Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียนวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

วิจัยในชั้นเรียนวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

Published by Suna Chowchang, 2017-04-19 05:04:14

Description: วิจัยในชั้นเรียนวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ภาคเรียนที่ 2/2559

Search

Read the Text Version

รายงานวิจัยในชนั้ เรยี นเร่อื งการศึกษาการปรบั พฤติกรรมความรับผิดชอบในการการส่งงานวิชาการผลิตสื่อสิง่ พิมพ์ รหัสวิชา 2204-2104ของนกั เรยี นระดับชัน้ ปวช ๓. สาขาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ โดยการใช้เสรมิ แรงทางบวก ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จัดทาโดย นางสาวสณุ า เชาวช์ ่าง แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ วิทยาลัยการอาชีพคลองท่อม

2กิตติกรรมประกาศ รายงานวิจยั ในชั้นเรียน เรื่อง “การศกึ ษาการปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการส่งงานวิชาการผลิตส่ือ สิ่งพิมพ์ รหัสวิชา 2204 -2104 ของ นักเรียนระดับชั้น ปว ช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยการใช้การเสริมแรงทางบวก” เป็นรายงานวิจัยในช้ันเรียนที่จัดทาขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญ เลง็ เหน็ ถึงประโยชน์และเจตคติที่ดีต่อการส่งงานที่สามารถนาไปใช้ได้จริงในชีวิตประจาวันและปลกู ฝงั ความรับผิดชอบ ผู้จัดทาขอขอบพระคณุ ครูประจาแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพคลองท่อม ทีใ่ ห้ข้อมูลของนกั เรียนและข้อเสนอแนะที่เปน็ ประโยชน์อย่างยิ่งตอ่ รายงานวิจัยในช้ันเรียน ผู้จัดทาขอขอบคุณ นกั เรียนระดบั ชั้น ปวช.๓ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีต่อการทารายงานวิจัยในช้ันเรียนคร้ังน้ี และให้ข้อมูลที่เปน็ ประโยชน์ยิง่ นางสาวสณุ า เชาว์ช่าง ผู้วิจยั

3 บทคัดยอ่ชือ่ เรื่อง : การศกึ ษาการปรบั พฤตกิ รรมความรับผิดชอบในการส่งงานวิชาการผลิตสอื่ สิ่งพิมพ์ รหัสวิชา 2204-2104 ของนักเรียนระดบั ช้ัน ปวช ๓ สาขาวิชาชื่อผวู้ จิ ัย คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ โดยการใช้การเสริมแรงทางบวกปีการศึกษา : นางสาวสณุ า เชาว์ช่าง : ๒๕๕๙ รายงานวิจยั ในชั้นเรียนคร้ังน้ีมีจุดประสงค์ เพื่อศกึ ษาสภาพปัญหาเกี่ยวกับการส่งงานของนกั เรียนในรายวิชาการผลิตส่ือสิ่งพิมพ์ รหัสวิชา 2204 -2104 ของนักเรียนระดับช้ัน ปวช ๓สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ โดยการวิจัยครั้งน้ีได้ทาแบบบันทึกการส่งงานของนกั เรียนที่มีความรับผิดชอบในการส่งงานในรายวิชาการผลิตส่ือสิ่งพิมพ์ รหัสวิชา2204-2104 ตามทีค่ รกู าหนดเวลาที่ครสู ั่ง ให้เปน็ ลกั ษณะนสิ ัยทีด่ ตี ิดตัวนักเรียนไป และจะได้เป็นพนื้ ฐานในความรบั ผิดชอบในทกุ ๆด้านของนักเรียนที่ตอ้ งนาไปใช้จริงๆในชีวิตประจาวนั จากผลการวิจัย ๑.นักเรียนระดับช้ัน ปวช.๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ จานวน ๓ คน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการเรียนในวิชาการการผลิตส่ือสิ่งพิมพ์ รหัสวิชา 2204 -2104 มีกาลังใจและทาคะแนนได้ดขี ึน้ และสามารถลดพฤตกิ รรมการขาดความรับผิดชอบในการทางานได้เปน็ อย่างดี

4 สารบญั หน้ากิตติกรรมประกาศ………………………………………………………………………………… 2บทคัดย่อ…………………………………………………………………………………………….. 3สารบัญ………………………………………………………………………………………………. 4สารบญั ตาราง……………………………………………………………………………………….. 5บทที่ 1 บทนา 1หลกั การและเหตุผล 1วตั ถปุ ระสงค์ 2ขอบเขตการวิจัย 2คานยิ ามศพั ท์เฉพาะ 3ประโยชน์ของการวิจยั 3บทที่ 2 เอกสารที่เกีย่ วขอ้ ง 4ความหมายของความคิดเหน็ 4ความหมายของความพึงพอใจ 5ความหมายของความรบั ผิดชอบ 10งานวิจัยที่เกีย่ วข้อง 12บทที่ 3 วธิ ีดาเนนิ การวจิ ยั 13บทที่ 4 ผลการวจิ ยั 15บทที่ 5 สรปุ และอภิปรายผล 24สรปุ ผลการวิจยั 24ข้อเสนอแนะ 24บรรณานุกรม 25

5สารบญั ตาราง หนา้ตารางงานที่ ๑ การส่งงานของนักเรียนในวิชาการผลิตสือ่ สิ่งพิมพ์............................... 19ตารางที่ ๒ แบบบันทึกผลการส่งงาน เรือ่ งเทคนคิ การจดั สิ่งพิมพ์................................ 20ตารางที่ ๓ แบบบนั ทึกผลการส่งงาน เรือ่ งการสร้าง Object ประกอบสิง่ พิมพ์............. 20ตารางที่ ๔ แบบบันทึกผลการส่งงาน เรือ่ งการจัดรปู แบบพนื้ หลังสอ่ื สิ่งพิมพ์............... 21ตารางที่ ๕ แบบบันทึกผลการส่งงาน เรือ่ งการจดั รูปแบบสอื่ สิ่งพิมพ์ดว้ ยโทนสี........... 22ตารางที่ ๖ แบบบันทึกสภาพปญั หาและการปรับพฤตกิ รรม.......................................... 23

6 บทที่ ๑ บทนาหลกั การและเหตุผล ความสาคญั การวิตกอย่างหนง่ึ ของคนที่เปน็ ครู คืออยากให้ลกู ศิษย์ที่เรากาลังสอนน้ันเกิดการเรียนรู้ การเรียนรู้ไม่ได้หมายถึงการทีเ่ ขาตอบคาถามทีเ่ ราถามได้เท่าน้ัน แต่หมายถึงการที่เขารู้ว่าสิ่งทีเ่ ขากาลงั เรียนคืออะไร สามารถใช้ความรู้ทีม่ ีอยู่มาเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่ที่เรากาลังสอนหรือไม่ และสามารถนาสิ่งทีเ่ ราสอนไปประยุกต์ใช้กบั สถานการณ์อืน่ ๆได้หรือไม่ สิ่งเหล่าน้ีเป็นสิ่งที่นกั เรียนตอ้ งทาเองครูไม่สามารถทาให้เขาได้ สิ่งที่ครูจะทาได้คือตอ้ งเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ทาสิ่งดงั กล่าว โดยสร้างบรรยากาศการเรียนทีเ่ อือ้ กบั สิง่ เหล่าน้ีการสร้างบรรยากาศในการเรียนเพื่ อช่วยให้นกั เรียนได้เกิดการเรียนรู้คือ ต้องทาให้นักเรียนเรียนอย่างกระตือรือร้น (active learning) และตระหนกั ว่าตนกาลงั เรียนอะไรอยู่ ครูจะสามารถสร้างบรรยากาศแบบน้ีได้จาก การจัดการในช้ันเรียน การสร้างแบบเรียนและกิจกรรมในห้องเรียน และการหาเครื่องมือที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้พูดถึงสิ่งที่เรียนออกมาเพื่อจะได้รับรู้ว่าตัวเขาเองกาลังทาอะไรอยู่ (seft-awareness) เช่น การเขียนไดอารีท่ ี่พูดถึงการเรียน ปัญหาที่พบและสิง่ ทีไ่ ด้เรียนการจัดการในชั้นเรียน การสร้างตารางงานสาหรับนกั เรียนเพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสเข้ามาตรวจสอบงานที่ตนเองยังไม่ได้ส่ง ควรจะให้นักเรียนได้มีโอกาสทางานกลุ่มเพื่อทีจ่ ะได้แลกเปลีย่ นความรู้และความคิดเห็นกับเพื่อน การสร้างแบบเรียนและกิจกรรมในห้องเรียนควรจะให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการเลือกกิจกรรม เลือกการบ้าน และเลอื กกลุ่มคนที่เขาอยากทากิจกรรมในห้องเรียนด้วย นักเรียนควรจะรู้ว่าเขาถูกคาดหวังให้เรียนอะไรในวิชานน้ั เพือ่ จะได้รู้ว่าวิธีการเรียนทีเ่ ขาเรียนเหมาะสมหรือไม่ และเขาบรรลุเป้าหมายที่ต้ังเอาไว้หรือไม่ ครคู วรจะคานึกถึงความแตกต่างระหว่างนักเรียนว่า เด็กในชั้นเรียนมีความสามารถความชอบ และมีแรงจงู ใจในการเรียนแตกต่างกนั ถ้าหากกาหนดให้เด็กทางานแบบเดียวกันคนทกุ คนจะเกิดการเรียนรู้ไม่เท่ากนั นอกจากนีค้ รูควรจะให้ความสาคัญกับการสอนให้เด็กตระหนักว่าเขากาลังเรียนอะไร และเรียนอย่างไร ส่วนนักเรียนในระดับช้ัน ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปัญหาในการเรียนรู้ที่พบมากคือไม่สง่ งานตามระยะเวลาที่ครกู าหนดทาให้เกิดปัญหาทางด้านการเรียนการสอนด้วยเหตุผลดังกล่าวน้ี ผู้วิจัยจึงมีความสนใจทีจ่ ะศกึ ษาการปรบั พฤติกรรมความรับผิดชอบใน การทางานของนกั เรียนระดบั ช้ัน ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลยั การอาชีพคลองท่อม โดยการใช้การเสริมแรงทางบวก

7วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ ศกึ ษาการปรบั พฤติกรรมความรับผิดชอบในการทางานของนักเรียนระดับช้ัน ปวช ๓สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ วิทยาลัยการอาชีพคลองท่อม โดยการใช้การเสริมแรงทางบวกขอบเขตการวจิ ัย ๑. กลุ่มตวั อยา่ งนกั เรียนระดบั ชั้น ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จานวน ๕ คน วิทยาลัยการอาชีพคลองท่อม ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙๒.ตัวแปรทีศ่ ึกษาตัวแปรอิสระ ได้แก่การส่งงานของนักเรียนตวั แปรตาม ได้แก่ความคิดเห็น ความพึงพอใจ และความรับผิดชอบที่ดีต่อ การส่งงาน๓.เน้อื หาที่ใชใ้ นการวจิ ยัเวลา ได้แก่ช่วงเวลาการทดลองใช้ในชวั่ โมงเรียนการผลิตส่ือสิ่งพิมพ์ ตงั้ แตว่ ันที่ ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๕๙ – ๒๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๐สถานที่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ วิทยาลยั การอาชีพคลองท่อม๔.เนอ้ื หาที่ใช้ในการวจิ ยัหนา้ ที่ความรบั ผิดชอบที่ดตี อ่ การส่งงานที่ตนเองได้รับมอบหมายคานยิ ามศพั ท์เฉพาะ ๑. การสารวจการส่งงาน หมายถึง การสงั เกตและช่วยปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบที่ดตี อ่ การส่งงานของนกั เรียนในรายวิชาการผลิตสอื่ สิ่งพิมพ์ ๒.หนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบ หมายถึง การปลูกฝังความรับผิดชอบให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึงความสาคญั และเล็งเหน็ ถึงประโยชน์ตอ่ งานที่ตนเองได้รับมอบหมาย ที่สามารถนาไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจาวัน

8ประโยชนข์ องการวจิ ยั ๑. นกั เรียนมีความรบั ผิดชอบในการทางานโดยการใช้แรงเสริมทางบวก ๒. นกั เรียนตระหนักถึงความสาคัญเล็งเห็นถึงประโยชน์และเจตคติที่ดีต่อการส่งงานและสามารถนาชิ้นงาน/ใบงานไปใช้ในวิชาอื่นๆและผู้เรียนมีความรบั ผิดชอบเพิม่ มากขนึ้

9 บทที่ ๒เอกสารที่เกีย่ วขอ้ ง การสารวจครั้งน้ีคณะผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นพนื้ ฐานประกอบรายงานวิจยั ในชั้นเรียนเรื่องการศึกษาการปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบใน การทางานของนักเรียนระดับช้ัน ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยการใช้การเสริมแรงทางบวก จากเอกสารตา่ งๆดงั น้ี ๑. ความหมายของความคิดเห็น ๒.ความหมายของความพึงพอใจ ๓.ความหมายของความรับผิดชอบ ๔.งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องเอกสารทีเ่ กี่ยวขอ้ ง๑. ความหมายของความคิดเห็น ความคิดเห็นมีความหมายแตกต่างกัน ตามคานิยามของแต่ละบุคคลดังน้ี สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (2519) ระบุไว้ว่า ทัศนคติจะปรากฏอยู่ในความคิดเห็นเป็นเรื่องการตัดสนิ ใจเฉพาะประเด็นหน่งึ การเรียงลาดับจากคุณธรรมไปทัศนคตไิ ปถึงความคิดเห็นเป็นการก้าวจากเรื่องทัว่ ไปไปยงั เรื่องเฉพาะ จากสภาพจิตหรือความโน้นเอียงที่เริ่มกว้างๆและแคบเข้าจนในทีส่ ดุ แสดงออกมาเปน็ ความคิดเหน็ เฉพาะเรือ่ งความคิดเห็นอื่นกับสถานการณ์ บุคคลอาจมีความคิดเห็นขดั แย้งกบั ความยึดมนั่ ใจของตนเอง เนอ่ื งจากความกดดันในสถานการณ์เฉพาะหน้า และความคิดเห็นมกั มีผลซบั ซ้อนของทศั นคติหลายเรือ่ ง อุทยั หิรญั โต (2519) กล่าวว่า ความคิดเห็นของคนมีหลายระดับอย่างผิวเผิน หรืออย่างลึกซึ้งสาหรับความคิดเหน็ ทีเ่ ปน็ ทศั นคตนิ นั้ เป็นความคิดเห็นอย่างลึกซึ้งและติดตัวเป็นเวลานานเปน็ ความคิดท่ัวๆ ไปไม่เฉพาะอย่างซึง่ มีประจาตวั ของบคุ คลทกุ คน ส่วนความคิดเห็นเฉพาะอย่ างและมีอยู่เป็นเวลาส้ันเรียกว่า opinion ประคอง กรรณสตู (2520) กล่าวว่า ความคิดเห็นถือได้ว่าเป็นการแสดงออกทางด้านทศั นคตอิ ย่างหน่งึ แตก่ ารแสดงความคิดเห็นนน้ั มกั จะมีอารมณ์เป็นส่วนที่พร้อมจะมีปฏิกิริยาเฉพาะอย่างตอ่ สถานการณ์ภายนอก นศิ า (2523) สรุปว่า ความคิดเหน็ หมายถึง การแสดงออกด้านความรู้สึกของบุคคลต่อสิ่งหน่งึ สิง่ ใดด้วยการพูด การเขียน โดยมีพืน้ ฐานความรู้ และประสบการณ์เต็มที่ บุคคลได้รับตลอดสภาพแวดล้อมของบคุ คลนนั้ เปน็ หลักในการแสดงความคิดเห็น อุดล (2530) กล่าวว่า ความคิดเห็น หมายถึง ความรู้สึกเฉพาะตัวบุคคลที่ตอบสนองคาถามในเรือ่ งตา่ งๆ โดยวินิจฉัยไม่ได้ว่าถูกหรือผิด ดีหรือไม่ดี

10 หทยั รัตน์ (2530) กล่าวว่า ความคิดเห็น หมายถึง แนวคิดต่างๆซึ่งแสดงออกมาตามทรรศนะของบคุ คลที่มีต่อวัตถุ สิง่ ของ ตลอดจนบุคคลและสถานการณ์ ซึ่งมีความคิดเห็นเกิดจากพ้นื ฐานข้อเท็จและประสบการณ์ของบุคคลเกี่ยวกบั สิ่งนน้ั ๆ บญุ มี (2531) สรปุ ว่า ความคิดเหน็ หมายถึง ท่าทีความรู้สึกที่มีต่อบุคคลหรือสิ่งใดสิ่งหนง่ึ อนั เปน็ ผลที่เกิดจากการเรียนรู้หรือประสบการณ์ ซึ่งมีท้ังในลักษณะส่งเสริม คือสนใจพอใจนยิ มชมชอบ สนบั สนุน และปฏิบัติตามด้วยความเต็มใจ และลักษณ์ต่อต้านคือ ขัดแย้งเบือ่ หนา่ ยไม่สนใจ ไม่ร่วมมือ หรือไม่ปฏิบัติ สุกัญญา และสาราญ (2539) สรุปว่า ความคิดเห็น หมายถึง การแสดงออกซึ่งวิจารณญาณทีม่ ีต่อสิง่ ใดสิง่ หน่งึ โดยเฉพาะเปน็ การแสดงออกด้านความเชื่อ และความรู้สึกของแตล่ ะบุคคล โดยอาศัยพืน้ ความรู้ประสบการณ์ และสภาพแวดล้อม๒.ความหมายของความพึงพอใจ ความพึงพอใจเป็นปัจจัยที่สาคัญประการหน่ึงที่มีผลต่อความสาเร็จของง านที่บรรลุเป้าหมายทีว่ างไว้อย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็นผลจากการได้รับการตอบสนองต่ อแรงจูงใจหรือความตอ้ งการของแตล่ ะบุคคลในแนวทางที่เขาประสงค์ ความพึงพอใจโดยท่ัวไปตรงกับคาในภาษาองั กฤษว่า Satisfaction และยังมีผู้ให้ความหมายคาว่า “ความพึงพอใจ” พอสรปุ ได้ดังน้ี คณิต ดวงหัสดี (2537) ให้ความหมายไว้ว่า เปน็ ความรู้สกึ ชอบ หรือพอใจของบุคคลที่มีต่อการทางานและองค์ประกอ บหรือสิ่งจูงใจอื่นๆ ถ้างานที่ทางานและองค์ประกอบเหล่านั้นตอบสนองความตอ้ งการของบคุ คลได้ บุคคลนั้นจะเกิดความพึงพอใจในงานขึ้น จะอุทิศเวลาแรงกาย แรงใจ รวมทั้งสตปิ ญั ญาให้แก่งานของตนให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์อย่างมีคณุ ภาพ Gillmer (1965-254-255 อ้างถึงใน เพญ็ แข ช่อมณี .2544,หน้า 6) ได้ให้ความหมายไว้ว่าผลของเจตคตติ า่ งๆของบคุ คลที่มีต่อองค์กร องค์ประกอบของแรงงานและมีส่วนสัมพันธ์กับลกั ษณะงานและสภาพแวดล้อมในการทางานซึง่ ความพึงพอใจนั้นได้แก่ ความรู้สึกมีความสาเร็จในผลงาน ความรู้สกึ ว่าได้รับการยกย่องนับถือ และความรู้สกึ ว่ามีความก้าวหนา้ ในการปฏิบัตงิ าน Morse (1955 อ้างถึงใน สันติ ธรรมชาติ.หน้า 24) ได้กล่าวว่า ความพึงพอใจในงานหมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่ลดความตงึ เครียดของผู้ทางานให้น้อยลง ถ้ามีความตึงเครียดมากก็จะเกิดความไม่พึงพอใจในการทางานความเครียดเปน็ ผลรวมจากความต้องการของมนุษย์ เมื่อคราวใดความตอ้ งการได้รับการตอบสนองก็จะทาให้ความเครียดเป็นผลรวมจากความต้องการของมนษุ ย์ เมือ่ คราวใดความตอ้ งการได้รบั การตอบสนองก็จะทาให้ความเครียดลงน้อยลง ซึ่งเป็นผลทาให้เกิดคว ามพึงพอ ใจ จากคานิยามขอ ง Morse ทาให้มีนักวิชาการอีกหลายท่านได้ให้ความหมายไปในทิศทางทีค่ ล้ายคลึงกัน โดยเนน้ ว่าความพึงพอใจเกิดจากการได้รับการตอบสนองเช่น Hoy and Miskel กล่าวว่า ความพึงพอใจเปน็ ความรู้สกึ ทีด่ ตี อ่ งานซึ่งมักเกี่ยวข้องกับคุณค่าและความตอ้ งการของบุคคลด้วย Dessler อธิบายความพึงพอใจว่าเป็นระดับความรู้สึกต่องาน

11เพือ่ ความตอ้ งการที่สาคญั ของคนเรา เช่น ความมีสุขภาพดี มีความมั่นคง มีความสมบูรณ์พูนสุขมีพวกพอ้ ง มีคนยกย่องตา่ งๆเหล่าน้ีได้รับการตอบสนองแล้วทาให้มีผลต่องาน Silmer (1984,230 อ้างถึงใน ประภาภรณ์ สุรปภา .2544,หน้า 9) กล่าวไว้ว่า ความพึงพอใจเปน็ ระดับขั้นตอนความรู้สกึ ในทางบวกหรือทางลบของคนที่มีลักษณะต่างๆ ของงานรวมทั้งงานที่ได้รบั มอบหมาย การจัดระบบงานและความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน Strauss (1980 อ้างถึงใน เพ็ญแข ช่อมณี .2544,หนา้ 7) ได้ให้ความหมายความพึงพอไว้ว่าความพึงพอใจหมายถึง ความรู้สึกพอใจในงานที่ทาและเต็มใจที่จะปฏิบัติงานน้ันให้บรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กร คนจะรู้สกึ พอใจในงานที่ทาเมื่องานนั้นให้ผลประโยชน์ท้ังด้านวัตถุและด้านจิตใจ ซึง่ สามารถตอบสนองความตอ้ งการพนื้ ฐานของเขาได้ ในการศกึ ษาเกีย่ วกับความพึงพอใจนน้ั โดยท่วั ไปนยิ มศึกษากันในสองมิติ คือ มิติความพึงพอใจของผู้ปฏิบตั งิ านและมิติความพึงพอใจในการรับบริการในการศึกษาครั้งน้ีเป็นการศึกษาในรูปแบบผู้รับบริการ ซึง่ มีนักการศกึ ษาได้ให้ความหมายไว้ ดังน้ี Oskamps (1984, อ้างถึงใน ประภาภรณ์ สุรปภา 2544,หนา้ 11) ได้กล่าวไว้ว่า ความพึงพอใจมีความหมายอยู่ 3 นับ ๑. ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพการณ์ที่ผลการปฏิบัติจริงได้เป็นไปตามที่บุคคล คาดหวงั ไว้ ๒. ความพึงพอใจ หมายถึง ระดบั ของความสาเร็จที่เป็นไปตามความตอ้ งการ ๓. ความพึงพอใจ หมายถึง งานทีไ่ ด้ตอบสนองตอ่ คณุ ค่าของบุคคล จากความหมายที่กล่าวมาท้ังหมดข้างต้นผู้วิจัยสรุปได้ว่า “ความพึงพอใจ” หมายถึงความรู้สกึ ทีเ่ ปน็ การยอมรบั ความรู้สกึ ชอบ ความรู้สึกที่ยินดีกับการปฏิบัติงาน ท้ังการให้บริการและรบั บริการในทุกสถานการณ์ทกุ สถานที่แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ Bemard (1968 อ้างถึงใน อานวย บุญศรี,2531) ได้กล่าวถึง สิ่งจูงใจที่ใช้เป็นเครื่องกระตนุ้ บุคคลให้เกิดความพึงพอใจในงานไว้ 8 ประการ คือ ๑.สิ่งจงู ใจที่เป็นวตั ถุ ได้แก่ เงิน สิ่งของ หรือสภาวะทางกายที่ให้แก่ผู้ปฏิบั ติงานเป็นกา ตอบแทนชดเชย หรือเปน็ รางวัลที่เขาได้ปฏิบตั งิ านให้แก่หนว่ ยงานนนั้ มาเปน็ อย่างดี ๒.สิง่ จูงใจทีเ่ ปน็ โอกาสของบุคคลที่มิใช่วตั ถุ เปน็ สง่ิ จูงใจสาคญั ที่ช่วยส่งเสริมความร่วมมือ ในการทางานมากกว่ารางวัลที่เป็นวัตถุ เพราะสิ่งจูงใจที่เป็นโอกาสน้ีบุคลากรจะได้ รับ แตกต่างกัน เช่น เกียรตภิ ูมิ การใช้สิทธิพิเศษ เป็นตน้ ๓.สภาพทางกายที่พึงปรารถนา หมายถึง สิง่ แวดล้อมในการปฏิบตั งิ าน ได้แก่ สถานที่ทางาน เครือ่ งมือการทางาน สิง่ อานวยความสะดวกในการทางานตา่ งๆ ซึง่ เปน็ ส่งิ อันก่อให้เกิดความสขุ ทางกายในการทางาน

12 ๔.ผลประโยชน์ทางอุดมคติ หมายถึง สมรรถภาพของหน่วยงานที่สนองความต้องการของบุคคลด้านภาคภูมิใจที่ได้แสดงฝีมือ การได้มีโอกาสช่วยเหลือครอบครัวตนเองและผู้อื่น ทั้งได้แสดงความภักดีตอ่ หนว่ ยงาน ๕.ความดึงดดู ใจในสงั คม หมายถึง ความสมั พนั ธ์ฉันท์มิตร ถ้าความสัมพันธ์เป็นไปด้วยดีจะทาให้เกิดความผกู พันและความพอใจที่ร่วมงานกับหนว่ ย ๖.การปรบั สภาพการทางานให้เหมาะสมกับวิธีการและทัศนคติของบุคคล หมายถึง การปรบั ปรงุ ตาแหนง่ วิธีทางานให้สอดคล้องกับความสามารถของบุคลากร ๗.โอกาสที่ร่วมมือในการทางาน หมายถึง การเปิดโอกาสให้บุคลากรรู้สึกว่ามีส่วนร่วมในงานเป็นบคุ คลสาคญั คนหน่งึ ของหนว่ ยงาน มีความรู้สกึ เท่าเทียมกันในหมู่ผู้ร่วมงานและมีกาลังใจในการปฏิบตั งิ าน ๘.สภาพของการอยู่ร่วมกนั หมายถึง ความพึงพอใจของบุคคลในด้านสังคมหรือความมน่ั คงในการทางานHerzberg (1959, อ้างถึงใน เพญ็ แข ช่อมณี 2544,หนา้ 19) ได้ศึกษาทดลองเกี่ยวกับการจูงใจในการทางานโดยการสมั ภาษณ์วิศวกรในเมืองพิทส์เบอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลการศึกษาทดลองสรปุ ได้ว่าสาเหตุที่ทาให้วิศวกรและนกั บัญชีเกิดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจในทางนั้นมีสององค์ประกอบคือ1.องค์ประกอบกระตนุ้ (Motivation Factors) หรือปจั จยั จูงใจมีลักษณะสัมพันธ์กับเรือ่ งของงานโดยตรงเปน็ ส่งิ ที่จูงใจบคุ คลให้มีความตงั้ ใจในการทางาน ปัจจัยน้ีได้แก่ 1.1 ความสาเร็จของงาน หมายถึง การที่บคุ คลสามารถทางานได้เสร็จสนิ้ และประสบ ผลสาเร็จ 1.2 การได้การยอมรบั นบั ถือ หมายถึง การทีบ่ คุ คลได้รับการยอมรับนับถือไม่ว่าจาก กลุ่มเพื่อนผู้บังคับบัญชา หรือจากกลุ่มบุคคลอื่น 1.3 ลักษณะของงาน หมายถึง ความรู้สกึ ทีด่ หี รือไม่ดขี องบคุ คลที่มีต่อลักษณะของงาน 1.4 ความรับผิดชอบ หมายถึง ความพึงพอใจที่เกิดขนึ้ จากการที่ได้รับการมอบหมายให้ รับผิดชอบงานใหม่ๆ และมีอานาจรบั ผิดชอบอย่างเตม็ ที่ 1.5 ความก้าวหนา้ ในตาแหนง่ หนา้ ทีก่ ารงาน หมายถึง การเปลีย่ นแปลงในสถานะหรือ ตาแหนง่ ของบคุ ลากรในองค์กร2.องค์ประกอบค่าจุน (Hygine Factors) หรือปจั จยั ค่าจุนเปน็ ปัจจัยทีเ่ กี่ยวข้องกบั สิง่ แวดล้อมใน การทางานหรือส่วนประกอบของงาน ทาหนา้ ทีป่ ้องกันไม่ให้คนเกิดความไม่พึงพอใจในการ ทางาน กล่าวคือ หากขาดปจั จัยเหล่าน้ีจะทาให้เกิดความไม่พึงพอใจในการทางานแตแ่ ม้ว่าจะ มีปัจจัยเหล่าน้ีอยู่กไ็ ม่อาจยืนยันได้ว่าเป็นส่งิ จูงใจของผู้ปฏิบัตงิ าน ปัจจัยน้ีได้แก่ 2.1 เงินเดอื น หมายถึง ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจในเงินเดอื นหรืออตั ราการเพิ่ม เงินเดือน

132.2 โอกาสทีจ่ ะได้รบั ความก้าวหนา้ ในอนาคตนอกจากจะหมายถึง การที่บคุ คลได้รับการ แตง่ ตงั้ โยกย้ายตาแหนง่ ภายในองค์กรแล้ว ยังหมายถึงสถานการณ์ที่บคุ คลสามารถ ได้รับความก้าวหนา้ ในทกั ษะหรือวิชาชีพของเขาดังนนั้ จึงหมายถึงการทีบ่ ุคคลได้รับสิ่ง ใหม่ๆ ในการเพิ่มพนู ทกั ษะที่จะช่วยเออื้ ตอ่ วิชาชีพของเขา2.3 ความสัมพนั ธ์กับผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชา หมายถึง การตดิ ตอ่ ไม่ว่าจะเป็นกิริยาหรือวาจาที่ แสดงถึงความสมั พนั ธ์อนั ดตี อ่ กนั2.4 สถานะของอาชีพ หมายถึง ลกั ษณะของงานหรือสถานะที่เปน็ องค์ประกอบทาให้ บคุ คลเกิดความรู้สกึ ต่องาน เช่น การมีรถประจาตาแหนง่ เปน็ ตน้2.5 ความสัมพนั ธ์กบั ผู้บังคบั บญั ชา หมายถึง การตดิ ตอ่ พบปะกนั โดยกิริยาหรือวาจา แตม่ ิได้รวมถึงการยอมรับนับถือ2.6 นโยบายและการบริหารงานองค์กร หมายถึง การจัดการและการบริหารงานของ องค์กร2.7 ความสมั พนั ธ์กับเพือ่ นร่วมงาน2.8 สถานภาพการทางาน ได้แก่ สถานภาพทางกายภาพทีเ่ อือ้ ตอ่ ความเปน็ สุขในการ ทางาน2.9 ความเป็นสว่ นตัว หมายถึง สถานการณ์ซึ่งลักษณะบางประการของงานสง่ ผลตอ่ ชีวิตส่วนตวั ในลกั ษณะของผลงงานนนั้ เป็นองค์ประกอบหน่งึ ทีท่ าให้บคุ คลมีความรู้สึก อย่างใด อย่างหน่งึ ตอ่ งานของเขา2.10 ความมั่นคงในงาน หมายถึง ความรู้สกึ ของบุคคลที่มีความมนั่ คงของงานความมน่ั คง ในองค์กร2.11 วิธีการปกครองบงั คบั บัญชา หมายถึง ความรู้ความสามารถของผู้บงั คบั บญั ชาใน การดาเนนิ งานหรือความยุตธิ รรมในการบริหารงาน สรปุ ได้ว่า ปัจจัยจูงใจเป็นปจั จัยที่ก่อให้เกิดความพึงพอใจในการปฏิบตั งิ าน ส่วน ปัจจยั ค้าจนุ จะเป็นปัจจัยทีป่ ้องกนั ไม่ให้บุคคลเกิดความเบือ่ หน่ายหรือรู้สกึ ไม่พอใจใน การทางานซึง่ ทฤษฎีสององค์ประกอบของ Herzberg น้ีเชื่อว่าการสนองความ ตอ้ งการของมนุษย์แบ่งเปน็ 2 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบที่ 1 หรือปัจจัยจงู ใจ ที่สร้างความพึงพอใจ เปน็ ความตอ้ งการขั้นสูงประกอบด้วยลักษณะงาน ความสาเร็จของงาน การยอมรบั นบั ถือ การได้รบั การยกย่องและสถานภาพ ส่วน องค์ประกอบที่ 2 หรือปจั จยั ค้าจนุ หรือองค์ประกอบที่สร้างความไม่พึงพอใจ เป็น ความตอ้ งการขั้นตา่ ประกอบด้วยสภาพการทางาน การบงั คับบญั ชา ความสมั พนั ธ์ ระหว่างบุคคล นโยบายและการบริหารงาน ความมนั่ คงในงานและเงินเดือน ไม่เป็น การสร้างเสริมบุคคลให้ปฏิบัติดีขนึ้ แตต่ อ้ งดารงรกั ษาไว้เพื่อความพึงพอใจในขั้นสงู ตอ่ ไป

143.ความหมายของความรับผิดชอบ ความรบั ผิดชอบ หมายถึง ลกั ษณะของบุคคลที่แสดงออกถึงความเอาใจใส่จดจ่อต้ังใจมุ่งมนั่ ตอ่ หนา้ ทีก่ ารงานศึกษาการเปน็ อยู่ของตนเอง และผู้อยู่ในความดูแลตลอดจนสังคมอย่างเตม็ ความสามารถ เพื่อให้บรรลุผลสาเร็จตามความมุ่งหมายในเวลาที่กาหนด ยอมรับผลการกระทาท้ังผลดีและผลเสียที่เกิดขึ้น รวมท้ังปรับปรุงการปฏิบัตงิ านให้ดขี นึ้ตัวบ่งชีค้ ณุ ลกั ษณะความรับผิดชอบ1. มีความพยายามปฏิบัติภารกิจหนา้ ทีก่ ารงาน การศกึ ษา หรือหนา้ ทีท่ ีไ่ ด้รบั มอบหมายอย่างเต็ม ความสามารถ โดย 1.1 ไม่หลีกเลีย่ งงาน 1.2 ศกึ ษาหาความรู้เพิม่ เตมิ 1.3 ปฏิบัตงิ านตามแผนที่วางไว้จนสาเร็จ2. ตรงตอ่ เวลา 2.1 ทางานเสรจ็ ตามเวลาทีก่ าหนด 2.2 ไม่มาเรียนสาย 2.3 ส่งงานตามกาหนด 2.4 ไม่ผิดเวลานัดหมาย3. ปฏิบัตติ ามบทบาทหนา้ ทีต่ นเอง 3.1 ช่วยงานครอบครวั 3.2 ช่วยกิจกรรมของโรงเรียน,มหาวิทยาลัย 3.3 ช่วยกิจกรรมของชมุ ชน 3.4 ดแู ลสุขภาพอนามยั ของตนเอง 3.5 ปฏิบตั ติ ามกฎของชมุ ชน 3.6 ไม่ทากิจกรรมอื่นในขณะทีอ่ าจารย์สอน 3.7 เตรียมอปุ กรณ์พร้อมทีจ่ ะเรียน4. ทางานโดยคานงึ ถึงคุณภาพของงาน 4.1 มีข้ันตอนในการทางาน 4.2 ปฏิบตั งิ านตามข้ันตอน 4.3 บอกจุดเด่น จุดด้อย ของงานที่ทา 4.4 เสนอแนะแนวทางแก้ไข ปรับปรงุ งานให้ดขี นึ้

155. ดูแลรกั ษาสาธารณสมบัติ 5.1 ไม่ขีดเขียนหรือทาลายทรพั ย์สินของมหาวิทยาลัยและชมุ ชน 5.2 ตักเตอื นหรือห้ามผู้อื่นไม่ให้ทาลายสาธารณสมบตั ิ 5.3 ร่วมกิจกรรมดแู ลรกั ษาสาธารณสมบัติ6. ยอมรบั การกระทาของตนเองและปรบั ปรุงแก้ไข 6.1 รบั ฟังคาตชิ มของผู้อืน่ 6.2 รบั ข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ งานวธิ ีการพฒั นาความรับผิดชอบ 1. เป็นแบบอย่างทีด่ ี 2. พัฒนาในช้ันเรียน เช่น ใช้บทบาทสมมุติ กรณีตวั อย่าง สถานการณ์จาลอง เป็นตน้ 3. สร้างเจตคตทิ ี่ดตี อ่ ความรบั ผิดชอบ 4. กาหนดงานให้ทา 5. มีสว่ นร่วมในการกาหนดกฎกติกาและระเบียบต่างๆ 6. สร้างแรงจูงใจ และเสริมแรงให้เกิดความรับผิดชอบวธิ ีการประเมินความรับผิดชอบ 1. ประเมินจากงานที่ทา 2. สังเกตจากพฤตกิ รรม 3. ประเมินโดยใช้วิธีการทีห่ ลากหลาย เช่น การรายงานตนเอง ประเมินโดยผู้สอน และ ประเมินโดยเพื่อน 4. ผู้สอนและนกั ศกึ ษาร่วมกันสร้างเกณฑ์การประเมิน๔.งานวิจยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ งชื่อเรือ่ ง : การศกึ ษาการปรบั พฤติกรรมความรบั ผิดชอบการส่งงานของนกั เรียนระดบั ชั้น ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ โดยการใช้การเสริมแรงทางบวกชือ่ ผู้วจิ ัย : นางสาวสุณา เชาว์ช่างกลมุ่ ตัวอย่าง นักเรียนระดบั ช้ัน ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ วิทยาลัยการอาชีพคลองท่อม ที่มีพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการทางานจานวน ๓ คนเครื่องมือทีใ่ ชใ้ นงานวิจยั แบบบนั ทึกการสังเกตการทางานในแตล่ ะวัน

16ผลการวจิ ัยพบวา่ การให้แรงเสริมทางบวก คือ การให้ดาวสามารถลดพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการทางานของนักเรียนท้ัง ๓ คน ได้อย่างดี เพราะนกั เรียนมีความพึงพอใจที่ได้รับดาวเป็นแรงเสริม มีความกระตอื รือร้นในการทางานมากขนึ้ เพื่อจะได้รับรางวัลหรือคาชมเชยจึงสามารถนาวิธีการน้ีไปใช้กบั การปรับพฤตกิ รรมของนกั เรียนคนอืน่ ๆได้ต่อไป

17 บทที่ ๓วธิ ีการดาเนนิ การวจิ ยัประชากร นักเรียนระดบั ช้ัน ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จานวน ๕ คน วิทยาลัยการอาชีพคลองท่อม ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙กลุ่มนักเรียนตวั อย่าง นักเรียนระดับชั้น ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จานวนทั้งหมด ๕ คนวิทยาลัยการอาชีพคลองท่อม ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ มีนกั เรียนจานวน ๓ คน ที่ขาดการส่งงานในรายวิชาการผลิตสอ่ื สิง่ พิมพ์ จานวน ๓ งานขนึ้ ไปเครือ่ งมือทีใ่ ชก้ ารวจิ ยั เครือ่ งมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมลู ในครั้งน้ีที่ได้สร้างขนึ้ ดังน้ี ๑.แบบบนั ทึกผลการส่งงาน เรือ่ งโปรแกรมสาเร็จรูปสาหรับส่ือสิ่งพิมพ์ ๒.แบบบันทึกผลการส่งงาน เรือ่ งเทคนคิ การจัดสิ่งพิมพ์ ๓.แบบบันทึกผลการส่งงาน เรื่องการสร้าง Object ประกอบสิง่ พิมพ์ ๔.แบบบันทึกผลการส่งงาน เรื่องการจดั รูปแบบพื้นหลังส่ือสิง่ พิมพ์ ๕.แบบบนั ทึกผลการส่งงาน เรื่องการจดั รูปแบบสอ่ื สิง่ พิมพ์ดว้ ยโทนสีข้ันตอนการดาเนนิ การวจิ ยั ๑. คดั เลอื กนกั เรียน ๓ คน จากนักเรียนระดับชั้น ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจจานวนทั้งหมด ๕ คน ๒.สารวจพฤติกรรมทาการสงั เกต และกวดขันเรื่องความรบั ผิดชอบ ๓.สังเกตความรับผิดชอบของนักเรียนในการส่งงานในการผลิตสอ่ื สิ่งพิมพ์ ๔.บนั ทึกผลการส่งงานของนักเรียนในกลุ่มที่ทาการวิจัยในแบบบั นทึกงานของนักเรียนระดบั ชั้น ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

18การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ดาเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองกับกลุ่มตัวอย่างจานวน ๓ คน โดยจดั ทาตารางส่งงานของนกั เรียนระดับชั้น ปวช.๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลยั การอาชีพคลองท่อม ในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมลู ผู้วิจยั ดาเนนิ การดงั ตอ่ ไปน้ี 1. จัดทาตารางส่งงานของนกั เรียนระดับชั้น ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพคลองท่อม ในรายวิชาการผลิตสอ่ื สิ่งพิมพ์ 2. รวบรวมข้อมลู จากการส่งงานของนกั เรียนระดับช้ัน ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลยั การอาชีพคลองท่อม ในรายวิชาการผลิตสื่อสิง่ พิมพ์ 3. ส่งบนั ทึกข้อมลู จากการส่งงานอย่างตอ่ เน่อื ง หลงั จากการให้แรงเสริม 4. นาข้อมูลจากการส่งงานของนักเรียนระดับชั้น ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยการอาชีพคลอ งท่อม ในรายวิชาการผลิตสื่อสิ่ง พิมพ์ ส่งก่อนการให้แรงเสริมมาเปรียบเทียบกับหลังจากการให้แรงเสริม

19 บทที่ 4 ผลการวจิ ยั ผู้วิจยั ได้ดาเนนิ การทาการวิจัยตามข้ันตอนต่างๆ ที่เตรียมไว้และนาไปใช้กั บนักเรียนในนกั เรียนระดบั ชั้น ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพคลองท่อม ในรายวิชาการผลิตส่ือสิง่ พิมพ์ ผลการสารวจพฤติกรรมการส่งงานวิชาการขายปลีกและการขายส่งนักเรียนระดับชั้น ปวช๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ นกั เรียนจานวน ๕ คน พบว่ามีนักเรียนจานวน ๓ คน ที่มีผลการส่งงานนอ้ ยมากจึงสนใจจะนานกั เรียนกลุ่มน้ีมาทดลองแก้ปัญหาการส่งงานตารางงานที่ ๑ การส่งงานของนกั เรียนในวชิ าการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ลาดบั รายชือ่ -นามสกุล ขอ้ มลู การส่งงาน หมายเหตุ๑ นางสาวสายฝน ผิวจันทร์ ขาดงาน ๓ งาน๒ นางสาวสวุ รรณี กลิ่นแย้ม ขาดงาน ๔ งาน จากทั้ง ๕๓ นายปรีชา กลิน่ แก้ว ขาดงาน 3 งาน ชิ้นงานตารางที่ ๒ แบบบันทึกผลการสง่ งาน เรื่องเทคนคิ การจดั สิง่ พิมพ์ รายชือ่ นักเรียน การสง่ งานทา้ ย การติดตามงาน การติดตามงานนางสาวสายฝน ครง้ั ที่ ๒ คร้งั ที่ ๓ผิวจนั ทร์ ช่ัวโมง ขาดเรียนจึงได้ฝาก มีแบบฝึกหัดท้ังหมด ให้ทาแบบฝึกหดั ที่นางสาวสวุ รรณี เพื่อนไปบอกถึง ๑๐ ข้อ ทาส่งเพียง ๘ เหลือในชัว่ โมงเรียนกลิน่ แย้ม กาหนดการส่งงานใน ข้อ ทาส่งครบและถกู ตอ้ งนายปรีชา ชัว่ โมงตอ่ ไปให้กลิน่ แก้ว เรียบร้อย ทาครบทกุ ข้อแตท่ า แบบฝึกหดั ไม่ถกู ต้อง ขาดเรียนจึงฝากเพือ่ น ๒ ข้อให้กลับไปแก้ไข ไปบอกถึงกาหนดการ และส่งในครั้งตอ่ ไป ส่งงานในชว่ั โมงตอ่ ไป ทาแบบฝึกหัดเสรจ็ ให้เรียบร้อย ตามที่ครูส่งั ขาดเรียนจึงฝากเพื่อน ไปบอกถึงกาหนดการ ส่งงานในช่วั โมงตอ่ ไป ให้เรียบร้อย

20ตารางที่ ๓ แบบบันทึกผลการส่งงาน เรื่องการสร้าง Object ประกอบสิ่งพิมพ์ รายชื่อนกั เรียน การสง่ งานทา้ ย การติดตามงาน การติดตามงานนางสาวสายฝน ชว่ั โมง ครง้ั ที่ ๒ คร้ังที่ ๓นางสาวสุวรรณี ขาดเรียนจึงฝากเพือ่ น ปฏิบตั งิ านครบตาม ปฏิบตั งิ านครบตามนายปรีชา ไปบอกถึงกาหนดการ คาส่งั ที่ครูกาหนดในใบ คาส่งั ทีค่ รูกาหนดใน ส่งงานในช่วั โมงตอ่ ไป งาน แบบฝึกหดั ให้เรียบร้อย ขาดเรียนในสัปดาห์ถัด ปฏิบตั งิ านครบตาม ขาดเรียนจึงฝากเพื่อน มาจึงได้ฝากเพือ่ นไป คาสั่งที่ครกู าหนดใน ไปบอกถึงกาหนดการ บอกถึงกาหนดการส่ง ส่งงานในช่วั โมงตอ่ ไป งานในชั่วโมงตอ่ ไปให้ แบบฝึกหัด ให้เรียบร้อย เรียบร้อย ขาดเรียนจึงฝากเพื่อน ปฏิบัตงิ านครบตาม ไปบอกถึงกาหนดการ คาส่ังทีค่ รกู าหนดในใบ ส่งงานในช่ัวโมงตอ่ ไป งาน ให้เรียบร้อยตารางที่ ๔ แบบบันทึกผลการส่งงาน เรือ่ งการจัดรปู แบบพื้นหลังสือ่ สิ่งพิมพ์ รายชือ่ นกั เรียน การส่งงานท้าย การติดตามงาน การติดตามงานนางสาวสายฝน ช่วั โมง ครั้งที่ ๒ คร้งั ที่ ๓นางสาวสุวรรณี - ปฏิบตั งิ านครบตาม ปฏิบตั งิ านครบตามนายปรีชา คาสัง่ ที่ครูกาหนด คาส่ังที่ครกู าหนดใน - แบบฝึกหัด แบบฝึกหัด ขาดเรียนจึงฝากเพื่อน ปฏิบตั งิ านครบตาม - ไปบอกถึงกาหนดการ คาสั่งทีค่ รูกาหนดใน ส่งงานในชั่วโมงตอ่ ไป แบบฝึกหัด ให้เรียบร้อย ปฏิบตั งิ านครบตาม ปฏิบัตงิ านครบตาม คาสง่ั ที่ครกู าหนดใน คาสั่งทีค่ รูกาหนดในใบ ใบงาน งาน

21ตารางที่ ๕ แบบบนั ทึกผลการสง่ งาน เรื่องการจดั รูปแบบสื่อสิ่งพิมพด์ ว้ ยโทนสีรายชื่อนกั เรียน การส่งงานท้าย การติดตามงาน การติดตามงาน ช่วั โมง คร้งั ที่ ๒ ครัง้ ที่ ๓นางสาวสายฝน ขาดเรียนจึงฝากเพื่อน ปฏิบตั งิ านครบตาม ไปบอกถึงกาหนดการ คาสง่ั ที่ครูกาหนดใน - ส่งงานในช่ัวโมงตอ่ ไป แบบฝึกหดั ให้เรียบร้อยนางสาวสุวรรณี ปฏิบตั งิ านครบตาม ปฏิบัตงิ านครบตาม คาสั่งทีค่ รกู าหนดใน คาสัง่ ทีค่ รกู าหนดใน - ใบงาน แบบฝึกหดันายปรีชา ขาดเรียนจึงฝากเพื่อน ปฏิบตั งิ านครบตาม ไปบอกถึงกาหนดการ คาสั่งทีค่ รูกาหนดใน - ส่งงานในช่วั โมงตอ่ ไป แบบฝึกหัด ให้ครบการวิจัยครั้งน้ีเป็นการศกึ ษาผลการศกึ ษาผลการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการศกึ ษาครั้งน้ีเปน็การศกึ ษาคร้ังน้ีเปน็ การศกึ ษาจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ผลการวิจัย ดงั น้ี ระยะที่ ๑ : เปน็ ระยะเส้นฐานพฤติกรรม ซึง่ ยังไม่มีการเสริมด้วยการให้  และผู้ที่ถูกสงั เกตยังไม่รู้ตวั ใช้เวลา ๒ สปั ดาห์นักเรียนจึงมีพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการทางานโดยเฉพาะตารางที่ ๖ แบบบนั ทึกสภาพปัญหาและการปรับพฤติกรรมลาดับที่ ชือ่ -สกลุ สภาพปญั หา การปรบั พฤติกรรม ไม่ทาการบ้านมาส่ง เรียกมาตักเตือนหลายคร้ัง๑ นางสาวสายฝน ผิวจันทร์ มาสายบ่อย คอยกระตุ้นให้ทางานอยู่ตลอดเวลา ไม่ทาการบ้านมาส่ง เรียกมาตกั เตือนหลายคร้ัง๒ นางสาวสุวรรณี กลิ่นแย้ม เข้าเรียนปกติ คอยกระตุ้นให้ทางานอยู่ตลอดเวลา ไม่ทาการบ้านมาส่ง เรียกมาตกั เตือนหลายครั้ง๓ นายปรีชา กลิน่ แก้ว เข้าเรียนปกติ คอยกระตุ้นให้ทางานอยู่ตลอดเวลา

22 ระยะที่ ๒ : เปน็ ระยะที่เริ่มใช้  ในการปรับพฤติกรรมเป็นเวลา ๓ สัปดาห์ โดยแจ้งเงือ่ นไขให้ผู้รับการปรับพฤติกรรมได้รบั ทราบว่าจะมีการให้  และจะให้  ในแต่ละวันที่นักเรียนรบั ผิดชอบในการทางานเสร็จตามเวลาที่กาหนด โดยมีแบบบันทึกพฤติกรรมติดบนกระดานในห้องเรียน ถ้านักเรียนคนใดได้  มากที่สุดเมื่อถึงเวลาที่กาหนดจะได้รับรางวัลตามกติกาที่กาหนดไว้ จากการสงั เกตนักเรียนมีความพึงพอใจกับการได้รับแรงเสริมเป็น  ท้ัง ๓ คน มีความกระตอื รือร้นและรบั ผิดชอบในการทางานเสร็จตามกาหนดเวลาของแต่ละวัน แต่บางวันนกั เรียน บางคนขาดความรับผิดชอบในการทางาน แตพ่ อเห็นเพือ่ นได้  ก็จะมีความรับผิดชอบในการทางานดขี ึน้ ระยะที่ ๓ : เปน็ สปั ดาห์ที่ ๕ ขอการปรบั พฤติกรรม และระยะน้ีจะงดการให้  แต่จะให้แรงเสริมทางสงั คมแทนโดยการกล่าวคาชมเชย การสัมผัส และการพยักหน้า นักเรียนมีความรับผิดชอบในการทางานมากขึน้ และสามารถทางานได้เสร็จตามที่กาหนดเวลาตารางที่ ๗ แบบบนั ทึกพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทางาน กาหนดการจัดการเรียนการสอนภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ วนั ที่ ๑๗ ตุลามคม ๒๕๕๙ – วนั ที่ ๒๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๐ ชื่อนกั เรียน / เวลา นางสาวสายฝน นางสาวสุวรรณี นายปรีชา กลิน่ แก้ว ผิวจันทร์ กลิ่นแย้ม สปั ดาหท์ ี่ ๒  ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๙ สัปดาห์ที่ ๕  ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ สัปดาหท์ ี่ ๗ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ สัปดาห์ที่ ๙  ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๕๙ สปั ดาหท์ ี่ ๑๑ ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๕๙หมายเหตุ สญั ลกั ษณ์  ขาดความรบั ผดิ ชอบในการทางาน  มคี วามรบั ผดิ ชอบในการงาน  ให้คาชมเชย

23 บทที่ ๕อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะสรปุ ผลการวจิ ยั การให้แรงเสริมทางบวกคือ การให้ดาวสามารถลดพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการทางานของนักเรียนทั้ง ๓ คน ได้เป็นอย่างดี เพราะนกั เรียนมีความพึงพอใจที่ได้รับดาวเป็นแรงเสริม มีความกระตอื รือร้นในการทางานมากขึ้น เพื่อจะได้รางวัลหรือคาชมเชยจึงสามารถ นาวิธีการน้ีไปใช้กบั การปรบั พฤตกิ รรมของนกั เรียนคนอื่นๆ ได้ต่อไปอภิปรายผล จากผลของงานวิจัยสามารถอภิปรายผลได้ ๒ ประการ ดังน้ี ๑.จะเหน็ ได้ว่าการที่ครูให้การเสริมแรงด้วยการเรียนในรายวิชาการผลิตส่ือสิ่งพิมพ์ มีกาลงั ใจและทาคะแนนได้ดขี ึน้ และสามารถลดพฤตกิ รรมการขาดความรับผิดชอบในการทางานได้อย่างดี ๒.จากแนวคิดและวิธีการให้แรงเสริมทางบวกในงานวิจัยน้ีสามารถนาไปประยุกต์ใช้ และปรบั ปรงุ เพื่อใช้ในรายวิชาอื่นๆได้ข้อเสนอแนะ ๑.ควรมีการสารวจการส่งงานในทุกรายวิชาที่เปิดสอนในระดับช้ัน ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และเพิ่มวิธีการแก้ปัญหาและหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการส่งงานล่าช้าหรือไม่สง่ งานเลย ๒.ควรส่งรายชื่อผู้เรียนที่มีปัญหาเรื่องการส่งงานให้ครูในระดับช้ัน ปวช ๓ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ เพื่อดาเนนิ การแก้ปญั หาในลาดับตอ่ ไป ๓.ควรจะมีการสารวจการส่งงานในรายวิชาอื่นๆ และควรมีการเปรียบเทียบสภาพปัญหาและควรประเมินผลการเรียนที่สะท้อนความรู้ความสามารถของผู้เรียนได้ตรงตามจุดประสงค์ที่กาหนด และนาผลการประเมินมาดาเนนิ แก้ไขด้วยการวิจยั ในช้ันเรียนอย่างต่อเน่อื ง ๔.ควรจัดการทาวิจัยในชั้นเรียนเพราะเป็นหัวใจของการจัดการเรียนรู้ที่ครูต้องทาเพื่อแก้ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ กับผู้เรียนอย่างตอ่ เน่อื ง

24 บรรณานกุ รมกฤษณา ศักดิศ์ รี. จิตวิทยาการศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร :สานกั พิมพ์นิยมวิทยา, 2530.กาญจนา วังฆายุ. การวิจยั ในชั้นเรียนเพือ่ พฒั นาการเรียนการสอน, 2544.ประวตั ิ เอราวรรณ์. การวิจัยในช้ันเรียน กรงุ เทพมหานคร:สานกั พิมพ์ดอกหญ้าวิชาการ จากดั ,2542พรนภิส ดาราสว่าง(2545), การสร้างบรรยากาศในห้องเรียนที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้, คณะศลิ ปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี.สุวิมล ว่องวาณิช .(2525) . การวิจยั ปฏิบัตกิ ารในช้ันเรียน กรุงเทพมหานคร : คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook