Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CM1_คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

CM1_คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

Published by Suna Chowchang, 2017-06-12 12:16:31

Description: CM1_คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

Search

Read the Text Version

บทที่ 1 ความรู้เบอ้ื งต้นเกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม 1.นักเรียนมคี วามร้เู บ้ืองตน้ เก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์ 2.นกั เรยี นมีเข้าใจกระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์ 3.นกั เรยี นสามารถบอกประเภทของคอมพิวเตอร์เนอ้ื หาสาระ 1.ความหมายของคอมพิวเตอร์ 2.ววิ ฒั นาการของคอมพวิ เตอร์ 3.ยุคของคอมพิวเตอร์ 4.ลกั ษณะเฉพาะของคอมพวิ เตอร์ 5.ประเภทของคอมพิวเตอร์ 6.ลกั ษณะงานท่เี หมาะกบั เครื่องคอมพวิ เตอร์ 7.องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์สาระสาคัญ ววิ ัฒนาการในเร่อื งของเทคโนโลยีในปจั จุบันมีความก้าวหน้าและพัฒนาไปไกลจนทาให้มี ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นจานวนมาก จนเป็นส่วนหน่ึงในชีวิตประจาวันของหลายๆ คนที่ต้องพบเจอกับคอมพิวเตอร์ การท่ีผู้ใช้นั้นจะสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ใช้ควรท่ีจะมี ความรู้ในข้ันพืน้ ฐานของคอมพิวเตอร์ ซ่ึงได้แก่ ความหมาย ระบบคอมพิวเตอร์ วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีจะทาให้ผู้ใช้เกิดความ ชัดเจนและเร็งเหน็ ถงึ ประโยชนข์ องคอมพวิ เตอรไ์ ดเ้ ปน็ อย่างดีความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ( Computer ) คอื อุปกรณ์ซ่ึงประกอบด้วยช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ทาหน้าที่รับข้อมูลหรือชุดคาส่ัง ( Program ) แล้วทาการประมวลผล ( Process ) ข้อมูลตามชุดคาส่ังจนได้ผลลัพธ์แล้วแสดงผลออกมาตามทผี่ ้ใู ชต้ อ้ งการได้ ( Output ) คอมพิวเตอร์และการบารุงรกั ษา 2204-2005 1

ววิ ัฒนาการของคอมพิวเตอร์ เคร่ืองคานวณในยคุ ประวัตศิ าสตร์ เครื่องคานวณเคร่ืองแรกของโลก ได้แก่ ลูกคิด มีการใช้ลูกคิดในหมู่ชาวจีนมากกว่า 7000 ปี และใช้ในอียิปต์โบราณมากกวา่ 2500 ปี ลกู คดิ ของชาวจนี ประกอบดว้ ยลูกปัดร้อยอยู่ใน ราวเป็นแถวตามแนวต้ัง โดยแต่ละแถวแบ่งเป็นครึ่งบนและล่าง คร่ึงบนมีลูกปัด 2 ลูก คร่ึงล่างมี ลกู ปดั 5 ลูก แต่ละแถวแทนหลักของตัวเลข เครอื่ งคานวณกลไกท่ีรูจ้ ักกันดี ได้แก่ เครื่องคานวณ ของปาสคาลเปน็ เครื่องทบ่ี วกลบด้วยกลไกเฟืองที่ทบตอ่ กัน เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal) นัก คณติ ศาสตร์ชาวฝร่ังเศส ได้ประดิษฐ์ข้ึนในปี พ.ศ. 2185 ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2337 กอดฟรดิ ฟอนไลบ์นิช (Gottfried von Leibniz) ชาวเยอรมันได้ ประดิษฐ์เคร่ืองคานวณทม่ี ขี ีดความสามารถสูงสามารถคูณและหารได้และบุคคลผู้หนึ่งท่ีมีบทบาท สาคญั ต่อการผลติ เครื่องจักรคานวณคือ ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ชาวอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2343 เขาประสบความสาเร็จสร้างเครอื่ งคานวณ ที่เรียกวา่ Difference engine ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2439 ฮอลเลอรชิ ได้จดทะเบยี นก่อตง้ั บรษิ ทั เพื่อผลิตจาหน่ายเครื่องจักร ชว่ ยในการคานวณ ชอ่ื บรษิ ัท คอมพวิ ติง เทบบูลาตงิ เรดคอสดงิ หลงั จากนน้ั ในปี พ.ศ. 2467 ได้ เปลยี่ นมาเป็นช่อื บริษทั ไอบีเอม็ (International Business Machine : IBM) คอมพวิ เตอร์และการบารุงรักษา 2204-2005 2

คอมพิวเตอรย์ คุ หลอดสูญญากาศ (พ.ศ. 2488-2501) ในปี พ.ศ. 2486 วิศวกรสองคน คือ จอหน์ มอชลี (John Mouchly) และ เจ เพรสเปอร์เอ็ดเคิร์ท (J.Presper Eckert) ได้พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ และจัดได้ว่าเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีใช้งานท่ัวไปเครื่องแรกของโลก ชื่อว่า อินิแอค (Electronic Numerical Intergrator AndCalculator : ENIAC) ในปี พ.ศ. 2488 จอหน์ วอน นอยแมน (John Von Neumann) ได้เสนอแนวคิดในการสร้างเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยความจา เพื่อใช้เก็บข้อมูลและโปรแกรมการทางานหรือชุดคาส่ังคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอรจ์ ะทางานโดยเรียกชดุ คาส่ังทีเ่ ก็บไวใ้ นหน่วยความจามาทางานหลกั การน้ีเป็นหลักการที่ใช้มาจนถงึ ปัจจุบนัคอมพิวเตอรย์ คุ ทรานซิสเตอร์ (พ.ศ.2500-2507) นักวิทยาศาสตร์ของห้องปฏิบัติการเบลแห่งสหรัฐอเมริกา ได้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์สาเร็จ ซ่ึงมีผลทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงในการสร้างคอมพิวเตอร์ เพราะทรานซิสเตอร์มีขนาดเล็กใช้กระแสไฟฟ้าน้อย มีความคงทนและเช่ือถือได้สูง และราคาถูก ได้มีการผลิตคอมพิวเตอร์เรยี กว่า เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ สาหรับประเทศไทยมีการนาเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ในยุคน้ี พ.ศ. 2507 โดยจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั นาเข้ามาใช้ในการศึกษา ในระยะเวลาเดียวกันสานักงานสถิติแห่งชาติก็นามาเพื่อใช้ในการคานวณสามะโนประชากร นับเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์รุ่นแรกท่ีใช้ในประเทศไทย คอมพวิ เตอร์และการบารุงรกั ษา 2204-2005 3

คอมพิวเตอรย์ ุควงจรรวม (พ.ศ.2508-2512) ประมาณปี พ.ศ. 2508 ได้มีการพัฒนาสร้างทรานซิสเตอร์จานวนมากลงบนแผ่นซิลิกอนขนาดเล็ก และเกิดวงจรรวมบนแผ่นซิลิกอนท่ีเรียกว่า ไอซี การใช้ไอซีเป็นส่วนประกอบทาใหค้ อมพวิ เตอรม์ ีขนาดเลก็ ลง ราคาถกู ลง จึงมีบรษิ ทั ผลิตคอมพิวเตอร์กันมากขึ้นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กลง เรยี กวา่ \"มินิคอมพวิ เตอร์\"คอมพิวเตอร์ยคุ วแี อลเอสไอ (พ.ศ.2513-2532) เทคโนโลยีทางด้านการผลิตวงจรอิเล็กทรอนิคส์ยังคงพัฒนาอย่างต่อเน่ือง มีการสร้างวงจรรวมท่ีมีขนาดใหญ่มารวมในแผ่นซิลิกอน เรียกว่า วีแอลเอสไอ (Very Large ScaleIntergrated circuit : VLSI) เป็นวงจรรวมท่ีรวมเอาทรานซิสเตอร์จานวนล้านตัวมารวมอยู่ในแผ่นซิลิกอนขนาดเล็ก และผลิตเป็นหน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ท่ีซับซ้อน เรียกว่าไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessor) การใช้ VLSI เป็นวงจรภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ทาให้ประสิทธิภาพของเคร่ืองคอมพิวเตอรส์ งู ข้ึน เรียกว่า ไมโครคอมพวิ เตอร์ ซ่งึ เปน็ เครอ่ื งท่ีแพร่หลายและมีผู้ใช้งานกันท่ัวโลกการที่คอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถสูง เพราะ VLSI เพียงชิพเดียวสามารถสร้างเป็นหน่วยประมวลผลของเคร่ืองท้ังระบบหรือเป็นหน่วยความจาที่มีความจุสูงหรือเป็นอุปกรณ์ควบคุมการทางานต่าง ๆ ขณะเดียวกันพัฒนาของฮาร์ดดิสก์ก็มีขนาดเล็กลงแต่ราคาถูกลง เครื่องไมโครคอมพิวเตอรจ์ งึ มีขนาดเล็กลงปาล์มทอป (palm top) โนต็ บุค๊ (Notebook)คอมพิวเตอร์ยคุ เครอื ขา่ ย (พ.ศ.2533-ปัจจุบนั ) เม่ือไมโครคอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถสูงข้ึน ทางานได้เร็ว การแสดงผล การจัดการข้อมูล สามารถประมวลได้ครงั้ ละมาก ๆ จึงทาให้คอมพิวเตอร์สามารถทางานหลายงานพร้อมกัน(multitasking) ขณะเดยี วกนั กม็ ี การเชอ่ื มโยงเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ในองคก์ ารโดยใช้เครือข่ายท้องถ่ินที่เรียกว่า Local Area Network : LAN เมื่อเชื่อมหลายๆ กลุ่มขององค์การเข้าด้วยกันเกิดเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์การ เรียกว่า อินทราเน็ต และหากนาเครือข่ายขององคก์ ารเชอ่ื มต่อเข้าสู่เครอื ข่ายสากลที่ตอ่ เช่ือมกันทั่วโลก เรียกว่า อินเตอรเ์ น็ต (internet) คอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบันจึงเป็นคอมพิวเตอร์ที่เช่ือมต่อกัน ทางานร่วมกัน ส่งเอกสารข้อความระหวา่ งกัน สามารถประมวลผลรูปภาพ เสยี ง และวดิ ที ศั น์ ไมโครคอมพิวเตอร์ในยุคน้ีจึงทางานกับสื่อหลายชนิดที่เรียกว่าส่ือประสม (Multimedia) วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์(Evolution of computers) จุดกาเนดิ ของคอมพวิ เตอร์ ต้นกาเนดิ ของคอมพิวเตอร์อาจกล่าวได้ว่ามาจากแนวความคิดของระบบตัวเลข ซึ่งได้พัฒนาเป็นวิธีการคานวณต่าง ๆ รวมทั้งอุปกรณ์ท่ีช่วยในการคานวณอย่างง่าย ๆ คือ \"กระดานคานวณ\" และ \"ลกู คิด\" คอมพิวเตอรแ์ ละการบารุงรักษา 2204-2005 4

ยคุ ของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอรย์ ุคท่ี 1 (1954-1962) คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสูญญากาศและรีเลย์เป็นอุปกรณ์หลักในวงจรแทนแบบ จักรกล โดยหลักการแล้วการทางานของสวิทซ์ไฟฟ้า (เปิด-ปิดวงจร) จะมีความน่าเชื่อถือกว่า และการใช้ไฟฟ้านั้นมีความเร็วกว่าการใช้สวิตซ์จักรกลถึง 1000 เท่า แต่หลอดสูญญากาศท่ีว่านี้ มีข้อเสียคือต้องการพลังงานมาก อายุใช้งานส้ัน และที่สาคัญคือมีขนาดใหญ่ ซ่ึงถือเป็นความไม่ สมบูรณ์ของคอมพิวเตอร์ในยุคน้ี ตัวอย่างเช่นคอมพิวเตอร์ ENIAC ต้องใช้หลอดสูญญากาศถึง 18,000 หลอดต้องการพลังงานไฟฟ้าถึง 140 กิโลวัตต์และหนักถึง 30 ตัน เครื่องคอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์เคร่ืองแรกของโลกคือเครื่องคอมพิวเตอร์ ABC (1937) พัฒนาโดย ดร. จอห์น วี. อทานาซอฟฟ์ (John V Atanasoff) และ คลิฟฟอร์ด เบอรรี่ (Clifford Berry) เครื่องนี้ไม่ สามารถโปรแกรมได้ แต่เปน็ พ้นื ฐานสาหรับคอมพิวเตอร์อิเลก็ ทรอนกิ ส์แบบฐานสองรนุ่ หลงั ๆ ตอ่ มาในปี 1943 J. Presper Eckert และ John V. Mauchly ได้ร่วมมือกันสร้างเครื่อง คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดใหญ่เครื่องแรก เป็นคอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานทั่วไปและสร้าง ได้สาเร็จในปี 1945 เครื่องนี้มีชื่อว่า อินิแอค (ENIAC: Electronic Numerical Integrator and Computer) เครื่องน้ีหนัก 30 ตัน ประกอบด้วยหลอดสุญญากาศ 18,000 หลอด กินพ้ืนท่ีถึง 30x50 ช่วงก้าว ใช้กาลังไฟฟ้าถึง 160 กิโลวัตต์ ตอนเคร่ือง อินิแอคถูกเปิดทางานครั้งแรกนั้น หลอดไฟฟา้ ถึงกับหร่ีสลัวทั่วเมืองฟิลาเดลเฟียที่ซึ่งเครื่องนี้ถูกสร้างท่ีน่ี ENIAC ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ ใชใ้ นทางทหารเชน่ เดยี วกัน โดยใช้ในการคานวณตารางการยงิ และวิถีกระสุน ต่อมาทัง้ สองทา่ นได้สร้างเคร่ืองยูนิแวค (UNIVAC: Universal Automatic Computer) ได้ออกสู่ตลาด เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์เคร่ืองแรกที่ได้ออกแบบมาเพื่อใช้ในด้านการค้าขาย พอ เคร่ือง UNIVAC ออกมาสู่ตลาด ผู้คนท่ัวไปก็เร่ิมตระหนักและเห็นความสาคัญของคอมพิวเตอร์ หลงั จากไดเ้ หน็ ผลการทางานอยา่ งถูกตอ้ งของการวเิ คราะห์การออกเสยี งของประชาชนร้อยละห้า จากประชากรท้งั หมด อยา่ งถูกตอ้ งวา่ นาย Dwight D. Eisenhower จะเป็นผู้ชนะในการเลือกตั้ง ประธานาธบิ ดีของสหรฐั อเมริกา ในการเลือกต้ัง ปี ค.ศ 1953 คอมพวิ เตอร์และการบารุงรกั ษา 2204-2005 5

คอมพิวเตอรย์ คุ ท่ี 2 (1954-1962) ในยุคที่สองของคอมพิวเตอร์น้ีได้มองเห็นถึงความสาคัญของการพัฒนาคอมพิวเตอร์ในทุกระดับของระบบคอมพิวเตอร์ตั้งแต่เทคโนโลยีท่ีจะนามาสร้างวงจรไปจนถึงการภาษาในการเขียนโปรแกรมต่าง ๆเพื่อสร้างโปรแกรมคานวณทางวิทยาศาสตร์ ในปี 1947 ได้มีการผลิตทรานซิสเตอร์ขึ้นเป็นครั้งแรกในสหรัฐอเมริกา และมีการนาทรานซิสเตอร์ใช้เป็นวงจรสวิตซ์ของคอมพิวเตอร์ มีความเร็วในการ สวิตซ์ 30 ล้านครั้งต่อวินาที (หรือปัจจุบันเรียกว่า clock หรือความเร็วของ CPU) การสร้างคอมพิวเตอร์ในยุคท่ี 2 นี้ใช้ทรานซิสเตอร์และไดโอดเป็นหลัก การใช้ทรานซิสเตอร์ทาให้ความเชื่อถือได้ (reliability) สูงข้ึน ทาให้ขนาดของคอมพิวเตอร์เล็กลงและราคาต่าลง ซึ่งถือเป็นการแก้ปัญหาข้อบกพร่องของคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 เหตุผลน้ี ทาให้คอมพิวเตอร์แพร่หลายไปอย่างรวดเร็วในยุคนี้ยังมีความเปล่ียนแปลงในอีกหลาย ๆ ด้าน เช่นหน่วยความจาหรือท่ีเก็บข้อมูลได้เปล่ียนไปใช้เทปแม่เหล็กซ่ึงสามารถเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มได้(random access memory) แทนแบบเดิมทีใ่ ช้รเี ลยป์ รอท ใ น ยุ ค นี้ ก า ร ส ร้ า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ส ม ร ร ถ น ะ สู ง ที่ เ ร า เ รี ย ก ว่ า ซู เ ป อ ร์ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์(supercomputers) คือ ivermore Atomic Research Computer (LARC) และเคร่ือง IBM7030 พื่อตอบสนองความต้องการในด้านความเร็วในการคานวณ และเริ่มมีการใช้คอมพิวเตอร์กบั การส่ือสาร (network) เปน็ ตน้ สาหรับทางด้านซอฟต์แวร์ได้มีภาษาระดับสูงหลายภาษาเกิดขึ้น ในช่วงกลางของยุคท่ีสอง ภาษาท่ีสาคัญได้แก่ ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN,1956),ภาษาอัลกอล ALGOL (1958),และภาษาโคบอล (COBOL, 1959) เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีสาคัญคือเครื่อง IBM 704, 709 และ7094คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (ปี ค.ศ. 1963-1972) นวตั กรรมในยคุ นคี้ อื มกี ารใช้แผงวงจรรวมหรอื IC : Integrated Circuit (IC ได้ถูกคิดค้นข้นมาในปี1958) ในการสร้างคอมพิวเตอร์ IC เป็นทรานซิสเตอร์หลาย ๆ ตัวต่อกันเป็นวงจรอยู่บนแผ่นสารกึ่งตัวนา (semi-conductor) เช่น แผ่นซิลิกอน ซึ่งเป็นแผ่นบางขนาดเล็ก จึงนิยมเรยี กว่าเวเฟอร์ (wafer) การใช้ IC ในคอมพิวเตอรน์ ้ี ทาใหค้ อมพิวเตอร์ในยุคนี้มีความสามารถในด้านการคานวณสูงขึ้น มีความเชื่อถือได้สูงข้ึน และมีขนาดเล็กลง นอกจากน้ี ในยุคนี้หน่วยความจาก็เปล่ียนมาใช้สารกึ่งตัวนา และมีการสร้างระบบปฏิบัติการขึ้น และมีการส่ือสารระหวา่ งคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์และการบารุงรักษา 2204-2005 6

คอมพิวเตอรย์ คุ ที่ 4 (ปี ค.ศ. 1972-1984) IC ได้ถูกพัฒนาให้มีความหนาแน่นของทรานซิสเตอร์สูงขึ้นเร่ือย ๆ จากบรรจุทรานซิสเตอร์ไม่ก่ีร้อยตัว เป็นหลายพันหลายหม่ืนตัว ซ่ึงเรียกว่า LSI (Large Scale IntegratedCircuit: ภายในมที รานซิสเตอร์มี 1000 ตัว ต่อชิพหนง่ึ ตัว) และ VLSI (Large Scale IntegratedCircuit: ภายในมีทรานซิสเตอร์ 100,000 ตัว ต่อชิพหนึ่งตัว) เมื่อมีการใช้ LSI และ VLSI ในคอมพิวเตอร์ ทาใหค้ อมพวิ เตอรใ์ นยุคน้ีมีขนาดเล็กมาก หน่วยการทางานของคอมพิวเตอร์ต่าง ๆได้แก่ หน่วยประมวลผล หนว่ ยความจา ส่วนควบคุมอินพุต/เอาท์พุต สามารถรวมอยู่บนแผ่นชิพเล็ก ๆ เพียงตัวเดียวได้ ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ในยุคนี้ที่สาคัญได้แก่การพัฒนาภาษาโปรล็อก Prolog (Programming in Logic) ซึ่งเป็นภาษาที่เหมาะสาหรับเขียนโปรแกรมทางด้านปญั ญาประดิษฐ์ และสาหรับภาษาอ่ืน ๆ ก็ได้มีการพัฒนาคอมไพเลอร์ (ตัวแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครือ่ ง) ให้ดียิง่ ขึน้ นอกจากนี้ได้มีการพัฒนาภาษา C และระบบปฏิบัติการ UNIX โดยเค็น ทอมสัน (KenThompson) และเดนนสิ ริชชี (Dennis Ritchie) ในหอ้ งปฏบิ ัติการ Bell ซึ่งถอื ว่าเป็นเหตุการณ์ท่ีสาคัญมาก พวกเขาได้ใช้ภาษา C ที่สร้างขึ้น สร้างระบบปฏิบัติการ UNIX สาหรับเครื่อง DECPDP-11 จากน้ัน UNIX ก็เป็นท่ีแพร่หลายอย่างรวดเร็ว เพราะถือเป็นปรากฏการณ์ใหม่ท่ีผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นอิสระ จากการที่ต้องเรียนรู้ระบบฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ทุกครั้งที่จะใช้คอมพิวเตอร์เคร่ืองใหม่ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์และคอมพิวเตอร์สถานีงาน (workstation) ก็ได้รับการพัฒนาขึ้นในยุคนี้เช่นเดียวกัน ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการมีระบบ time-sharing คือแบ่งปันเวลาในการใช้งานหน่วยประมวลผล เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์เหล่านี้สามารถมีผู้ใช้หลาย ๆ คนใช้งานพร้อมกันได้ โดยเคร่ืองท่ีผู้ใช้ใช้ในการป้อนข้อมูลและรับผลการประมวลผลเรียกว่าเคร่ือง client ผู้ใช้ส่งข้อมูลมาประมวลผลท่ีคอมพิวเตอร์หลักที่เป็นเมนเฟรมหรือworkstationคอมพิวเตอรย์ ุคที่ 5 (ปี ค.ศ. 1984-1990) การพัฒนาคอมพิวเตอร์ในยุคนี้เน้นในด้านการประมวลผลแบบขนาน ( parallelprocessing) โดยมองเห็นรูปแบบการทีม่ ีตัวประมวลผลหลาย ๆ ตัวช่วยกันประมวลผลพร้อมกันเพ่ือเพ่ิมความเร็ว การพัฒนาด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทั้งเครือข่ายระยะไกล (WAN: WideArea Network) และเครือขา่ ยระยะใกล้ (LAN: Local Area Network) เป็นไปอยา่ งรวดเรว็ นอกจากน้ีได้มีเทคโนโลยี RISC (reduced instruction set) เป็นสถาปัตยกรรมของไมโครโพรเซสเซอร์ที่ใช้คาส่ังสั้นและเป็นพ้ืนฐานกว่า CISC (complex instruction setcomputing) โดยทาใหค้ วามเร็วเพ่ิมขึ้นด้วย คอมพิวเตอร์และการบารุงรกั ษา 2204-2005 7

คอมพวิ เตอร์ยคุ ท่ี 6 (ปี ค.ศ. 1990- ปัจจุบนั ) ท่ีผ่านมาท้ัง 5 ยุค พัฒนาการของคอมพิวเตอร์จะเป็นไปในทางการปรับปรุงการผลิต และการเสริมสร้างความสามารถทางด้านการคานวณของคอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่ ซ่ึงเป็นการ จากัด ความสามารถทางด้านการป้อนข้อมูล ในปัจจุบัน ความต้องการทางด้านการป้อนข้อมูล อยา่ งอิสระ โดยใช้เสียงและภาพ ซ่ึงถือเป็นการป้อนข้อมูลโดยธรรมชาติน้ันสูงขึ้นเร่ือยๆ ความ ต้องการคอมพิวเตอรร์ นุ่ ใหม่ที่ไม่เปน็ เพียงเครอ่ื งคานวณ จึงสงู ข้ึนเร่ือยๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความ ต้องการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหาสังคม เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม เทคโนโลยี การ ติดต่อระหว่างประเทศและอืน่ ๆ ในช่วงทศวรรษปี 1990 เช่น 1) การพฒั นาด้านการผลติ ของอุตสาหกรรม การตลาด ธุรกิจ 2) การพัฒนาทางด้านการตดิ ตอ่ สอ่ื สารระหว่างประเทศ 3) การชว่ ยเหลือทางดา้ นการประหยดั พลังงาน 4) การแก้ไขปัญหาของสังคม การศึกษา การแพทย์ลกั ษณะท่ีสาคญั ของคอมพิวเตอร์ 1. ความเร็ว ( Speed ) เคร่อื งคอมพิวเตอร์สามารถทางานดว้ ยความเรว็ มาก 2. มีหน่วยความจาภายใน ( Memory ) เครื่องคอมพิวเตอร์มีหน่วยความจาซึ่งสามารถบันทึกขอ้ มลู (Data ) และคาส่งั ต่าง ๆ ได้ 3. ทางานด้วยระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ จึงสามารถทางานไดโ้ ดยอัตโิ นมตั ิ 4. มีความถูกต้องแม่นยา ( Accuracy ) คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้ด้วยความถูกต้องแม่นยาเสมอ เน่อื งจากเครอื่ งคอมพิวเตอร์มรี ะบบการทางานทีแ่ นน่ อน 5. ความสามารถในการเปรียบเทียบ ( Comparability ) เคร่ืองคอมพิวเตอร์มีหน่วยคานวณและตรรกะซง่ึ นอกจากจะคานวณไดแ้ ลว้ ยังสามารถทาการเปรยี บเทียบข้อมลู ได้ดีประเภทของคอมพิวเตอร์ จากประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วมาก ทาให้ปัจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้มากมายหลายรูปแบบตามความต้องการของผใู้ ช้ การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์น้ัน สามารถจาแนกออกได้เป็น 3กลุม่ หลกั ดงั นี้ 1. ประเภทของคอมพวิ เตอรต์ ามหลักการประมวลผล 2.ประเภทของคอมพิวเตอรต์ ามวัตถปุ ระสงค์ของการใชง้ าน 3.ประเภทของคอมพิวเตอรต์ ามความสามารถของระบบ1.แบ่งตามหลักการประมวลผล คอมพวิ เตอร์และการบารุงรกั ษา 2204-2005 8

จาแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1.1.คอมพิวเตอรแ์ บบแอนะล็อก (Analog Computer) หมายถึง เคร่ืองมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ทางานโดยใช้ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบต่อเน่ือง (Continuous Data) แสดงออกมาใน ลักษณะสัญญาณที่เรียกว่า Analog Signal เคร่ืองคอมพิวเตอร์ประเภทน้ีมักแสดงผลด้วยสเกล หน้าปัด และเข็มชี้ เช่น การวัดค่าความยาว โดยเปรียบเทียบกับสเกลบนไม้บรรทัด การวัดค่า ความร้อนจากการขยายตัวของปรอทเปรียบเทียบกับสเกลข้างหลอดแก้ว นอกจากนี้ยังมี ตัวอย่างของ Analog Computer ท่ีใช้การประมวลผลแบบเป็นข้ันตอน เช่น เคร่ืองวัดปริมาณ การใช้น้าด้วยมาตรวัดน้า ท่ีเปล่ียนการไหลของน้าให้เป็นตัวเลขแสดงปริมาณ อุปกรณ์วัด ความเร็วของรถยนต์ในลกั ษณะเขม็ ชี้ หรอื เครือ่ งตรวจคล่ืนสมองที่แสดงผลเป็นรูปกราฟ เปน็ ต้น 1.2.คอมพิวเตอรแ์ บบดจิ ิทลั (Digital Computer) คือคอมพิวเตอร์ท่ีใช้ในการทางานท่ัวๆ ไปนัน่ เอง เปน็ เคร่ืองมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัย หลักการนับ ทางานกับข้อมูลท่ีมีลักษณะการเปลี่ยนแปลงแบบไม่ต่อเน่ือง (Discrete Data) ใน ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้า หรือ Digital Signal อาศัยการนับสัญญาณข้อมูลท่ีเป็นจังหวะด้วย ตวั นบั (Counter) ภายใตร้ ะบบฐานเวลา (Clock Time) มาตรฐาน ทาให้ผลลัพธ์เป็นที่น่าเช่ือถือ ทั้งสามารถนับข้อมูลให้ค่าความละเอียดสูง เช่นแสดงผลลัพธ์เป็นทศนิยมได้หลายตาแหน่ง เป็น ต้นเนอ่ื งจาก Digital Computer ต้องอาศัยขอ้ มูลทเี่ ปน็ สญั ญาณไฟฟ้า (มนุษย์สัมผัสไม่ได้) ทาให้ ไมส่ ามารถรบั ขอ้ มลู จากแหล่งขอ้ มลู ต้นทางได้โดยตรง จึงจาเป็นต้องเปล่ียนข้อมูลต้นทางท่ีรับเข้า (Analog Signal) เป็นสัญญาณไฟฟ้า (Digital Signal) เสียก่อน เมื่อประมวลผลเรียบร้อยแล้วจึง เปล่ียนสัญญาณไฟฟ้ากลับไปเป็น Analog Signal เพื่อส่ือความหมายกับมนุษย์ต่อไปโดย สว่ นประกอบสาคญั ท่เี รียกวา่ ตวั เปลยี่ นสญั ญาณขอ้ มูล (Converter) คอยทาหนา้ ที่ในการเปล่ียน รปู แบบของสัญญาณข้อมลู ระหว่าง Digital Signal กบั Analog Signal 1.3.คอมพวิ เตอรแ์ บบลกู ผสม (Hybrid Computer) เคร่ืองประมวลผลข้อมูลท่ีอาศัยเทคนิคการทางานแบบผสมผสาน ระหว่าง Analog Computer และ Digital Computer โดยท่ัวไปมักใช้ในงานเฉพาะกิจ โดยเฉพาะงานด้าน วิทยาศาสตร์ เช่น เคร่ืองคอมพิวเตอร์ในยานอวกาศ ท่ีใช้ Analog Computer ควบคุมการหมุน ของตัวยาน และใช้ Digital Computerในการคานวณระยะทาง เป็นต้นการทางานแบบ ผสมผสานของคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ ยังคงจาเป็นต้องอาศัยตัวเปล่ียนสัญญาณ (Converter) เชน่ เดมิ2.แบ่งตามวตั ถปุ ระสงค์ของการใชง้ าน จาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ คอมพิวเตอรแ์ ละการบารุงรกั ษา 2204-2005 9

2.1.เครื่องคอมพิวเตอรเ์ พื่องานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer) หมายถึง เคร่ืองประมวลผลข้อมูลที่ถูกออกแบบตัวเคร่ืองและโปรแกรมควบคุม ให้ ทางานอย่างใดอย่างหน่ึงเป็นการเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใช้ในงานควบคุม หรืองาน อตุ สาหกรรมทีเ่ น้นการประมวลผลแบบรวดเรว็ เชน่ เครื่องคอมพวิ เตอร์ควบคุมสัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอร์ควบคุมลฟิ ท์ หรอื คอมพิวเตอรค์ วบคุมระบบอตั โนมตั ใิ นรถยนต์ เปน็ ต้น 2.2.เคร่ืองคอมพิวเตอร์เพอื่ งานอเนกประสงค์ (General Purpose Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลท่ีมีความยืดหยุ่นในการทางาน (Flexible) โดยได้รับ การออกแบบให้สามารถประยุกต์ใช้ในงานประเภทต่างๆ ได้โดยสะดวก โดยระบบจะทางานตาม คาสั่งในโปรแกรมทเ่ี ขยี นข้นึ มา และเม่อื ผู้ใช้ต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานอะไร ก็เพียงแต่ ออกคาสงั่ เรียกโปรแกรมท่เี หมาะสมเขา้ มาใชง้ าน โดยเราสามารถเก็บโปรแกรมไว้หลายโปรแกรม ในเครื่องเดียวกันได้ เช่น ในขณะหนึ่งเราอาจใช้เคร่ืองน้ีในงานประมวลผลเก่ียวกับระบบบัญชี และในขณะหนง่ึ กส็ ามารถใช้ในการออกเชค็ เงนิ เดอื นได้3.แบ่งตามความสามารถของระบบ จาแนกออกได้เป็น 4 ชนิด โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บข้อมูล และ ความเร็วในการประมวลผล เปน็ หลัก ดังนี้ 3.1.ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) หมายถงึ เคร่ืองประมวลผลข้อมูลท่ีมีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุด โดยท่ัวไป สร้างข้ึนเป็นการเฉพาะเพ่ืองานด้านวิทยาศาสตร์ที่ต้องการการประมวลผลซับซ้อน และต้องการ ความเรว็ สูง เชน่ งานวิจยั ขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรือ งานพยากรณ์อากาศ 3.2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) คอมพวิ เตอรแ์ ละการบารุงรกั ษา 2204-2005 10

หมายถึง เคร่ืองประมวลผลขอ้ มูลที่มสี ว่ นความจาและความเร็วน้อยลง สามารถใชข้ ้อมลู และคาส่ังของเครอ่ื งรุ่นอน่ื ในตระกลู (Family) เดียวกนั ได้ โดยไม่ต้องดัดแปลงแก้ไขใดๆ นอกจากนน้ั ยงั สามารถทางานในระบบเครือขา่ ย (Network) ไดเ้ ปน็ อย่างดี โดยสามารถเช่อื ม ต่อไปยังอปุ กรณท์ ี่เรยี กว่า เครอ่ื งปลายทาง (Terminal) จานวนมากได้ สามารถทางานได้พร้อม กันหลายงาน (Multi Tasking) และใช้งานได้พร้อมกนั หลายคน (Multi User) ปกติเคร่ืองชนดิ น้ี นิยมใช้ในธรุ กจิ ขนาดใหญ่ มีราคาต้งั แตส่ ิบล้านบาทไปจนถึงหลายรอ้ ยลา้ นบาท ตัวอยา่ งของ เครอื่ งเมนเฟรมท่ใี ชก้ ันแพร่หลายก็คือ คอมพิวเตอร์ของธนาคารท่เี ชอ่ื มตอ่ ไปยังตู้ ATM และ สาขาของธนาคารทั่วประเทศ 3.3.มนิ คิ อมพิวเตอร์ (Mini Computer) ธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กไม่จาเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ขนาดเมนเฟรมซึ่งมีราคา แพง ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์จึงพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กและมีราคาถูกลง เรียกว่า เคร่ือง มินิคอมพิวเตอร์ โดยมีลักษณะพิเศษในการทางานร่วมกับอุปกรณ์ประกอบรอบข้างที่มีความเร็ว สูงได้ มีการใช้แผ่นจานแม่เหล็กความจุสูงชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาข้อมูล สามารถ อ่านเขียนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หน่วยงานและบริษัทที่ใช้คอมพิวเตอร์ขนาดน้ี ได้แก่ กรม กอง มหาวิทยาลัย ห้างสรรพสนิ ค้า โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ 3.4.ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) หมายถึง เคร่ืองประมวลผลข้อมูลขนาดเล็ก มีส่วนของหน่วยความจาและความเร็วใน การประมวลผลน้อยที่สุด สามารถใช้งานได้ด้วยคนเดียว จึงมักถูกเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล (Personal Computer : PC)5.ลักษณะงานท่ีเหมาะสมกับคอมพิวเตอร์ ลักษณะงานท่เี หมาะสมกับคอมพิวเตอร์ควรมีลกั ษณะกว้างๆ 4 ประการ คือ 1. เปน็ งานที่มปี ริมาณมากๆ 2. มีขนั้ ตอนการประมวลผลซา้ ๆ กนั 3. ตอ้ งการผลลัพธท์ ่ีถูกต้องแม่นยาในเวลาสั้นๆ 4. เปน็ งานที่ยากหรือต้องการความละเอียดในการคานวณ ดังน้ันในการพิจารณานาเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้นอกจากจะต้องคานึงถึงลักษณะงานดังกล่าวแลว้ ควรจะต้องพิจารณาในสงิ่ อืน่ ๆ ประกอบดว้ ย เชน่ คอมพิวเตอร์และการบารุงรักษา 2204-2005 11

1. ความคุ้มค่า การใช้งานคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนประกอบหลายอย่าง เช่น ตัวเครื่องพร้อมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ซอฟต์แวร์ที่ใช้และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ซึ่งส่ิงต่าง ๆ เหล่าน้ีจะต้องมี การลงทุนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ท่ีมีราคาแพงและล้าสมัยเร็ว ดังน้ัน ในการใช้ควรใช้ให้คุ้มค่าก่อนที่เคร่ืองจะลา้ สมยั 2. กาหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนว่าต้องการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ทาอะไร ถ้าสามารถ กาหนดความตอ้ งการเปน็ รปู ธรรมไดช้ ดั เจนกจ็ ะสามารถพัฒนาระบบงานได้ง่ายและตรงกับความต้องการ6.องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ การทางานขนั้ พืน้ ฐานของระบบคอมพวิ เตอร์ ประกอบด้วย 3 ส่วน 1.Hardware 2.Software 3.PeopleHardware ฮารด์ แวร์ หมายถึง ส่วนท่ีประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ที่เราสามารถมองเห็นและสัมผัสได้ เช่น ตัวเคร่ือง จอภาพ คีย์บอร์ด และเมาส์ เป็นต้นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลโดยท่ัวไปจะมฮี าร์ดแวรห์ ลกั ๆ ไดแ้ ก่ 1. ตัวเคร่อื ง (Case) ทาหน้าที่ในส่วนของการประมวลผลขอ้ มลู ทไี่ ด้รบั มาจากอุปกรณ์นาเข้าต่างๆซึ่งภายในตัวเคร่ืองจะมีอุปกรณ์หลัก ได้แก่ แผงวงจรหลัก หม้อแปลงไฟฟ้า ซีพียู ฮาร์ดดิสก์หนว่ ยความจา การด์ แสดงผล การ์ดเสยี ง เปน็ ต้น 2. จอภาพ (Monitor) ทาหน้าทแ่ี สดงผลขอ้ ความ รูปภาพ 3. ดสิ กไ์ ดรฟ์ (Disk drive) เป็นอุปกรณอ์ ่าน-เขียนข้อมลู บนดสิ กเ์ ก็ต คอมพวิ เตอรแ์ ละการบารุงรักษา 2204-2005 12

4. คยี บ์ อร์ด (Keyboard) ทาหน้าท่ปี อ้ นขอ้ มลู เขา้ เครื่องคอมพวิ เตอร์ 5. เมา้ ส์ (Mouse) เปน็ สว่ นทใ่ี ชส้ งั่ งานดว้ ยการชีแ้ ละเลือกสง่ิ ต่างๆทแ่ี สดงอยูบ่ นจอภาพ 6. ลาโพง (Speaker) เปน็ สว่ นท่ใี ช้แสดงผลท่ีเป็นเสียง จาแนกตามหน้าทข่ี องฮาร์ดแวร์สามารถแบง่ เปน็ สว่ นสาคัญ 5 สว่ น คอื 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่รับโปรแกรมคาส่ัง และข้อมูลเข้าสู่เครื่อง คอมพวิ เตอร์ 2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit - CPU) ทาหน้าท่ีเก่ียวกับการ คานวณทั้งทางตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมท้งั การประมวลข้อมูลตามคาสั่งทไี่ ด้รบั 3. หน่วยความจา (Memory Unit) ทาหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคาสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับ ข้อมูล เพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ได้มาจากการ ประมวลผลแลว้ เพ่ือเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผล 4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลข้อมูลท่ีคอมพิวเตอร์ทาการ ประมวลผล หรอื ผา่ นการคานวณแลว้ 5. อุปกรณ์ต่อพ่วงอืน่ ๆ (Peripheral Equipment) เป็นอุปกรณ์ที่นามาต่อพ่วงเข้ากับ คอมพวิ เตอร์ เพื่อชว่ ยเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการทางานให้มากย่ิงขึ้น เช่น โมเด็ม แผงวงจรเชื่อมต่อ เครือข่าย เปน็ ต้นSoftware Software (ซอฟต์แวร์) เป็นองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ท่ีเราไม่สามารถสัมผัสจับต้องได้โดยตรง เป็นชุดคาสั่งหรือโปรแกรม (Program) ท่ีเขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเสมือนตัวเชื่อมระหวา่ งผใู้ ชง้ านกับคอมพวิ เตอร์ใหส้ ามารถเข้าใจกนั ได้ ซอฟตแ์ วรแ์ บง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื 1. ซอฟต์แวรร์ ะบบ 2. ซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์ คอมพิวเตอร์และการบารุงรกั ษา 2204-2005 13

ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software หรอื Operating Software : OS) หมายถงึ โปรแกรมท่ที าหน้าที่ประสานการทางาน ตดิ ต่อการทางาน ระหวา่ งฮารด์ แวรก์ บัซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้ซอฟต์แวร์ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ และทาหน้าท่ีในการจัดการระบบ ดแู ลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ การแปลภาษาระดับต่าหรอื ระดับสูงใหเ้ ปน็ ภาษาเครอ่ื งเพ่ือใหเ้ ครื่องอ่านได้เข้าใจ ซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งได้ 4 ชนิด ดังน้ี 1 ระบบปฏบิ ัติการ (Operating System) หมายถึง ชุดโปรแกรมท่ีอยู่ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์มีหน้าท่ีควบคุมการปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์ และสนับสนุนคาสั่งสาหรับควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ให้กับซอฟต์แวร์ประยุกต์ เชน่ Windows XP , DOS , Linux , Mac OS X 1.2 ยูทลิ ิต้ี (Utility Program) เปน็ โปรแกรมท่ที าหนา้ ที่ เพิม่ ประสทิ ธภิ าพของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ทาให้เครื่องทางานง่ายข้ึนเร็วขึ้น และการป้องกันการรบกวนโดยโปรแกรมท่ีไม่พึงประสงค์ เช่น โปรแกรมป้องกันไวรัส, โปรแกรมจดั เรียงขอ้ มลู บนฮาร์ดดิสกใ์ หม่, โปรแกรมยกเลิกการติดตัง้ โปรแกรม Uninstall Program , โปรแกรมบีบอดั ไฟล์ (WinZip-WinRAR) เพือ่ ทาใหไ้ ฟลม์ ีขนาดเลก็ ลง ,โปรแกรมการสารองขอ้ มลู (Backup Data) 1.3 ดไี วซ์ไดรเ์ วอร์ (Device Driver หรอื Driver) เป็นโปรแกรมท่ีทาหน้าท่ีติดต่อกับคอมพิวเตอร์ในส่วนการรับเข้าและการส่งออก ของแต่ละอุปกรณ์ เช่น เมื่อเราซ้ือกล้องวีดีโอมาใหม่และต้องการนาเอาวีดีโอท่ีถ่ายเสร็จ นาไปตัดต่อท่ีคอมพิวเตอร์ก็ต้องติดต้ังไดเวอร์ หรือโปรแกรมท่ีติดมากับกล้อง ทาการติดต้ังที่เคร่ืองคอมพิวเตอร์เพ่ือให้เคร่ืองคอมพิวเตอรร์ ู้จกั และสามารถรบั ขอ้ มูลเข้าและสง่ ข้อมลู ออกได้ 1.4 ตัวแปลภาษา (Language Translator) คือโปรแกรมที่ทาหน้าที่แปลภาษาระดับต่าหรือระดับสูงเพ่ือให้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจว่าต้องการให้ทาอะไร เช่น เมื่อโปรแกรมเมอร์ได้เขียนโปรแกรมเสร็จโดยเขียนในลักษณะภาษาระดับต่า(Assembly) หรือภาษาระดบั สงู (โปรแกรมภาษา C) เสร็จก็ต้องมีตัวแปลภาษาเพ่ือให้เครื่องคอมพิวเตอร์อา่ นเข้าใจ เพราะเคร่ืองคอมพิวเตอรจ์ ะเขา้ ใจเฉพาะตวั เลข 0 กบั ตัวเลข 1 เทา่ นนั้ซอฟตแ์ วร์ประยุกต์ ซอฟต์แวร์ประยุกตแ์ บง่ เปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ คอมพวิ เตอรแ์ ละการบารุงรกั ษา 2204-2005 14

1.ซอฟตแ์ วร์สาหรบั งานเฉพาะด้าน เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สาหรับงานเฉพาะด้าน เช่น สาหรับงานธนาคารการฝากถอนเงิน สาหรบั งานทะเบยี นนักเรียน ซอฟต์แวรค์ ิดภาษี ฯลฯ 2.ซอฟตแ์ วร์สาหรับงานทวั่ ไป เป็นซอฟต์แวร์ท่ีใช้สาหรับงานท่ัวไป โดยในซอฟต์แวร์ 1 ตัวมีความสามารถในการ ทางานได้หลายอย่าง เช่น ซอฟต์แวร์งานด้านเอกสาร (Microsoft Word ) มีความสามารถใน การสร้างงานเอกสารต่างๆ จัดทาเอกสารรายงาน จัดทาแผ่นพับ จัดทาหนังสือเวียน จัดทาสื่อ สิ่งพิมพ์People หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพวิ เตอร์ ซงึ่ มีความร้เู กี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ สามารถใชง้ านสั่งงานเพ่ือใหค้ อมพวิ เตอร์ทางานตามทต่ี ้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดงั น้ี 1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเปา้ หมายของหนว่ ยงาน 2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทาการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียนโปรแกรมให้กบั ระบบงาน 3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทางานตามความต้องการของผใู้ ช้ โดยเขยี นตามแผนผังทนี่ กั วเิ คราะห์ระบบได้เขียนไว้ 4. ผู้ใช้ (User) คือผใู้ ชง้ านคอมพวิ เตอรท์ วั่ ไป ซ่ึงต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่องและวิธีการใช้งานโปรแกรม เพือ่ ให้โปรแกรมท่มี อี ยสู่ ามารถทางานไดต้ ามทตี่ ้องการ คอมพิวเตอร์และการบารุงรกั ษา 2204-2005 15

คอมพิวเตอรแ์ ละการบารุงรักษา 2204-2005 16


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook