้ผล การสร้างสวนมะพร้าวต้องลงทุนพอสมควร และใช้เวลานาน จึงควรทราบสภาพแวดล้อมที่ มะพรา้ วชอบ ลกั ษณะวิธีการคดั เลอื กพนั ธุ์การเพาะช้า การคัดเลอื กหน่อ การปลูก ตลอดจนการปฏิบัติ ดูแลรักษาเพอ่ื ให้ได้ผลตอบแทนจากสวนมะพร้าวอย่างคุ้มค่า หลกั ทวั่ ไปในการคดั เลอื กที่ปลกู มะพรา้ ว ควรคานึงถงึ สิ่งต่อไปนี้ ๑. ดนิ เป็นดนิ รว่ น หรือร่วนปนทราย อมุ้ น้าไดด้ ี ถา้ เป็นดนิ เหนยี วต้องมีการระบายนา้ ดี สภาพดนิ เปน็ กลาง หรือเปน็ กรดเพยี งเล็กน้อย pH ระหว่าง 6-7 หน้าดินมีความลึกไม่น้อยกว่า 1 เมตร ระดับน้าใต้ดนิ ไมค่ วรตน้ื กวา่ 2 เมตร ๒. ปรมิ าณน้า ควรมีฝนตกไม่นอ้ ยกวา่ 1,300 มม./ปี และตกกระจายสม้่าเสมอแทบทุก เดือน ถ้ามีฝนตกน้อยกว่า 50 มม./เดือน เป็นเวลานานติดต่อกันเกินกว่า 3 เดือน ผลผลิตจะลดลง หรือไม่ไห้ผลเลย ๓. อุณหภูมิ ถ้ามีอุณหภูมิต้่ากว่า 15 องศาเซลเซียส ติดต่อกันหลายๆ วัน มะพร้าวจะ ให้ผลน้อย อุณหภมู ทิ เี่ หมาะสมคอื ระหวา่ ง 27 + 7 องศาเซลเซยี ส ๔. ระดับความสูงของพื้นที่ ถ้าปลูกมะพร้าวในท่ีท่ีสูงกว่าระดับน้าทะเลมากๆ มะพร้าว จะไม่คอ่ ยออกผล การทา้ สวนเพ่อื การคา้ ควรเป็นที่สูงกวา่ ระดับน้าทะเลไมเ่ กนิ 100 เมตร ๕. แสงแดด มะพร้าวต้องการแสงแดดประมาณวันละ 7 ช่ัวโมง ถ้าปลูกมะพร้าวในท่ี แสงแดดส่องไม่ถึง ต้นจะสูงเร็ว และไม่ค่อยออกผลเน้ือในผลก็จะบาง จึงไม่ควรปลูกมะพร้าวในที่ร่ม หรือปลกู ถีเ่ กินไป

ประมวลเนือ้ หา มะพรา้ วน้าหอม การคดั เลอื ก (ตอ่ ) การคัดเลือกมะพรา้ วเพ่ือใช้ทาพันธุ์ เพื่อให้ได้ต้นมะพร้าวที่มีลักษณะดีตามท่ีต้องการ จ้าเป็นจะต้องคัดเลือกที่จะน้าไป เพาะ และเมอื่ เพาะงอกเปน็ หน่อแล้วก็จะตอ้ งคดั เลอื กหนอ่ พนั ธ์ดุ ว้ ย โดยมขี ้นั ตอนการคัดเลือกดงั น้ี ๑. การคดั เลือกสวนพันธุ์ ๒. เป็นสวนที่ปลกู มะพร้าวพันธเุ์ ดียวกนั ๓. ขนาดสวนไมน่ อ้ ยกวา่ 10 ไร่ ๔. อยใู่ นแหลง่ ทม่ี กี ารปลูกมะพรา้ วเปน็ อาชีพ ๕. ตน้ มะพรา้ วมขี นาดอายุไล่เล่ียกัน และควรจะมีอายไุ ม่ต่า้ กวา่ 15 ปี ๖. เปน็ สวนท่ีมีการดแู ลปานกลาง และมีตน้ ที่มีผลดกอยูเ่ ปน็ สว่ นมาก ๗. ไมม่ โี รคหรอื แมลงระบาด ในกรณีที่อยู่ไกลแหล่งปลูกมะพร้าวเป็นอาชีพ ไม่มีสวนขนาดใหญ่อาจคัดเลือกเพียง บางหลักการเท่าท่จี ะท้าได้ หรอื คัดเลอื กเป็นตน้ ๆ ก็ได้

ประมวลเนือ้ หา มะพรา้ วนา้ หอม การคัดเลือก (ต่อ) การคดั เลอื กตน้ พันธุ์ ๑. ควรเปน็ ตน้ ทอ่ี ย่ใู นบริเวณกลางๆ สวน ใหผ้ ลดกไม่นอ้ ยกวา่ 60 ผล/ต้น/ปี ๒. ควรมกี ารจดบันทกึ การใหผ้ ลของต้นท่ีคิดว่าจะใช้เป็นต้นพันธ์ุก่อนสัก 3-4 ปี เพื่อให้ แน่ใจว่าให้ผลดกจริง โดยทาสไี ว้ที่ตน้ เป็นทสี่ งั เกตหรอื อาจท้าเคร่ืองหมายอย่างอ่นื กไ็ ด้ ๓. เป็นต้นที่ไม่อยู่ใกล้บ้าน คอกสัตว์หรอื ในทีท่ ดี ีกว่าต้นอ่ืน ๔. ล้า ต้นตรง แข็งแรง อวบ ปล้องถ่ี พุ่มใบเป็นรูปวงกลม หรือคร่ึงวงกลม มีจ้านวน ทาง (ใบ) มากโคนทางสั้นและใหญ่ มีจั่นอย่างน้อย10 จั่น กระจายอยู่รอบต้น และทุกจ่ันมีผลขนาด ตา่ งๆ กนั ติดอยู่ทะลาย ควรน่งั ทางกา้ นทะลายส้ันและใหญ่ ๕.เป็นต้นท่ีมีอายุไม่น้อยกว่า 15 ปี ให้ผลมีลักษณะกลมขนาดใหญ่ เส้นรอบของกะลา ไม่ต่า้ กวา่ 45 ซม. เนื้อหนา เปลือกไม่หนาหรอื บางเกินไป

ประมวลเนือ้ หา มะพรา้ วนา้ หอม การคัดเลือก (ตอ่ ) การคัดเลอื กผลทาพนั ธุ์ ผลมะพร้าวแม้จะเก็บจากต้นแม่พันธ์ุที่ได้รับการคัดเลือกแล้วก็ตาม อาจมีบางผลท่ีมี ลักษณะไม่เหมาะจะน้า ไปเพาะท้าพันธุ์ เช่น ผลแตกระหว่างเก็บเกี่ยว มีโรคแมลงท้า ลาย จึงควร คดั เลอื กผลก่อนนา้ ไปเพาะ ซงึ่ มลี กั ษณะการพิจารณาดงั นี้ ๑. เป็นผลทีไ่ ดร้ บั ความกระทบกระเทือนน้อย จึงควรเก็บโดยใช้เชือกโยงลงมา หรือโยน ลงน้า ๒. ผลโตได้ขนาด รูปผลคอ่ นข้างกลม หรือมีลักษณะตรงตามพนั ธ์ุ ๓. ผลแก่จัด เปลือกมสี ีกา้ มปู หรอื สีน้าตาล มลี กั ษณะคลอนน้า ๔. ไม่มีโรคแมลงท้าลาย

ประมวลเนือ้ หา มะพรา้ วนา้ หอม การปลูก การเตรียมผลพันธุก์ อ่ นเพาะ ๑. ปาดเปลือกทางด้านหัวออกขนาดประมาณเท่าผลส้มเขียวหวานเพ่ือให้น้าซึมเข้าได้ สะดวกในระหวา่ งเพาะ และชว่ ยให้หน่องอกแทงออกมาได้ง่าย ๒. ถ้าเป็นผลท่ียังไม่แก่จัด เปลือกมีสีเขียวปนเหลือง ให้น้าไปผ่ึงไว้ในที่ร่มโดยวางเรียง ใหร้ อยปาดอย่ดู ้านบน ผ่งึ ไวป้ ระมาณ 15-30 วนั จนเปลอื กเปล่ยี นเปน็ สนี ้าตาล ๓. เตรยี มผลพนั ธุ์ไว้ประมาณ 2 เท่าของจ้านวนหน่อที่ต้องการ เพราะในขณะเพาะจะ มีพันธุท์ ไี่ ม่งอกและเมอื่ งอกแลว้ ก็ตอ้ งคัดหน่อทีไ่ มแ่ ข็งแรงออก การเตรียมแปลงเพาะ ๑. แปลงเพาะควรอยกู่ ลางแจง้ ใกล้แหล่งน้า และมกี ารระบายนา้ ดี ๒. ไม่เป็นแหลง่ ทีเ่ คยมีโรคและแมลงระบาดมาก่อน ๓.พื้นแปลงควรเปน็ ทรายหยาบ เพ่ือสะดวกในการเพาะและยา้ ยกลา้ ๔. ปราบวชั พืชออกใหห้ มด ถา้ พ้ืนดินเป็นดนิ แขง็ ควรไถดนิ ลึก 15-20 ซม. ๕. ถ้าแปลงกว้างมาก ควรแบ่งเป็นแปลงย่อย ขนาดกว้างประมาณ 2.50 เมตร ยาว ตามความต้องการ เว้นทางเดินระหว่างแปลง 50 ซม. ๖. ในแต่ละแปลงย่อยขุดเป็นร่องลึกประมาณ 10 ซม. กว้างเท่าขนาดของผลมะพร้าว ยาวตลอดพน้ื ท่แี ต่ละแปลงจะเพาะมะพร้าวได้ 10 แถว

ประมวลเนือ้ หา มะพร้าวน้าหอม การปลูก (ตอ่ ) วธิ กี ารเพาะ ๑. วางผลมะพร้าวตามแนวนอนลงในร่องที่เตรียมไว้ หันด้านที่ปาดขึ้นข้างบนเรียงไป ตามทิศ ทางเดียวกันให้แตล่ ะผลติดกนั หรือหา่ งกนั ไมเ่ กิน 5 ซม. ๒. กลบทรายหรือดนิ ให้สว่ นของผลมะพร้าวโผล่พน้ ผวิ ดินประมาณ 1/3 ของผล ๓. ถา้ ฝนไม่ตก รดน้าให้ช่มุ อยู่เสมอ โดยสังเกตจากความช้นื ตรงบริเวณรอยปาด ๔. คอยดูแลก้าจัดวัชพชื โรค-แมลงตา่ งๆ ๕. หลังจากเพาะแลว้ ประมาณ 2-3 สปั ดาห์หน่อจะเริ่มงอก ในระยะแรกๆ จะงอกน้อย เมือ่ เลย 4 สัปดาหไ์ ปแล้วหน่อจะงอกมากข้ึนมะพร้าวท่ีไม่งอกภายใน 10 สัปดาห์ หรือ 70 วัน ควรคัด ทิ้ง หรือน้าไปท้ามะพร้าวแห้ง เพราะถ้าปล่อยท้ิงไว้ให้งอกก็จะได้หน่อท่ีไม่ดี ตามปกติมะพร้าวจะงอก ประมาณรอ้ ยละ 60 ภายใน 10 สัปดาห์ เม่ือหน่อยาวประมาณ 1-3 นิ้ว ควรย้ายลงแปลงช้า ในการค้า จะไมย่ า้ ยลงแปลงช้าทีละนอ้ ย แต่จะรอยา้ ยพร้อมกนั ในคราวเดยี ว ในกรณีท่ีท้าการเพาะมะพร้าวเป็นจ้านวนไม่มากนักอาจท้า การเพาะโดยไม่ต้องน้าลง แปลงช้าก็ได้ แต่ในการเพาะจะต้องขยายระยะให้กว้างขึ้น โดยวางผลห่างกันประมาณ 45-50 ซม. เพอ่ื ใหห้ นอ่ เจรญิ ไดด้ ี จะไดห้ น่อท่ีอว้ นและแข็งแรง เมือ่ หน่อมใี บประมาณ 4-6 ใบ ก็คัดไปปลูกได้ วธิ กี ารชา ๑. เตรยี มแปลงช้า เช่นเดียวกบั แปลงเพาะ ๒. แปลงช้าควรอยู่ใกล้กบั แปลงเพาะ เพอ่ื สะดวกในการขนย้ายหนอ่ ถ้าดินไม่ดีให้ใส่ปุ๋ย คอกไรล่ ะ 24 ป๊ีบ (240 กก.) หว่านใหท้ ว่ั แปลงแลว้ ไถกลบ ๓. ขุดหลุมขนาดเท่าผลมะพร้าว ระยะระหว่างหลุม 60 ซม. อาจวางผังการท้าแบบ สามเหล่ยี มดา้ นเท่า หรอื แบบส่เี หลีย่ มจตั รุ ัสกไ็ ด้ ๔. ย้ายหน่อมะพรา้ วจากแปลงเพาะลงช้า ในหลุมให้หน่อตั้งตรง กลบดินหนาประมาณ 2/3 ของผล เพื่อไมใ่ หด้ นิ ทับสว่ นคอของหนอ่

ประมวลเนือ้ หา มะพร้าวนา้ หอม การปลกู (ต่อ) ระยะปลูก ระยะปลกู เปน็ ปัจจยั ส้าคัญอย่างหน่ึงทมี่ ผี ลต่อจ้านวนผลผลิตทจ่ี ะไดร้ บั ถา้ ปลูกถี่เกินไป ต้นมะพร้าวจะบังร่มกัน ไม่สามารถจะปรุงอาหารได้อย่างเต็มที่ ต้นสูงชะลูด ออกผลไม่ดก แต่ถ้าปลูก ห่างกนั มาก จะได้จ้านวนต้นน้อย ผลผลติ ก็นอ้ ย ระยะปลกู ทีเ่ หมาะสมกับแบบส่ีเหล่ียมจัตุรัสและแบบ สามเหลย่ี มดา้ นเทา่ ของมะพร้าวพนั ธตุ์ า่ งๆ มดี ังนี้ มะพร้าวต้นเต้ียควรปลูกไร่ละประมาณ 40-45 ต้น ส้าหรับพื้นท่ีลุ่ม หรือดินเป็นดิน เหนียว การระบายน้าไม่ดี ควรยกร่องให้สูงกว่าระดับน้าท่วมสูงสุดไม่น้อยกว่า 50 ซม. ขุดร่องตาม ความยาวของพ้ืนที่ สันร่องกว้าง 5 เมตร ส้าหรับพันธุ์ต้นเต้ีย 8 เมตร ส้าหรับพันธุ์ต้นสูง คูร่องกว้าง 2 เมตร

ประมวลเนอ้ื หา มะพร้าวน้าหอม การปลกู (ตอ่ ) การเตรียมหลุมปลูก ควรเตรียมหลุมในฤดูแล้ง ขุดหลุมขนาด 50 X 50 X 50 ซม. แยกดินส่วนบนไว้ ตา่ งหาก ตากหลมุ อย่างน้อย 1 สัปดาห์ ถ้ามีปลวกให้เผาเศษไม้ใบไม้แห้งหรือขยะในหลุม อาจจะใช้ยา กนั ปลวกโรยกน้ หลมุ แทนการเผากไ็ ด้ ถา้ ปลกู มะพรา้ วในพน้ื ที่แห้งแล้ง หรือดนิ ทปี่ ลกู เปน็ ทรายจัดให้ใช้ กาบมะพร้าวรองก้นหลุม โดยวางกาบมะพร้าวให้ด้านที่มีเส้นใยหงายข้ึนด้านบนวางซ้อนกัน 2-3 ช้ัน เพ่ือช่วยเกบ็ ความช้นื ในดนิ ถ้าไม่มีกาบมะพร้าวจะใช้วัสดุอื่นๆ เช่น ฟางข้าว ใบไม้แห้ง หญ้าแห้ง ฯลฯ แทนก็ได้ใส่ดินบนที่ผสมปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักในอัตรา 1:7 รองก้นหลุม ส่วนดินล่างผสมด้วยปุ๋ยร็อค ฟอสเฟตหลุมละครึ่งกิโลกรัม (ประมาณ 2 กระป๋องนม)และใส่ฟูราดาน 1 กระป๋องนม เพ่ือปูองกัน ปลวกกนิ ผลพนั ธุ์มะพร้าว เอาดินใส่ลงในหลุมใหเ้ ต็ม ทิ้งไวจ้ นถงึ ฤดปู ลกู วธิ กี ารปลูก ๑. ควรปลูกในฤดฝู น ๒. ขุดดนิ บนหลมุ ปลกู ทเี่ ตรียมไว้ ใหเ้ ปน็ หลุมเลก็ ๆ ขนาดเท่าผลมะพรา้ ว ๓. เอาหน่อที่คัดเลือกแล้วมาตัดรากที่หักช้าออก ใช้ปูนขาวหรือยากันราทาตรงรอยตัด วางหนอ่ ลงในหลมุ ให้หน่อตง้ั ตรง ตดั หนอ่ ไปในทิศทางเดียวกัน ๔. เอาดินกลบอย่างนอ้ ย 2/3 ของผล เพอ่ื ใหพ้ อดมี ดิ ผลมะพรา้ ว แต่ระวังอย่าให้ดินทับ โคนหน่อ เพราะจะท้าให้หน่อถูกรัด ต้นจะโตช้า แต่เม่ือมะพร้าวโตขึ้นก็ควรจะกลบดินให้สูงข้ึนเพ่ือ ปอู งกันโคนลอย ๕. เอาไม้ปักเป็นหลักผูกยึดกับต้นให้แน่น เพ่ือปูองกันลมโยก เหยียบดินรอบโคนหน่อ ใหแ้ นน่ ๖. ควรท้ารม่ ให้ในระยะแรก เพอ่ื ลดอตั ราการตายเน่ืองจากถกู แดดจดั เกนิ ไป ๗. ในบรเิ วณทปี่ ลูกถา้ มีสตั วเ์ ลย้ี ง ใหท้ า้ ร้ัวปูองกนั สตั ว์มาทา้ ลาย

ประมวลเน้ือหา มะพรา้ วนา้ หอม การปลกู (ต่อ) การใสป่ ยุ๋ แมว้ า่ มะพรา้ วเป็นพืชที่สามารถปลูกได้ในสภาพดินแทบทุกชนิด แต่ปริมาณผลผลิตน้ัน ข้ึนอยู่กับปริมาณธาตุอาหารในดิน และสภาพความอุดมสมบูรณ์ของดิน สภาพความเป็นกรดเห็นด่าง ของดินทเี่ หมาะแก่การปลูกมะพร้าวควรอย่ใู นชว่ งระหว่าง pH 6-7 การใส่ปุ๋ยให้พอเหมาะแก่ความต้อง ของมะพรา้ วนน้ั ควรได้น้า ตัวอย่างดินไปเขา้ วิเคราะหใ์ นหอ้ งปฏิบตั ิการด้วย พบว่าในปีหนึ่งๆ มะพร้าว จะดูดธาตอุ าหารไปใช้ ดังนี้ ไนโตรเจน 9.44-14.56 กก.ต่อไร่ ฟอสฟอรสั 4.32-6.40 กก.ตอ่ ไร่ โปแตสเซยี ม 13.60-20.96 กก.ต่อไร่ ในบรรดาธาตุดังกล่าว โปแตสเซียมมะพร้าวจะดูดไปใช้มากที่สุด ประมาณ 62 % ของ โปแตสเซยี มถูกนา้ ไปใชใ้ นการเพิ่มจ้านวนผลผลติ ของมะพร้าว มะพร้าวอายุ 1 ปี ใส่ปยุ๋ เคมีสูตร 13-13-21หรือ12-12-17-2 1 กก./ต้น/ปี แมกนีเซียม ซลั เฟต 200 กรัม/ตน้ /ปี มะพร้าวอายุ 2 ปี ใสป่ ุย๋ เคมีสูตร 13-13-21หรือ12-12-17-2 3 กก./ต้น/ปี แมกนีเซียม ซัลเฟต 300 กรัม/ตน้ /ปี โดโลไมท์ 1 กก./ต้น/ปี มะพรา้ วอายุ 3 ปี ใส่ปุย๋ เคมสี ูตร 13-13-21หรือ12-12-17-2 3 กก./ต้น/ปี แมกนีเซียม ซัลเฟต 400 กรัม/ต้น/ปี โดโลไมท์ 2 กก./ต้น/ปี มะพร้าวอายุ 4 ปีขึ้นไปใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 13-13-21หรือ12-12-17-2 4 กก./ต้น/ปี แมกนเี ซยี มซลั เฟต 500 กรัม/ต้น/ปี โดโลไมท์ 2 กก./ต้น/ปี คาแนะนา : ควรใส่กลเี ซอไรด์หรอื เกลอื แกงใหม้ ะพร้าว 1 กก./ต้น/ปี เพ่ือเพิ่มธาตุคลอ ไรด์ ช่วยใหม้ ะพร้าวตดิ ผลและมเี นือ้ หนา ทั้งนี้การใส่ปุ๋ยให้กับมะพร้าวข้ึนอยู่กับผลการวิเคราะห์ดินด้วยจึงจะท้าให้การใช้ปุ๋ยได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

ประมวลเนื้อหา มะพรา้ วน้าหอม การปลกู (ตอ่ ) ชนิดของปุ๋ยท่ีใช้ได้ผลและเพ่ิมผลผลิตของมะพร้าวได้สูงสุด คือ ปุ๋ยเกรด 13-13-21 และปุ๋ยเกรด 12-12-17-2 แมกนีเซียมซัลเฟต และปุ๋ยหินปูนโดโลไมต์ ในการใช้ปุ๋ยแมกนีเซียมซัลเฟต หรือ โดโลไมต์ นั้นให้พิจารณาถึงสภาพความเป็นกรดเห็นด่างของดินด้วย กล่าวคือ ในสภาพดินท่ีมี แนวโน้มการเป็นกรดเห็นด่างสูงให้ใช้ปุ๋ยแมกนีเซียมซัลเฟต และในสภาพดินท่ีมีความเป็นกรดเป็นด่าง ต่้าให้ใช้ปุ๋ยโดโลไมต์ในการใช้ปุ๋ยโดโลไมต์น้ัน ควรให้ก่อนหรือหลังใส่ปุ๋ยเคมี ประมาณ 1 เดือน เพื่อ ปูองกันการดูดตรึงธาตุอาหารไว้ในดินท้า ให้มะพร้าวไม่สามารถน้าไปใช้ประโยชน์ได้ การใส่ปุ๋ยควรใส่ ให้สมั พันธ์กบั อายมุ ะพร้าวดังตารางขา้ งล่างน้ี วิธกี ารใส่ปยุ๋ ฤดูท่ีเหมาะที่สุดที่จะใส่ปุ๋ยให้มะพร้าว คือ ในช่วงต้นและปลายฤดูฝน ในช่วงนี้มี ความชื้นเพียงพอที่จะช่วยละลายปุ๋ย และรากของมะพร้าวก้าลังเจริญเติบโตเต็มท่ีสามารถดูดปุ๋ยไป ใชไ้ ดด้ ี การหวา่ นปุ๋ยจากการศึกษาพบวา่ รากมะพร้าวที่สามารถดดู ปุย๋ ได้ดีอยู่บริเวณติดกับล้า ต้นและอยู่ห่างจากล้า ต้นภายในรัศมี 2 เมตร ดังนั้นการใส่ปุ๋ยจึงควรโรยหรือหว่านปุ๋ยตั้งแต่โคนต้นไป จนถึง 2 เมตร โดยรอบแต่ถ้าเป็นมะพร้าวที่ยังเล็กอยู่ควรหว่านปุ๋ยใกล้โคนมะพร้าวเพราะรากยังน้อย หลังจากหว่านปุ๋ยแล้วควรพรวนดินตื้นๆ ลึกประมาณ 10-15 ซม. เพ่ือให้ปุ๋ยได้คลุกเคล้ากับดินและ ปอู งกนั การชะล้างนนั่ เอง

ประมวลเนือ้ หา มะพรา้ วนา้ หอม การปลูก (ตอ่ ) การเพิ่มปุย๋ อินทรียแ์ ละปุย๋ พืชสด ประเทศที่อยู่ในเขตร้อนเช่นประเทศไทย อินทรีย์วัตถุในดินส่วนมากมีน้อยและมีการ สลายตัวเร็ว เพราะมีฝนตกชุกและอุณหภูมิสูงพวกแบคทีเรียในดินจะเจริญเติบโตได้ดีคอยย่อยและ ทา้ ลายพวกอนิ ทรียว์ ัตถไุ ดอ้ ย่างรวดเร็ว อินทรยี วัตถุจะเป็นตัวช่วยให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์และสภาพ ทางฟิสิกส์ของดินดีข้ึน ท้า ให้ดินร่วนซุย การระบายน้า ระบายอากาศได้ดี รากของมะพร้าวสามารถ ชอนไชไปหาอาหารได้อย่างกว้างขวาง การเพิ่มอินทรีย์วัตถุให้แก่ดินสามารถกระท้าได้หลายแบบ เช่น การใส่ปุย๋ คอก ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยพืชสด เช่น ปอเทือง แล้วท้าการไถกลบ หรือใช้วิธีการเล้ียงสัตว์ในสวน มะพร้าวกไ็ ด้ การกาจัดวชั พชื ๑. ใชแ้ รงคน โดยการถากดว้ ยจอบ หรอื ดายดว้ ยมีด ๒. ใช้เครื่องทุ่นแรง เช่น รถไถหญ้า รถไถนาขนาดเล็ก ปลูกพืชคลุม ใช้พืชตระกูลถั่ว เช่น คาโลโปโกเนียม เพอรร์ าเรยี หรือ เซน็ โตรมา โดยการปลูกใหห้ า่ งโคนตน้ เกินรศั มี 1 วา ๓. ใช้สารเคมี เช่น ไกลโฟเซ็ท(ช่ือการค้าว่า ราวด์-อัพ หรือ คาวบอย) หรือดาลาพอน (ชื่อการค้าว่า คาลาล่า หรือ ดาวพอน ฯลฯ) ก้าจัดวัชพืชข้ามปี เช่น หญ้าคา ใช้พาราควอต ก้าจัด วัชพืชล้มลุกต่างๆ เช่น ตีนนก ตีนกา สาบแร้ง สาบกา (อัตราและวิธีใช้ตามฉลากยา เวลาใช้ต้องระวัง อย่าให้ละอองสารเคมีถูกตน้ หรือใบมะพรา้ ว)

ประมวลเนอื้ หา มะพรา้ วนา้ หอม ศตั รูที่สาคญั ของมะพรา้ ว ด้วงแรด เป็นแมลงปีกแข็งตัวใหญ่มีสีน้าตาลเข้ม บนหัวมีนอ เหมือนแรด ตัวแก่กัดกินยอดและ ใบออ่ นท้าใหด้ ว้ งงวงมาวางไข่ สามารถจะปูองกันและก้าจัดได้ทั้งในระยะที่เป็นตัวหนอนและตัวเต็มวัย โดยปฏบิ ตั ิดังนี้ ๑. รักษาสวนให้สะอาด เป็นการท้าลายแหล่งวางไข่ เพราะด้วงแรดชอบวางไข่ในกอง ขยะ กองปุ๋ยหมกั กองเศษไม้ ตอไมผ้ ุ ฯลฯ ๒. ถ้าเห็นใบยอดขาดเป็นริ้วๆ แสดงว่าถูกด้วงแรดกัดให้ใช้ตะขอหรือเหล็กแหลมแทง ดึงเอาตัวออกมาท้าลาย ๓. ใช้สารเคมี เชน่ ๓.๑ ออลดรนิ ชนิดน้า 5 ชอ้ นแกง ผสมนา้ 1 ปบ๊ี ราดทค่ี อมะพรา้ วทกุ 2 เดือน ๓.๒ อโซดรนิ 3 ช้อนแกง ผสมนา้ 1 ปบี๊ ราดที่คอมะพร้าวเดือนละคร้ัง ๓.๓ ออลดริน ชนิดผงคลุกกับข้ีเล่ือยในอัตรา 1 ช้อนแกง ต่อข้ีเลื่อย 8 กระป๋องนม โรยทีค่ อมะพรา้ วต้นละ 1 กระปอ๋ งนมทุก 2 เดือน ๓.๔ สา้ หรบั ตน้ มะพร้าวทม่ี ีลา้ ต้นสงู มาก ใชพ้ วกนูวาครอนหรอื อโซดรินฉีดเข้าล้าต้น โดยเอาสวา่ นเจาะล้าต้นให้เป็นรูจ้านวน 2 รูอยู่ตรงข้ามกัน ใช้เข็มฉีดยาดูดสารเคมี 10 ซีซี ฉีดใส่ในรูที่ เจาะไว้ข้างละ 5 ซีซี จะมีฤทธิ์อยู่นานประมาณ 30 วัน วิธีนี้ห้ามเก็บผลมะพร้าวก่อนครบก้าหนด หลังจากฉดี สารเคมีแลว้ อย่างนอ้ ย 30 วนั

ประมวลเนอื้ หา มะพร้าวน้าหอม ศตั รูทีส่ าคญั ของมะพรา้ ว (ตอ่ ) ๔. ใช้วิธชี วี ิอนิ ทรยี โ์ ดยธรรมชาตจิ ะมีเชื้อราและเช้อื ไวรสั ที่สามารถท้าลายด้วงแรดได้ท้ัง ท่เี ปน็ ตวั หนอนและตวั เต็มวยั คือ ๔.๑ เชื้อราเขียว Metarhizium anisophiae จะเข้าท้าลายตัวหนอนมองเห็นเป็น เส้นใยสีขาวจับกันเป็นก้อนอยู่ท่ีผิวภายนอกตัวหนอนต่อไปจะเปล่ียนเป็นสีเขียว ถ้าตัวหนอนของด้วง แรดมีลักษณะดังกล่าวควรนา้ ไปใส่ให้กระจายตามกองขยะ กองปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ตอหรือท่อนมะพร้าว ผๆุ ซงึ่ เปน็ แหล่งเพาะขยายพันธขุ์ องดว้ งแรด จะชว่ ยลดปริมาณดว้ งแรดลงไดม้ าก ๔.๒ เช้ือไวรัส Rhabdiomvirus oryctes หรือท่ีเรียกกันว่าแบคคูลาไวรัส (Baculavirus) จะเข้าทา้ ลายตัวหนอนมีลักษณะท่ีสังเกตได้ง่ายคือส่วนท้ายของตัวหนอน(rectum) จะ พองโตย่นื ออกมาเหน็ ไดช้ ัด เมอ่ื พบ ดว้ งงวง มีขนาดเล็กกว่าด้วงแรด เข้าท้าลายต้นมะพร้าวโดยการวางไข่ ตามรอยแผลท่ีมีอยู่แล้ว เชน่ แผลทเี่ กดิ จากดว้ งแรดกดั ทา้ ลายเมื่อไข่ฟกั ตัวแล้วหนอนกจ็ ะกัดกนิ ส่วนที่ออ่ นแลว้ เจาะไชเข้าในล้า ต้น ท้าใหต้ น้ มะพร้าวเห่ียวเฉาและตายได้

ประมวลเน้อื หา มะพรา้ วนา้ หอม ศตั รทู ีส่ าคัญของมะพร้าว (ตอ่ ) การปอ้ งกนั และกาจดั ๑. ปูองกันก้าจัดด้วงแรดอย่าให้เกิดระบาดท้าลายต้นมะพร้าวเพราะแผลที่ด้วงแรดกัด เปน็ ช่องทางให้ด้วงงวงเขา้ ไปวางไข่ ๒. ระวังอย่าให้ต้นมะพร้าวเกิดบาดแผล เช่น การใช้มีดฟันต้น เพราะด้วงงวงจะเข้าไป วางไข่ตามรอยแผล ๓. อย่าปลูกมะพร้าวต้ืน เพราะรากจะลอย ด้วงงวงสามารถเข้าไปในรอยเปิดของ เปลอื กตรงสว่ นของโคนต้นทตี่ ิดกบั พื้นดินได้ ๔. ถ้าพบต้นท่ีถูกด้วงงวงท้าลาย และต้นยังแข็งแรงอยู่ ให้ใช้ยาคาร์โบฟูราน(ฟูราดาน หรือคูราแทร์ 3% G) โรยบริเวณโคนต้น เกลี่ยดินกลบ รดน้าให้ชุ่ม สารเคมีจะซึมผ่านข้ึนไปจนถึงยอด ฆา่ หนอนทก่ี นิ อยู่ภายในได้ และอยา่ เก็บผลไปรบั ประทานภายใน 30 วัน หลังจากใสส่ ารเคมแี ลว้ ๕. ต้นท่ีถกู ด้วงงวงทาลายจนตาย ควรโคน่ ทงิ ้ แล้วเผาทาลาย แมลงดาหนามมะพร้าว (coconut hispine beetle) แมลงด้าหนามมะพร้าว มีช่ือวิทยาศาสตร์ว่า Brontispa longissima Gestro แมลงด้าหนามมะพร้าวเป็นแมลงพื้นเมืองของ อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินี รวมทั้งกลุ่มเกาะบิสมาร์ก อาร์คิปิลาโก นอกจากนั้นยังพบที่หมู่เกาะโซโลมอน ประเทศวานาอาตู เกาะนิงกินี หมเู่ กาะเฮบรดิ ีส์ ดินแดนนงิ แดลโี ดเนีย เกาะตาฮิติ หมเู่ กาะเวสเทิร์นซา มวั ออสเตรเลยี ตอนเหนือและไต้หวัน ท่ีฮ่องกงมีการปลูกปาล์มประดับ กันมากโดยน้าพันธ์ุเข้ามาจากมณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ปี พ.ศ. 2531 พบแมลงด้าหนามมะพร้าวท้าลายเปต ติโคตรปาล์มใน เรือนเพาะชาในฮ่องกง และปี พ.ศ.2534 พบทาลายมะพร้าวต้นสงู ( อายุมากกว่า 30 ปี ) แสดงว่าแมลงชนิดนีแ้ พร่กระจายมาจากปาล์ม ประดบั ของจีน (CABI, 2003)

ประมวลเน้อื หา มะพร้าวน้าหอม ศัตรูทส่ี าคัญของมะพร้าว (ตอ่ ) การทาลาย ตวั เต็มวัยและหนอนอาศัยกนิ อย่ใู นใบย่อยของยอดมะพรา้ วที่ยงั ไม่คลี่ โดยแทะผิวใบท้ัง ด้านหน้าและด้านหลังท้าให้พื้นท่ีสังเคราะห์แสงน้อยลง ใบไหม้แห้ง แมลงชนิดนี้ท้าลายพืชตระกูล ปาล์มหลายชนิด เช่น ปาล์มในสกุล Areca, Elaeis, Caryata, Latania, Metroxylon, Phoenix, Ptychosperma, Roystonea และ Washingtonia (Lever, 1969) ส่วนแมลงด้าหนามชนิดท่ีเคยพบ เปน็ ศตั รูมะพร้าวในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.2520 มีช่ือวิทยาศาสตร์ว่า Plesispa reichei Chapuis ซ่ึง เข้าท้าลายมะพร้าวในระยะต้นกล้า ส่วน B. longissima เคยพบท้าลายมะพร้าวต้นสูงในเขตจังหวัด นราธิวาสเมื่อปี พ.ศ.2543 และมกี ารระบาดทา้ ความเสยี หายแก่มะพร้าวในประเทศเวียดนาม ลกั ษณะการทาลาย ตัวหนอนและตัวเต็มวัยกัดแทะผิวใบอ่อนที่ยังไม่คลี่ เมื่อใบยอดคลี่กางออกจะไม่พบ แมลงเหล่านอ้ี าศัยอยู่ แต่จะเห็นใบเปน็ รอยแหง้ ท้ังทางใบ วงจรชวี ิต ไข่ รูปยาวรีสีน้าตาล ค่อนข้างแบน ขนาด 0.8 x 2 มิลลิเมตร วางไข่ทั้งเป็น ฟองเด่ียวๆ และเป็นแถวๆ ละ 2-3 ฟอง วางไข่บนใบอ่อนท่ียังไม่คลี่ บริเวณขอบ ของไข่จะเปน็ ขุยสีน้าตาลอ่อน ระยะไข่ 5- 9 วัน ตัวเต็มวัยเพศเมีย 1 ตัว วางไข่ได้ ประมาณ 100 ฟอง

ประมวลเน้ือหา มะพรา้ วนา้ หอม ศตั รูทสี่ าคัญของมะพร้าว (ต่อ) หนอน ตัวหนอนท่ีฟักจากไข่ใหม่ๆ สีขาว มีขาจริง 3 คู่ ด้านข้างของล้าตัวทุกปล้องมี ลักษณะคล้ายหนามย่ืนออกมา ท่ีปลายสุดของส่วนท้องมีอวัยวะคล้ายคาลิปเปอร์ 1 คู่ เม่ือใกล้ลอก คราบ ล้าตวั จะมีสีเขม้ ข้ึนจนเปน็ สนี ้าตาล คราบที่ลอกออกมาจะเห็นส่วนของคาลิปเปอร์ชัดเจน หนอน มี 4 วัย ระยะหนอน 30-40 วัน ดักแด้ หนอนท่ีเจริญเต็มท่ีจะหยุดกินอาหาร และเปล่ียนรูปร่างเป็นดักแด้ โดยเข้า ดักแด้บรเิ วณใบทอ่ี าศยั อยู่ ระยะดักแด้ ประมาณ 4-7 วนั ตัวเต็มวยั เปน็ ด้วงขนาดลา้ ตวั 2 x 9 มลิ ลเิ มตร หนวดมี 11 ปล้อง ส่วนหัวสีด้า ส่วน อกมีสีน้าตาลปนส้ม ปีกคู่แรกสีด้าหรือมีสีน้าตาลปนส้ม ชนิดท่ีมีสีน้าตาลปนส้ม จะพบสีของปีกทั่วไป เป็นสีน้าตาลแก่ บริเวณโคนปีกที่ติดกับส่วนอกมีสีส้มประมาณ 1 ใน 3 ของความยาวปีก ตัวเต็มวัยมี อายุนานมากกว่า 3 เดือน วางไข่ได้ประมาณ 100 ฟอง/ตัว มีความว่องไวในช่วงพลบค้่า (nocturnal insect) แนวทางการป้องกนั กาจดั มะพร้าวเป็นพืชท่ีมีล้าต้นสูงเป็นการยากในการจัดการปูองกันก้าจัดด้วงชนิดนี้ การ แก้ปัญหาในระยะยาวมีโอกาสเป็นไปได้ในการน้าแตนเบียน Asecodes hispinarum ชนิดเดียวกันกับ ที่เวียดนามเคยใช้ในการปูองกันก้าจัดส้าเร็จมาใช้ ซ่ึงขณะนี้กรมวิชาการเกษตรก้าลังด้าเนินการจัดท้า โครงการเพื่อศึกษาเกี่ยวกับเร่ืองการน้าแตนเบียนชนิดน้ีเข้ามาขยายพันธ์ุให้ได้ปริมาณมาก และน้าไป ปลดปล่อย เพ่ือลดการระบาดของแมลงด้าหนามมะพร้าว โดยได้รับการสนับสนุนจาก Food and Agriculture Organization (FAO) อีกแนวทางหน่ึงคือการก้าจัดแมลงด้าหนามบนต้นกล้ามะพร้าวและพืชตระกูลปาล์ม จากพื้นที่ที่มีการระบาด ก่อนท้าการเคล่ือนย้ายไปยังพ้ืนที่อื่นๆ โดยการพ่นสารฆ่าแมลง carbaryl (Sevin 85%WP) อัตรา 20 มิลลิลิตรต่อน้า 20 ลิตร หรือ imidacloprid (Admire 5%EC) อัตรา 10 มิลลลิ ติ รตอ่ นา้ 20 ลิตร

ประมวลเนื้อหา มะพรา้ วนา้ หอม โรคทส่ี าคัญ โรคยอดเน่า (Heart leaf rot) เกิดจากเช้ือรา Pythium sp. และมักเกิดกับมะพร้าว พันธ์ุท่ีน้าเข้าจากต่างประเทศ เช่น พันธ์ุมลายูสีเหลือง ต้นเตี้ย โรคน้ีมกพบบ่อยในระยะต้นกล้า ในสภาพที่มี ฝนตกชกุ และอากาศมคี วามชืน้ สูง ลกั ษณะอาการ ระยะแรกจะพบแผลเนา่ สดี ้าบริเวณตรงโคนยอด จากนั้นจะขยายลุกลามต่อไปจนท้าให้ ใบย่อยท้ังใบแห้งเป็นสีน้าตาล สามารถดึงหลุดออกได้ง่าย ต้นกล้าจะเหี่ยวเฉาและแห้งตายไปในท่ีสุด หากเกิดกับมะพร้าวใหญ่ อาจมีทางใหม่เกิดขึ้นแต่ใบจะผิดปกติ ก้านทางจะส้ัน มีใบย่อยเล็กๆ เกิด เฉพาะบรเิ วณปลายกา้ นทาง การป้องกนั กาจดั ในการย้ายต้นกล้าอย่าพยายามให้หน่อช้า เพราะโรคอาจจะเข้าท้าลายได้ง่าย หากพบ อาการของโรคในระยะแรกให้ตัดส่วนที่เป็นโรคออก แล้วฉีดพ่นด้วยสารฆ่าเช้ือราท่ีมีสารประกอบ ทองแดง ต้นกลา้ หรอื ส่วนทโี่ รคท้าลายใหเ้ ผาทา้ ลายใหห้ มดเพอื่ ปอู งกันการท้าลายต่อไป

ประมวลเน้อื หา มะพร้าวน้าหอม โรคท่ีสาคญั (ต่อ) โรคใบจดุ (Helminthosporium leaf rot) เกิดจากเช้ือรา Helminthosporium sp. โรคนี้จะท้าความเสียหายให้แก่มะพร้าวในระยะต้นกล้า มากและลกุ ลามอย่างรวดเรว็ ลกั ษณะอาการ เริ่มแรกจะเกิดจุดแผลสีเหลืองอ่อน ขนาดหวั เข็มหมดุ ต่อมาจะเปลี่ยนเป็ นสีนา้ ตาล แดง มีวงสีเหลืองล้อมรอบแผลจะขยายใหญ่ออก มีลกั ษณะค่อนข้างกลม กลางแผลจะมีจุดสีนา้ ตาลแดง ขอบแผลสีนา้ ตาลเข้ม ในท่ีสุดจะขยายรวมกันทาให้ใบแห้ง ต้นมะพร้ าวชะงักการ เจริญเตบิ โตและตายในท่ีสดุ ป้องกนั กาจัด ฉีดพ่นด้วยสารก้าจดั ศตั รูพชื เช่น เธอร์แรม (thiram) อตั รา 50 กรมั ต่อนา้ 20 ลติ ร ผสมสารลงไป 15 ซซี ี ฉดี พ่นทุก 10-14 วนั นอกจากนี้ยังมีโรคอื่นๆ เช่น โรคตาเน่า(Bud rot) โรคโคนผุ (Stem bleeding) โรคใบ จุดสีเทา (Grey leaf spot) โรคก้านทางแตก(Frond Break) โรครากเน่า (Root rot) เป็นต้น โรค ดงั กลา่ วนี้แม้ว่าจะพบในแหลง่ ปลูกมะพรา้ วมากแต่ก็ไมพ่ บทา้ ความเสียหายใหแ้ กม่ ะพร้าวมากนกั

ประมวลเนื้อหา มะพร้าวนา้ หอม การเกบ็ เก่ยี วผลผลติ มะพร้าวออกดอกโดยเฉล่ียปีละ 7-12 จ่ัน ถ้าได้รับการดูแลดีก็จะติดผลทุกจ่ัน ได้ ผลผลิตทกุ เดอื นเดอื นละ 1 ทะลาย แต่ตามปกติจะเก็บผลมะพร้าวได้ไม่เทา่ กนั ในแตล่ ะเดอื น เดอื นท่ใี ห้ ผลผลติ นอ้ ยคือ ระหว่างเดือนธันวาคมถึงมีนาคม ต่อจากน้ันจะเก็บผลมะพร้าวได้มากขึ้นเรื่อยๆ ช่วงที่ เกบ็ ผลได้มากที่สดุ คอื เดือนสงิ หาคมถงึ กนั ยายน ผลมะพร้าวจะเร่ิมแก่เมื่ออายุประมาณ 11 เดือน จนอายุ 12 เดือน ก็จะแก่เต็มท่ี ลกั ษณะผลแกส่ ังเกตได้จากผวิ ของเปลือก จะเปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีก้ามปู หรือสีน้าตาล และปริมาณ น้าในผลจะน้อยลง ดังน้ันเม่ือเขย่าผลดูก็จะได้ยินเสียงน้าคลอน มะพร้าวในทะลายเดียวกันจะแก่ไม่ พร้อมกนั จึงควรเลือกเกบ็ ผลจากมะพร้าวที่ผลมะพร้าวแกห่ มดแล้ว เกษตรกรนิยมสอยมะพร้าวทุกๆ 45-60 วัน แล้วแต่ปริมาณผลมะพร้าวในสวน การ สอยสว่ นใหญน่ ยิ มใชไ้ ม้ไผ่ล้ายาวๆ ที่มีตะขอผูกติดไว้ท่ีปลายล้า ใช้ตะขอเกี่ยวทะลายที่มีผลแก่แล้ว ดึง กระตกุ ให้ผลหลุดตกลงมา แต่ถ้าต้นมะพร้าวสูงมากๆ เกษตรกรมักใช้ลิงเก็บผลมะพร้าวแทน ใน 1 วัน จะเกบ็ ผลมะพร้าวไดป้ ระมาณ 600 ผล

ประมวลเนื้อหา มะพร้าวน้าหอม ประโยชน์ของมะพร้าว สรรพคณุ ของมะพรา้ ว ๑. ประโยชน์น้ามะพร้าว จะช่วยท้าให้ผิวพรรณสดใส เปล่งปลั่ง ขาวนวลข้ึนอย่างเป็น ธรรมชาติ เพราะมฮี อร์โมนเอสโตรเจนอยู่ (น้ามะพรา้ ว) ๒. น้ามะพรา้ วมสี ่วนสา้ คญั อยา่ งมากตอ่ การสร้างคอลลาเจนและอิลาสติน ซ่งึ ทา้ ใหผ้ วิ มี ความยดื หยุน่ กระชับ ชว่ ยชะลอการเกดิ รว้ิ รอยแห่งวยั ไดเ้ ปน็ อย่างดี (น้ามะพรา้ ว) ๓. ประโยชนข์ องนา้ มะพรา้ ว มสี ว่ นชว่ ยกระตุน้ การเจริญโตและการแบ่งเซลลไ์ ด้เป็นอย่าง ดี (น้ามะพรา้ ว) ๔. ในเนอ้ื และนา้ มนั มะพรา้ วอ่อนมวี ติ ามนิ และแรธ่ าตุทจ่ี า้ เปน็ สา้ หรับร่างกายอย่าง ครบถ้วนไมว่ ่าจะเปน็ วิตามินซี วิตามินบี กรดอะมิโน ธาตแุ คลเซยี ม ธาตุแมกนเี ซียม ธาตุฟอสฟอรสั ธาตุ โพแทสเซียม ธาตเุ หลก็ และยังมีไขมนั ท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ รา่ งกายอกี ดว้ ย ซ่งึ รา่ งกายสามารถดดู ซมึ ได้ ภายใน 5 นาที (นา้ มะพร้าว) ๕. นา้ มะพร้าว ประโยชน์ใช้เป็นเครอ่ื งด่มื จากธรรมชาติท่ีท้าให้รา่ งกายรสู้ ึกสดชื่นและไมม่ ี อนั ตรายใดๆ ต่อร่างกาย (ยกเวน้ ผทู้ ีเ่ ป็นโรคเบาหวานและโรคไต) ๖. น้ามะพรา้ วเปน็ ผลไม้ทมี่ ีฤทธ์เิ ยน็ จึงช่วยดับรอ้ นในร่างกายไดเ้ ปน็ อยา่ งดี (นา้ มะพร้าว) ๗. น้ามะพรา้ วอ่อนมคี ุณสมบตั เิ ปน็ ธาตเุ ย็น ช่วยลา้ งพิษขับพิษของเสยี ออกจากร่างกาย หรือช่วยดที ็อกซ์นัน่ เอง (น้ามะพร้าว) ๘. ประโยชนข์ องมะพร้าว ช่วยบา้ รุงร่างกาย (เน้ือมะพร้าว) ๙. ชว่ ยปรบั สมดลุ ของร่างกาย ในชว่ งที่ร่างกายมคี วามเป็นกรดสูง เพราะน้ามะพรา้ วมี ความเปน็ ดา่ ง ท้าใหก้ ลไกการท้างานของระบบต่างๆภายในร่างกายเป็นปกตสิ ง่ ผลให้มีสขุ ภาพดแี ละ แขง็ แรง (น้ามะพร้าว) ๑๐. ชว่ ยบ้ารงุ โลหิต (ดอก) ๑๑. ใช้เปน็ เครอื่ งดมื่ ธรรมชาตทิ ่ีให้เกลือแร่ไดเ้ ปน็ อยา่ งดจี งึ เหมาะส้าหรับนักกีฬา เนอื่ งจากอดุ มไปด้วย ธาตโุ พแทสเซยี ม (นา้ มะพร้าว) ๑๒. ชว่ ยแกก้ ระหายน้า (น้ามะพรา้ ว,เนือ้ มะพรา้ ว,ดอก)

ประมวลเนอื้ หา มะพรา้ วนา้ หอม ประโยชนข์ องมะพร้าว (ต่อ) สรรพคณุ ของมะพรา้ ว ๑๓. นา้ มะพรา้ วลดบวม ช่วยแก้อาการบวมน้า (น้ามะพร้าว) ๑๔. น้ามะพรา้ วมคี ุณสมบัติปลอดเช้อื โรค จงึ น้าไปใช้ฉดี เข้าเส้นเลอื ดได้ สา้ หรับผปู้ ุวยทมี่ ี อาการขาดน้าหรอื ปริมาณเลอื ดลดแบบผิดปกตไิ ด้ (น้ามะพรา้ ว) ๑๕. ประโยชนข์ องนา้ มะพรา้ วอ่อน ชว่ ยปอู งกนั หรอื ชะลอการเกดิ โรคอลั ไซเมอร์ ภาวะ ความจา้ เสือ่ มในสตรีวัยทอง เนื่องจากมปี รมิ าณของฮอรโ์ มนเอสโตรเจนสูง (นา้ มะพรา้ วอ่อน) ๑๖. ช่วยปูองกนั การเกิดโรคหวั ใจ และช่วยรกั ษาผปู้ วุ ยโรคหัวใจ (น้ามะพร้าวอ่อน) ๑๗. ช่วยรกั ษาโรคเบาหวาน ด้วยการใชม้ ะพร้าวแก่ขดู เอาเนือ้ มาคั่วให้เหลอื ง โรยเกลอื เลก็ น้อย ใสภ่ าชนะปิดให้แน่น แลว้ นา้ มารบั ประทานครัง้ ละ 1 ชอ้ นแกง เชา้ กลางวนั เยน็ ประมาณ 10 วนั จะช่วยทา้ ให้ระดับนา้ ตาลลดลงเร่ือยๆชว่ ยเบาทา้ อาการปวดหัวปวดศีรษะได้ (นา้ มะพร้าวออ่ น) ๑๘. น้ามาใช้รกั ษาโรคคอตีบได้ (เปลือกหุ้มรากของมะพร้าว ) ๑๙. ช่วยแก้อาการตาอักเสบ ดว้ ยการใชน้ ้ามะพรา้ วอ่อน 1 ถ้วย นา้ มาผสมกับนา้ ตาล ทรายแดงไวด้ ม่ื เช้าและเยน็ อาการอักเสบกจ็ ะคอ่ ยๆหายไปเอง (นา้ มะพรา้ วออ่ น) ๒๐. ชว่ ยแก้อาการระคายเคืองตา ดว้ ยการใช้เน้ือมะพร้าวออ่ นสดๆ แปะทด่ี วงตา อาการ จะค่อยๆทเุ ลาลง (เนือ้ มะพร้าว) ๒๑. ชว่ ยลดอาการไขส้ ูง ตวั รอ้ น เพราะมฤี ทธเ์ิ ปน็ ยาเยน็ จงึ ชว่ ยทุเลาอาการไข้ได้(น้า มะพร้าวออ่ น,เนอ้ื มะพร้าว) ๒๒. ใชร้ ักษาคนไขท้ ่มี ีภาวะความเป็นกรดในเลือดสงู (น้ามะพรา้ วอ่อน) ๒๓. ชว่ ยแกไ้ ขท้ บั ระดู ดว้ ยเอาจัน่ มะพร้าว ทย่ี ังมกี าบหุ้มอยู่น้ามาต้มน้าดื่ม เช้า กลางวัน เย็น อาการจะคอ่ ยดีขนึ้ (บางคนใช้รากก็ไดผ้ ลเหมือนกัน) ๒๔. ชว่ ยแกอ้ าการร้อนใน ด้วยการดืม่ น้ามะพรา้ วอ่อนในชว่ งเชา้ และช่วงบ่าย (รบั ประทานเนอ้ื ดว้ ย) ๒๕. ช่วยแก้อาการไอ ดว้ ยการด่มื นา้ มะพร้าวหา้ ว (นา้ มะพรา้ วห้าว) ๒๖. ชว่ ยแก้อาการปากเป่ือย ปากเปน็ แผล ด้วยการอมน้ากะทิสดๆ จากมะพร้าวแก่ ประมาณ 5-10 นาที ประมาณ 3 วนั แผลจะหายเรว็ ข้นึ (น้ากะทิสด)

ประมวลเน้อื หา มะพร้าวนา้ หอม ประโยชน์ของมะพร้าว (ต่อ) สรรพคุณของมะพรา้ ว ๒๗. ใชแ้ กอ้ าการเจบ็ ฟนั ด้วยการใช้เปลอื กตน้ สดน้าไปเผาไฟให้เปน็ เถ้าแล้วนา้ มาสฟี ัน (เปลอื กต้นสดมะพร้าว) ๒๘. ใชเ้ ป็นยาแกอ้ าการเจ็บปากเจ็บคอ (ดอก) ๒๙. รากใช้อมบ้วนปากแก้อาการเจบ็ คอ (ราก) ๓๐. ชว่ ยแก้อาการคลนื่ ไสอ้ าเจียน ดว้ ยการใชม้ ะนาว 1 ซกี บบี ผสมกบั นา้ มะพร้าวอ่อน แลว้ ดืม่ (น้ามะพร้าวอ่อนผสมมะนาว) ๓๑. ส้าหรบั ผทู้ ีอ่ าเจียนและทอ้ งรว่ งในเวลาเดยี วกนั ให้ดม่ื น้ามะพร้าว จะชว่ ยท้าให้ ร่างกายดูดซึมกลโู คสไปใชไ้ ดเ้ ร็ว ท้าให้ร่างกายกลับมาเป็นปกตไิ ด้ (น้ามะพรา้ ว) ๓๒. ชว่ ยแก้อาการปวดฟนั ด้วยการใช้กะลามะพรา้ วแก่จัด ท่ีมรี ู ขูดเอาเนื้อออกใหมๆ่ ใส่ ถ่านไฟแดงลงไป แลว้ รองเอาน้ามันมะพรา้ วทไี่ หลออกมาเก็บใส่ภาชนะปดิ ให้มดิ ชิด แล้วใช้สา้ ลพี ันปลาย ไม้ชบุ นา้ มนั ท่ไี ดอ้ ดุ รฟู นั ท่ปี วด แตอ่ ยา่ ให้สมั ผัสกบั เหงือกหรอื เน้อื เยอ่ื บรเิ วณรอบๆโดยตรง เพราะจะทา้ ให้ ชาได้ (น้ามนั จากกะลามะพร้าว) ประโยชนม์ ะพร้าว ช่วยกล่อมเสมหะ (ดอก) ๓๓. ประโยชน์มะพร้าว ช่วยกลอ่ มเสมหะ (ดอก) ๓๔. ชว่ ยแกอ้ าการอาเจยี นเป็นเลอื ด (น้ามะพรา้ ว) ๓๕. สรรพคุณน้ามะพร้าว ชว่ ยรักษาโรคกระเพาะ (น้ามะพรา้ วอ่อน) ๓๖. ใชแ้ ก้อาการท้องเสีย ด้วยการใช้รากล้างสะอาดประมาณ 3 ก้ามือ ทบุ พอแตกต้มน้า 5 แกว้ เค่ยี วเอา 2 แกว้ แบ่งรับประทานครัง้ ละครึง่ แกว้ เชา่ กลางวัน เยน็ (ดอก,ราก,กะลา) ๓๗. ชว่ ยแกโ้ รคบิด ด้วยการดืม่ น้ามะพร้าวอ่อน เช้า กลางวัน เยน็ อาการจะดีขึ้น (น้า มะพร้าวอ่อน) ๓๘. ชว่ ยรกั ษาโรคลา้ ไส้อักเสบ ด้วยการใชเ้ ปลือกมะพรา้ วมาสับเปน็ ช้ินเล็กๆ แลว้ นา้ มา ต้มน้าดื่ม อาการจะคอ่ ยๆดีขน้ึ (ควรใช้เปลือกมะพรา้ วห้าว หรือมะพรา้ วแก่) ๓๙. ช่วยแกอ้ าการทอ้ งอืด ท้องเฟอู จกุ เสยี ดแนน่ ท้อง ด้วยการใช้กะลามะพรา้ วสะอาดมา เผาไฟจนแดง แล้วคบี เก็บไว้ในป๊ีปสะอาดปดิ ฝาใหเ้ รยี บร้อย จะไดถ้ า่ นกะลาสดี า้ นา้ มาบดเป็นผง รบั ประทานครั้งละ 1-2 ชอ้ นโต๊ะ (กะลา)

ประมวลเนือ้ หา มะพร้าวนา้ หอม ประโยชนข์ องมะพร้าว (ตอ่ ) สรรพคุณของมะพรา้ ว ๔๐. ช่วยบรรเทาอาการอ่อนเพลียจากอาการท้องเสียท้องร่วงได้ ช่วยเติมพลังหลังการเสีย เหงื่อ เสยี น้าและเกลือแร่ในร่างกาย (น้ามะพรา้ วอ่อน) ๔๑. ชว่ ยขบั ปสั สาวะ (น้ามะพร้าวอ่อน,เนื้อมะพร้าว,ราก) ๔๒. น้ามะพร้าว สรรพคุณชว่ ยรกั ษาโรคทางเดินปสั สาวะอกั เสบ (นา้ มะพร้าวอ่อน) ๔๓. ช่วยแก้นวิ่ ด้วยการดื่มนา้ มะพร้าวออ่ น เชา้ กลางวนั เย็น อาการจะดีข้นึ มาก (น้า มะพรา้ วออ่ น) ๔๔. ชว่ ยรักษาโรคตับและไต (น้ามะพรา้ วอ่อน) ๔๕. ช่วยรกั ษาโรคดีซา่ น ดว้ ยการดื่มนา้ มะพร้าวอ่อน เช้า กลางวนั เยน็ เพียง 2 วันอาการ กจ็ ะดีข้ึนมาก (น้ามะพร้าว) ๔๖. ใช้ถ่ายพยาธไิ ด้ (น้ามะพรา้ ว,เน้อื มะพร้าว) ๔๗. ช่วยบ้ารงุ และแกอ้ าการปวดกระดูกและเอ็น (นา้ มันจากกะลามะพรา้ ว) ๔๘. ชว่ ยแก้อาการปวดเมื่อยตามกล้ามเนอื้ อักเสบ ชา้ บวม ดว้ ยการใชน้ า้ กะทิเค่ียวให้ ร้อน แลว้ นา้ ผักเสี้ยนผลี ้างใหส้ ะอาดสับเค่ยี วเขา้ ด้วยกนั ใสเ่ มนทอลเลก็ นอ้ ยเพื่อใหม้ ีกลิ่นหอมและช่วยให้ ตัวยาแทรกซมึ ได้ดีข้ึน เสรจ็ แลว้ นา้ มานวดบรเิ วณทมี่ อี าการ (น้ากะทิเคีย่ ว) ๔๙. ชว่ ยแก้อาการเมด็ ผดผนื่ คันตามตัว ด้วยการด่มื น้ามะพร้าวอ่อนเปน็ ประจ้า (น้า มะพร้าวอ่อน) ๕๐. สรรพคณุ ของมะพรา้ ว สามารถใชร้ ักษาโรคผวิ หนงั ได้ (น้ามันจากกะลามะพร้าว) ๕๑. ช่วยสมานแผลใหห้ ายเรว็ ขน้ึ และปอู งกนั การเกิดแผลเป็น ด้วยการใชน้ ้ามันมะพรา้ วที่ ได้จากกะลาเผาไฟถ่าน นา้ มาทาท่แี ผล จะทา้ ใหแ้ ผลหายเรว็ ภายในไม่กวี่ ัน และจะไม่เกิดรอยแผลเป็น (นา้ มันจากกะลามะพร้าว) ๕๒. ใชร้ กั ษาแผลเรอ้ื รงั ด้วยการเอากะลามะพร้าวมาถตู ะไบเอาผง น้ามาผสมกับนา้ มนั มะพรา้ ว ใสพ่ มิ เสนเล็กน้อย แล้วนา้ มาทาบริเวณแผลเช้า กลางวนั เย็น ๕๓. ใช้ทาแก้ผวิ หนังแตกลาย (น้ามันจากกะลามะพรา้ ว)

ประมวลเน้อื หา มะพร้าวน้าหอม ประโยชน์ของมะพรา้ ว (ตอ่ ) สรรพคุณของมะพรา้ ว ๕๔. ใชเ้ ปน็ ยาทาแกก้ ลากเกลอื้ นได้ ด้วยการใชก้ ะลามะพร้าวแกจ่ ดั ทีข่ ดู แลว้ มรี ู มาใส่ ถา่ นไฟแดงๆ น้ามนั มะพรา้ วจะไหลออกมา แล้วน้ามาทาบรเิ วณท่เี ป็นทิง้ ไว้ประมาณหนง่ึ สปั ดาห์ ยางจะ ตดิ อยูเ่ กล้อื นจะคอ่ ยๆหายไป (น้ามันจากกะลามะพร้าว) ๕๖. ช่วยรกั ษาโรคอสี กุ อีใส ดว้ ยการใช้ใบมะพรา้ วต้มน้าด่ืม (ใบมะพร้าว) ๕๗. ใชท้ าแก้หิด (เปลือกตน้ สดมะพร้าว) ๕๘. ใช้รกั ษาแผลไฟไหม้ น้ารอ้ นลวก ดว้ ยการใชม้ ะพรา้ วกะทปิ ิดบรเิ วณแผล (มะพร้าว กะทิ) ๕๙. ในไตห้ วันและจนี นยิ มดมื่ นา้ มะพรา้ วเพ่ือช่วยลดอาการเมา แกอ้ าเจยี นหลงั การดืม่ แอลกอฮอล์ (นา้ มะพร้าว) ๖๐. ชว่ ยแก้พิษเบอ่ื เมา ด้วยการด่มื นา้ มะพร้าว ซง่ึ จะชว่ ยล้างพษิ ที่เกิดขนึ้ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี (นา้ มะพร้าวอ่อน)

ประมวลเนอื้ หา มะพร้าวนา้ หอม ประโยชน์ของมะพรา้ ว (ตอ่ ) ประโยชน์ของมะพรา้ ว ๑. ประโยชน์ของมะพร้าว ช่วยก้าจัดริ้วรอยของครกหินท่ีซื้อมาใหม่ ด้วยการใช้เนื้อ มะพร้าวที่ใช้ค้นั กะทติ ัดเป็นชิ้นเล็กๆ 4-5 ชิ้น แล้วใส่ลงไปในครกแล้วต้าเน้ือมะพร้าวจนละเอียด ให้น้ามัน จากเนื้อมะพร้าวออกมาสัมผัสกับผิวครกไปเร่ือยๆประมาณสิบนาที แล้วท้ิงไว้อย่างน้ันประมาณ 1 คืน เพ่ือให้น้ามะพร้าวซึมเข้าตามริ้วรอยของเนื้อครก ก้นครกก็จะลื่นเป็นมันดูสดใสใช้งานได้อย่างคล่องมือ ๒. มารดาที่เพ่ิงคลอดบุตรแต่ไม่มีน้านมเพียงพอ ก็สามารถให้บุตรกินน้ามะพร้าวแทน นา้ นมแม่ได้ช่ัวคราวได้ เพราะน้ามะพร้าวมีกรดลอริคท่ีมีอยู่มากในน้านมแม่นั่นเอง แถมยังมีความบริสุทธิ์ ไม่มีสารเคมเี จอื ปนจึงไม่เป็นอันตรายตอ่ เด็กทารก (น้ามะพรา้ ว) ๓. ผูท้ ่เี ป็นสวิ หรือมีประจ้าเดอื นตดิ ตอ่ กันไมห่ ยดุ ให้ดืม่ น้ามะพร้าว จะชว่ ยท้าให้ร่างกายขับ ของเสียออกมาไดม้ ากยง่ิ ขึน้ (นา้ มะพร้าว) ๔. มะพร้าว ประโยชนใ์ ช้ท้าเปน็ น้าสม้ สายชไู ด้ (น้ามะพรา้ ว) ๕. ยอดอ่อนมะพร้าว หรือ “หัวใจมะพร้าว” (Coconut’s Heart) ซ่ึงมีราคาแพงมาก เพราะการเก็บยอดอ่อนจะท้าให้ต้นมะพร้าวตายทั้งต้น (ต้องโค่นกันเลยทีเดียว) โดยน้าไปใช้ท้าอาหารได้ หลายอย่าง เช่น ผัด แกงส้ม แกงคั่ว รวมไปถึงย้ายอดอ่อนมะพร้าว หรือ “สลัดเจ้าสัว” (Millionaire’s Salad) ๖. นา้ มะพรา้ ว น้าไปแปรรูปเปน็ วนุ้ มะพรา้ วได้ ดว้ ยการเจอื กรดอ่อนเล็กน้อยลงในน้า มะพรา้ ว (น้ามะพรา้ ว) ๗. มะพร้าวอ่อน นอกจากรบั ประทานสดแล้ว ยงั น้ามาท้าเปน็ วุน้ มะพร้าว มะพรา้ วเผา ส่วนประกอบในอาหารคาวหวาน เป็นต้น ๘. มะพร้าวแก่ นา้ มาแปรรปู เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ต่างๆได้มากมาย ไม่ว่าจะเป็น ค้ันกะทดสด กะทิกลอ่ ง มะพร้าวอบน้าผึ้ง นา้ มนั มะพร้าว รวมไปถึงน้ามันไบโอดีเซลดว้ ย เป็นต้น ๙. เนื้อในของมะพร้าวแก่ ใชท้ า้ เปน็ กะทิ ดว้ ยการขดู เนือ้ เป็นเศษๆ แล้วบีบคน้ั เอาน้ากะทิ ออก (เนื้อมะพร้าว) ๑๐. กากทีเ่ หลอื จากการคน้ั น้ากะทิ สามารถน้าไปใช้ทา้ เป็นอาหารสัตวไ์ ด้อกี ด้วย (กาก มะพร้าว)

ประมวลเน้อื หา มะพร้าวนา้ หอม ประโยชน์ของมะพร้าว (ต่อ) ประโยชนข์ องมะพรา้ ว ๑๑. กาบมะพร้าว หรือ เปลือกมะพร้าว คุณสมบัติแข็งแรง คงทน ยืดหยุ่นมีสปริง นา้ มาใชท้ ้า เชอื ก พรม กระสอบ แปรง อวน ไม้กวาด และเสน้ ใบสั้นใช้อัดไส้ของทน่ี อน เบาะรถยนต์ ๑๒. ใยมะพร้าว น้าไปใช้ยัดฟูกเพ่ือท้าเปน็ เส่อื ได้ หรอื จะนา้ ไปใช้ในการเกษตรก็ได้เช่นกนั ๑๓. จ่ันมะพร้าว หรือ ช่อดอกมะพร้าว อุดมไปด้วยฟรุกโตส ซึ่งเป็นแหล่งอาหารของผึ้ง และแมลงนานาชนิด จึงได้มีการน้าน้าหวานส่วนนี้มาท้าเป็นน้าตาลเพ่ือใช้ปรุงอาหารคาวหวาน หรือท้า เป็นนา้ ตาลสดไวเ้ ป็นเคร่อื งดื่มเพม่ิ พลังกไ็ ด้ ๑๔. จาวมะพรา้ ว นา้ มาใชท้ ้าเปน็ อาหารได้ ๑๕. จาวมะพร้าว ชว่ ยกระตนุ้ การเจรญิ เตบิ ของพชื ท่ปี ลูกได้ เพราะมฮี อรโ์ มนออกซิน ซ่งึ เมื่อน้าไปค้ันกจ็ ะได้นา้ ไว้ส้าหรบั รดตน้ พืชทปี่ ลูก ๑๖. ใบมะพร้าว นิยมน้ามาใช้สานเป็นภาชนะใส่ของ ห่อขนม สานหมวกกันแดดหรือ เครือ่ งเล่นเดก็ กระจาด กระเชา้ ตะกร้า ท้าของทรี่ ะลึกรปู สัตว์ต่างๆ เป็นตน้ ๑๗. กะลามะพร้าวประดิษฐ์ ก้านใบมะพร้าว หรือ ทางมะพร้าว น้ามาใช้ท้าเป็นไม้กวาด ทางมะพร้าว เสวียนหม้อหรือก้นหม้อ เครือ่ งประดบั ข้างฝา พัด ภาชนะปกั ดอกไม้ กระเปา๋ กระจาด ๑๘. รกมะพร้าว หรือ เยื่อหุ้มคอมะพร้าว ลักษณะเป็นแผ่นใยหยาบๆ บางๆ มีความ ยืดหยุ่น (แต่ขาดง่าย) นิยมน้ามาท้าเป็น กระเป๋า หมวก รองเท้าแตะ ดอกไม้ประดิษฐ์ กล่องใส่ของ ส่ิงประดษิ ฐ์ใช้ตกแต่งงานศิลปะต่างๆ เป็นต้น ๑๙. กะลามะพรา้ ว นยิ มนา้ ไปใช้ทา้ ส่ิงประดิษฐ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเปน็ กระบวย กระดมุ ซออู้ โคมไฟ เคร่ืองประดับ เครอื่ งดนตรี ที่วางแก้วนา้ ท่เี ขยี่ บุหรี่ รวมไปถึงท้าเปน็ ถา่ นหงุ ตม้ ถา่ นกมั มนั น้า ควัน และถ่านสา้ หรบั ปอู งกนั มอดแมลงกไ็ ด้เช่นกัน และอกี ๒๐. รากมะพร้าว มเี สน้ ยาว เหนียวเป็นพเิ ศษ ใชส้ านเปน็ ตะกร้า ถาด ภาชนะตา่ งๆ และ ส่งิ ประดษิ ฐ์ทว่ั ๆไป ๒๑. ลา้ ตน้ เมือ่ ถกู โค่นท้งิ แล้วสามารถน้ามาใช้ท้าเฟอรน์ ิเจอร์ โต๊ะ เกา้ อ้ี ท้ารว้ั ฝาผนงั กระถางต้นไม้ ตกแต่งสวน เป็นตน้

ประมวลเนือ้ หา มะพร้าวน้าหอม ประโยชนข์ องมะพร้าว (ตอ่ ) คณุ ค่าทางโภชนาการของเนื้อมะพร้าวต่อ 100 กรัม พลังงาน 1,480 กโิ ลแคลอร่ี คาร์โบไฮเดรต 24.23 กรมั น้าตาล 6.23 กรัม เสน้ ใย 9 กรัม ไขมนั 33.49 กรัม โปรตนี 3.33 กรัม วิตามินบ1ี 0.66 มลิ ลกิ รมั 6% วิตามินบ2ี 0.02 มิลลิกรมั 2% วติ ามินบ3ี 0.54 มิลลกิ รัม 4% วิตามินบ5ี 1.014 มลิ ลิกรมั 20% วติ ามนิ บ6ี 0.05 มลิ ลกิ รัม 4% วิตามนิ ซี 3.3 มลิ ลิกรัม 4% ธาตแุ คลเซียม 14 มลิ ลิกรมั 1% ธาตเุ หลก็ 2.43 มลิ ลกิ รมั 19% ธาตุแมกนเี ซียม 32 มิลลิกรัม 9% ธาตฟุ อสฟอรสั 113 มลิ ลิกรัม 16% ธาตโุ พแทสเซยี ม 356 มลิ ลิกรมั 8% ธาตุสงั กะสี 1.1 มลิ ลิกรัม 12% % ร้อยละของปริมาณแนะนา้ ทร่ี ่างกายตอ้ งการในแตล่ ะวันส้าหรบั ผูใ้ หญ่ (ข้อมูลจาก : USDA Nutrient database)

ประมวลเน้ือหา มะพรา้ วนา้ หอม ประโยชนข์ องมะพร้าว (ตอ่ ) คุณคา่ ทางโภชนาการของน้ามะพร้าวต่อ 100 กรมั พลงั งาน 79 กิโลแคลอรี่ คาร์โบไฮเดรต 3.71 กรัม นา้ ตาล 2.61 กรัม เสน้ ใย 1.1 กรัม ไขมัน 0.2 กรมั โปรตีน 0.72 กรมั วิตามินบ1ี 0.03 มิลลิกรัม 3% วิตามินบ2ี 0.057 มิลลิกรัม 5% วติ ามนิ บ3ี 0.08 มิลลกิ รมั 1% วติ ามนิ บ6ี 0.032 มิลลิกรมั 2% วิตามินซี 2.4 มิลลกิ รัม 3% ธาตแุ คลเซยี ม 24 มิลลกิ รัม 2% ธาตุเหลก็ 0.29 มิลลกิ รัม 2% ธาตุแมกนเี ซียม 25 มลิ ลิกรัม 7% ธาตุฟอสฟอรัส 20 มลิ ลิกรมั 3% ธาตโุ พแทสเซียม 250 มลิ ลิกรมั 5% ธาตสุ ังกะสี 0.1 มิลลิกรมั 1% % รอ้ ยละของปริมาณแนะน้าท่ีร่างกายต้องการในแตล่ ะวันสา้ หรับผใู้ หญ่ (ข้อมลู จาก : USDA Nutrient database)

ประมวลเนื้อหา มะพร้าวนา้ หอม -เงินลงทนุ เทา่ ไร / การจัดการเงิน ตน้ ทุนการปลูกมะพรา้ ว ปีที่ ๑ ปีท่ี ๒ 1. ค่าเตรียมแปลงปลูก ไถพรวน ไถ 600 บาท/ไร่ - แปร ชกั ร่อง 2,700 บาท 2. ค่าพันธมุ์ ะพร้าว 10 บาท x 270 2,160 บาท - ต้น/ไร่ 6,270 บาท 2,160 3. ป๋ยุ เคมี 270 ตน้ x 1/2 กก. x 8 2,970 บาท บาท รวม รายได้ 270 x 10 กก. x 15 บาท = 40,500 บาท กา้ ไร 31,260 บาท /ไร่ / 2 ปี เหลอื ไรล่ ะ 15,630 บาท/ปี *** ตน้ ทนุ การผลิตอาจเปล่ียนแปลงเนอ่ื งจากค่าพนั ธุ์ คา่ เตรยี มดิน ไถพรวน ชักรอ่ ง และคา่ ป๋ยุ เคมี ซงึ่ เป็นปจั จัยการผลิต การปลกู อาจมรี าคาสูงขน้ึ ตามภาวะเศรษฐกิจปจั จุบัน

ประมวลเน้อื หา มะพร้าวน้าหอม -การจดั การกาลงั คน คนปลูก จ้านวนคนปลูกจะกา้ ลังคนมาก หรือน้อยขน้ึ อยกู่ ับพนื้ ท่ี (พน้ื ท่ีมากใชค้ นมาก) คนดูแล การดแู ลต้นมะพร้าวควรใช้ อุปกรณ์ตา่ งๆ เข้ามาช่วยเพอื่ ทุนแรงลดรายจา่ ย อาทิ เครอ่ื งรดน้า เครอื่ งพรวนดนิ คนเกบ็ มะพรา้ ว การเกบ็ เกี่ยวมะพรา้ ว ควรนา้ ลงิ มาฝึกหดั เพือ่ ใชง้ าน

ประมวลเนื้อหา มะพร้าวน้าหอม - เครื่องมอื / อุปกรณ์ ๑. จอบ ใช้ขดุ หลุมปลูก หรอื ก้าจัดวชั พชื ขนาดเลก็ ๒. เสยี ม ใช้ขุดหลมุ ปลูก พรวนดนิ ๓.พล่ัว ใช้ตกั ดนิ เตรยี มดิน ๔. บุง้ กี๋ ใช้ขนดนิ เตรยี มดนิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook