Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore BCN3_34เนื้อหา

BCN3_34เนื้อหา

Published by Suna Chowchang, 2017-04-25 04:07:44

Description: BCN3_34เนื้อหา

Search

Read the Text Version

การแบ่งประเภทเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ตามขนาดทางกายภาพ การแบ่งประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยใช้ขนาดทางกายภาพของเครือข่ายคอมพวิ เตอรเ์ ป็นเกณฑส์ ามารถแบ่งออกได้เปน็ 4 ประเภทดงั นี้ 1.เครือข่ายส่วนบุคคล (Personal Area Network : PAN) เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่นาเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันแบบง่ายๆ ในระยะทางสั้นๆ ใช้ในการส่ือสารข้อมูลระยะใกล้ระหว่างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ด้วยกัน มีข้อดีในการใช้งานคือ สะดวกต่อการใช้งาน สามารถรับส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว สามารถนาเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์การสื่อสารต่างๆ เช่น โทรศัพท์มาใช้ร่วมกันได้ แต่มีข้อเสียคือ ส่ือสารได้ไม่เกิน 1 เมตร การส่งข้อมูลอาจเกิดขอ้ ผดิ พลาดได้Modem Wireless Router รปู ท่ี 3.1.เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ส่วนบุคคล 2.เครือข่ายระดับท้องถ่ิน (Local Area Network : LAN) เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีใช้งานอยู่ในบริเวณท่ีไม่กว้างอาจใช้อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรืออาคารท่ีอยู่ใกล้กัน เช่นภายในวิทยาลัย อาคารสานักงาน การส่งข้อมูลทาได้ด้วยความเร็วสูงและมีข้อผิดพลาดน้อย จึงถูกออกแบบมาให้ช่วยลดต้นทุนและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานและใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ รว่ มกนัรูปที่ 3.2.เครือขา่ ยระดับทอ้ งถิน่ 12

3.เครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network : MAN) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดกลางท่ีใช้ภายในเมืองหรือจังหวัดเท่าน้ัน การเชื่อมโยงจะต้องอาศัยระบบบริการเครือข่ายสาธารณะ จึงเป็นเครือข่ายที่ใช้กับหน่วยงานท่ีมีสาขาห่างไกลและต้องการเช่ือมสาขาเหลา่ นัน้ เขา้ ดว้ ยกนั เชน่ ธนาคาร หรอื หน่วยงานท่ีมีสาขาย่อยทีอ่ ยไู่ กลกนั รปู ที่ 3.3.เครือข่ายระดับเมอื ง 4.เครอื ขา่ ยระดบั ประเทศ (Wide Area Network : WAN) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีใช้งานอยู่ในบรเิ วณกวา้ ง ท่เี ชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออปุ กรณท์ ่ีอยหู่ ่างไกลเขา้ ดว้ ยกันเป็นการติดต่อส่ือสารกนั ในระดับประเทศ ขา้ มทวีปหรือทวั่ โลกได้ จะต้องมกี ารเช่ือมต่อเครือข่ายเขา้ กบัระบบการส่ือสารแหง่ ประเทศไทย โดยปกตมิ ีอตั ราการสง่ ข้อมลู ท่ีต่าและมโี อกาสเกิดข้อผดิ พลาด รูปที่ 3.4.เครอื ข่ายระดบั ประเทศการแบ่งประเภทเครือขา่ ยคอมพิวเตอรต์ ามลักษณะหนา้ ทก่ี ารทางาน การใชล้ ักษณะหน้าทกี่ ารทางานของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ในเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์เป็นเกณฑส์ ามารถแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภทดงั นี้ 1.เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบมีสิทธิ์เท่าเทียมกัน (Peer-to-Peer Network) เป็นเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ทีม่ กี ารเช่ือมตอ่ เครอื่ งคอมพิวเตอร์เขา้ ดว้ ยกนั โดยเคร่ืองคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะทางานในลักษณะแบ่งกันใช้งานทรัพยากรในระบบเครือข่ายที่ทัดเทียม กัน เป็นระบบเครือข่ายท่ีเหมาะสาหรับการทางานในหน่วยงานขนาดเล็ก แต่มีจุดอ่อนในเร่ืองของระบบรักษาความปลอดภัยเหมาะสาหรับการทางานทีไ่ ม่มขี ้อมูลทเ่ี ปน็ ความลับในหน่วยงานมากนัก 13

รปู ที่ 3.5.เครอื ข่ายคอมพวิ เตอรแ์ บบมีสิทธ์เิ ท่าเทยี มกับ 2.เป็นเครอื ขา่ ยแบบผ้ใู ช้บรกิ ารและผใู้ หบ้ ริการ (Client-Server Network) เป็นเครือข่ายท่ีมีเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายเครื่องหนึ่งหน้าท่ีเป็นเคร่ืองแม่ข่าย (Server) ให้บริการทรัพยากรต่างๆ กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในเครือข่ายซ่ึงเรียกว่าเคร่ืองคอมพิวเตอร์ลูกข่าย(Client หรือ Workstation) ที่จะคอยขอใช้บริการหรือขอรับบริการข้อมูล โปรแกรมการทางานต่างๆ โดยเคร่ืองคอมพิวเตอร์แม่ข่ายต้องมีประสิทธิภาพการทางานสูง ข้อดีของระบบเครือข่ายแบบผู้ใชบ้ รกิ ารและผูใ้ หบ้ ริการเป็นระบบที่มีการรักษาความปลอดภัยสูง การจัดการในด้านรักษาความปลอดภัยนั้นจะทาบนเครื่องแม่ข่ายเพียงเครื่องเดียว ทาให้ดูแลรักษาง่ายและสะดวกในการกาหนดสิทธิ์การเข้าใชท้ รัพยากรตา่ งๆ ให้กบั เคร่ืองผู้ขอใช้บรกิ าร Server Client Client Client รูปท่ี 3.6.เครอื ขา่ ยผู้ให้บริการและผ้ใู ช้บริการการแบง่ ประเภทเครือข่ายคอมพวิ เตอรต์ ามความปลอดภัยของข้อมลู การแบ่งประเภทเครือข่ายตามระดับความปลอดภัยของข้อมูลท่ีมีการรับและส่งภายในเครอื ข่าย สามารถแบ่งออกได้เปน็ 3 ประเภทคือ 1.อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ครอบคลุมท่ัวโลก มีคอมพิวเตอร์จานวนมากเชื่อมต่อเข้ากันเป็นระบบและยังขยายตัวข้ึนเรื่อยๆ มีผู้ใช้ท่ัวโลกและผู้ใช้สามารถแลกเปล่ยี นข้อมูลข่าวสารกันได้อย่างอิสระโดยท่ีระยะทางและเวลาไม่เป็นอุปสรรค อินเทอร์เน็ตเชื่อมแหล่งข้อมูลต่างๆ เข้าด้วยกันไม่ว่าจะเป็นองค์กรธุรกิจ มหาวิทยาลัย หน่วยงานของรัฐบาลข้อเสยี ของอินเทอรเ์ น็ตคอื ความปลอดภัยของขอ้ มลู เนื่องจากทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลทุกอย่างท่แี ลกเปลีย่ นผา่ นอินเทอร์เนต็ อนิ เทอรเ์ น็ต 14

รูปที่ 3.7.เครอื ขา่ ยอินเตอร์เน็ต (Internet) 2.อินทราเน็ต (Intranet) เป็นเครือข่ายท่ีองค์กรสร้างขึ้นสาหรับให้พนักงานขององค์กรใช้เท่านั้น การแลกเปล่ียนข้อมูลจะอยู่เฉพาะในอินทราเน็ตเท่านั้นหรือถ้ามีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับอินเทอร์เน็ตองค์กร จะกาหนดนโยบายในการเช่ือมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต การเชื่อมต่ออินทราเน็ตใช้โมเด็มและสายโทรศัพท์เหมือนกับการเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ต แต่แตกต่างกันที่เป็นการเชอ่ื มตอ่ เข้ากบั เครือข่ายส่วนบุคคลแทนที่จะเป็นเครือข่ายสาธารณะอย่างอินเทอร์เน็ต สิ่งท่ีแยกอินทราเนต็ ออกจากอินเทอร์เน็ต เครือข่ายอินทราเน็ตขององค์กรจะถูกปกป้องโดยไฟร์วอลล์(Firewall) ซ่ึงเป็นได้ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ท่ีทาหน้าท่ีกรองข้อมูลท่ีแลกเปลี่ยนกันระหว่างอินทราเน็ตและอินเทอร์เน็ต เม่ือทั้งสองระบบมีการเช่ือมต่อกัน ดังน้ันองค์กรสามารถกาหนดนโยบายเพือ่ ควบคมุ การเขา้ ใช้งานอินทราเนต็ ได้Intranet Back Intranet รูปที่ 3.8.เครอื ขา่ ยอนิ ทราเน็ต (Intranet) 3.เอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เป็นเครือข่ายที่เช่ือมต่อระหว่างอินทราเน็ตของสององค์กรดงั น้ันจะมีบางส่วนของเครือขา่ ยท่เี ป็นเจ้าของร่วมกันระหว่างสององค์กร การสร้างเอ็กซ์ทราเน็ตจะไม่จากัดด้วยเทคโนโลยี แต่จะยากตรงนโยบายท่ีเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่ทงั้ สององคก์ รจะต้องตกลงกนั เช่น องค์กรหนึ่งอาจจะอนุญาตให้ใช้ของอีกองค์กรหน่ึงล็อกอินเข้า 15

ระบบอินทราเน็ตของตัวเองได้หรือไม่ การสร้างเอ็กซ์ทราเน็ตจะเน้นที่ระบบการรักษาความปลอดภัยข้อมูลและการเขา้ รหสั ข้อมลู ส่ิงทีส่ าคญั ทส่ี ุดคือนโยบายการรักษาความปลอดภัยข้อมูลและการบงั คับใช้ รปู ท่ี 3.9.เอก็ ซ์ทราเนต็ (Extranet)การแบง่ ประเภทเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ตามสิทธิ์ความเปน็ เจา้ ของ การแบง่ ประเภทเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตามสิทธิ์ความเป็นเจ้าของเครือข่าย สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทดงั นี้คือ 1.เครือข่ายส่วนตัว (Private Network) เป็นการจัดต้ังเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีมีการใช้งานเฉพาะองค์กร เช่น องค์กรท่ีมีสาขาอาจทาการสร้างระบบเครือข่ายเพื่อเช่ือมต่อระหว่างสานักงานใหญ่กับสาขาที่มีอยู่การจัดตั้งระบบเครือข่ายส่วนตัวมีจุดเด่นในเรื่องของการรักษาความลบั ของขอ้ มูลสามารถควบคุมดูแลเครอื ขา่ ยและขยายเครอื ข่ายไปยังจุดที่ต้องการส่วนข้อเสียคือในกรณีที่ไม่ได้มีการส่งข้อมูลต่อเนื่องตลอดเวลาจะเสียค่าใช้จ่ายสูงมากเม่ือเทียบกับการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายสาธารณะ และหากมีการส่งข้อมูลระหว่างสาขาต่างๆ จะต้องมีการจัดหาช่องทางสื่อสารเช่ือมโยงระหว่างแต่ละสาขาด้วยซึ่งอาจจะไม่สามารถจัดช่องทางการส่ือสารไปครอบคลมุ ยงั พนื้ ที่ทต่ี อ้ งการได้รปู ท่ี 3.10.เครอื ขา่ ยส่วนตัว (Private Network) 16

2.เครือข่ายสาธารณะ (Public Data Network : PDN) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่บางครั้งเรียกว่าเครือข่ายมูลค่าเพิ่ม ( Value Added Network : VAN) ท่ีมีองค์กรหน่ึง (ThirdParty) เป็นผู้ทาหน้าที่ในการติดตั้ง เครือข่ายคอมพิวเตอร์และให้เช่าช่องทางการสื่อสารให้กับหน่วยงานต่างๆ ท่ีต้องการสร้างระบบเครือข่ายซ่ึงหน่วยงานน้ันๆ จะลดค่าใช้จ่ายของตนลงได้เนอ่ื งจากมีบคุ คลอื่นมาช่วยแบ่งปันค่าใช้จ่ายไปจะนิยมใช้กันมากเน่ืองจากมีค่าใช้จ่ายต่ากว่าการจัดตั้งเครอื ข่ายส่วนตัวสามารถใชง้ านได้ทนั ทีโดยไม่ต้องเสียเวลาในการจัดตั้งเครือข่ายใหม่รวมทั้งมีบริการให้เลือกซ่ึงแตกต่างกันไปท้ังในส่วนของราคา ความเร็ว ขอบเขตพ้ืนท่ีบริการและความเหมาะสมกับงานแบบต่างๆ รปู ท่ี 3.11.เครอื ขา่ ยสาธารณะ (Public Data Network : PDN)เครอื ข่ายแลน เครือข่ายแลนเป็นเครือข่ายที่มีขนาดเล็ก มีความคล่องตัวในการเชื่อมต่อระบบ การทางานในหน่วยงานหรือองค์กรสามารถควบคุมดูแลการส่ือสารภายในเครือข่ายได้ง่าย จึงเป็นเครือข่ายท่ีนิยมใช้และเป็นที่ยอมรับในปัจจุบันทาให้เทคโนโลยีเครือข่ายแลนได้รับการพัฒนาเพ่ือให้สามารถรองรับการทางานซ่ึงมีทั้งเครือข่ายแลนแบบใช้สายสัญญาณ (Ethernet) และเครอื ข่ายแลนแบบไรส้ าย (Wireless Lan) เครอื ขา่ ยแลนแบบใชส้ ายสัญญาณ เครือข่ายแลน (LAN) (Eternet) เครือข่ายแลนแบบไร้สาย (Wireless Lan) รปู ที่ 3.12.ชนิดของเครอื ขา่ ยแลน 17

เครอื ข่ายแลนแบบใชส้ ายสัญญาณ (Ethernet) เป็นเครือข่ายแลนแบบใช้สายสัญญาณหรือเรียกว่า อีเทอร์เน็ต (Ethernet) เป็นมาตรฐานที่เข้ามาช่วยในการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีใช้สายสัญญาณ วัตถุประสงค์เพื่อระบุชนิดของสายสัญญาณท่ีใช้ในการเช่ือมต่อเครือข่ายแลนว่าจะเป็นสายชนิดใด รูปแบบการเช่ือมต่อมีลักษณะเป็นอย่างไร และการส่งผ่านการเคลื่อนที่ของสัญญาณผ่านสายสัญญาณได้อย่างไร อีเทอร์เน็ต (Ethernet) คิดค้นโดยบริษัท Xerox ตามมาตรฐานของ IEEE 802.3 ทั้งน้ีมาตรฐานอีเทอร์เน็ต (Ethernet) มีหลายแบบเช่น 10Base2, 10Base5,10BaseT ซึ่งมาตรฐานที่กล่าวถึงมีรูปแบบขึ้นอยู่กับความเร็วในการรับส่งข้อมูล อุปกรณ์ที่ใช้และระยะทางที่สามารถส่งขอ้ มูลได้ การเรียกชื่ออีเทอร์เน็ต (Ethernet) ตามท่ีสถาบัน IEEE ได้กาหนดไว้การเรียกช่ือก็เพ่ือความสะดวกตอ่ การอา้ งองิ ถึงมาตรฐานของอเี ทอรเ์ นต็ ตามรูปแบบตัวอย่างดังน้ี 10 Base T ประเภทของสายสญั ญาณท่ีใช้ ในการเชือ่ ม ชนดิ ของชอ่ งสัญญาณที่สง่ ผ่าน สายสญั ญาณ ขนาดของช่องสัญญาณท่ีใช้ใน การรับ-สง่ ข้อมลู รปู ท่ี 3.13.รปู แบบการเรียกช่อื อเี ทอรเ์ นต็ (Ethernet)เครอื ข่ายแลนไรส้ าย เครอื ขา่ ยแลนไรส้ าย (Wireless Local Area Network : LAN) เป็นการส่ือสารข้อมูลท่ีใช้การส่งคลื่นความถี่วิทยุและคล่ืนอินฟราเรดในการรับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สายมีความแตกต่างกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใช้สายคือระบบเครือข่ายคอมพิว เตอร์ไร้ส ายใช้คล่ืนวิทยุส ามารถส่งผ่ า นอากาศทะลุกาแพงหรือส่ิงก่อสร้างต่างๆ ที่อยู่ระหว่างตัวรับสัญญาณและตัวส่งสัญญาณได้ทาให้ผู้ใช้งานมีความคล่องตัวและอิสระในการใช้งาน การติดต้ังและขยายระบบได้ง่ายและรวดเร็วเหมาะสาหรับสถานที่ที่ไม่สะดวกในการเดินสายซ่ึงจะแตกต่างกับระบบใช้สายที่ตัวส่งสัญญาณจะต้องต่อสายสัญญาณเพ่ือเชอ่ื มตอ่ ทาให้ไม่มีความสะดวกในการเคลือ่ นย้ายและการใช้งาน 18

รูปที่ 3.14.เครือข่ายแลนไรส้ ายความเปน็ มาของเครอื ขา่ ยแลนไรส้ าย ความต้องการใช้เครือข่ายแลนไร้สายมีลักษณะเช่นเดียวกับโทรศัพท์เคล่ือนที่ดังน้ันจึงมีหน่วยงานต่างๆ พยายามพัฒนาเครือข่ายแลนแบบไร้สายเพ่ือให้รองรับความต้องการของผู้ใช้โดยมีสถาบัน IEEE (Institute of Electrical and Electronic Engineers) เป็นสถาบันท่ีดูแลมาตรฐานวิจัยและพัฒนาความรู้และงานวิจัยใหม่ๆโดยเน้นด้านไฟกาลัง คอมพิวเตอร์โทรคมนาคม ระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ ระบบวัดคุมที่ได้รับการยอมรับจากองค์กรควบคุมมาตรฐานได้กาหนดมาตรฐานแลนไร้สาย โดยใหช้ อื่ ว่า IEEE 802.11 ระบบแลนไร้สาย IEEE 802.11 จึงเป็นท่ีรู้จักกันตั้งแต่น้ันมา ต่อมาสถาบัน IEEEได้พัฒนามาตรฐานใหม่ของแลนระบบไร้สายและให้ช่ือมาตรฐานที่ IEEE 802.11b โดยมีการพัฒนาให้ใช้ความเร็วในการรับส่ง และเป็นรูปแบบในการรับส่งข้อมูลแบบสองทิศทาง(Full Duplex Transmission) จากมาตรฐาน 802.11b ทาให้มีผู้ผลิตแลนไร้สายโดยเฉพาะบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์เครือข่ายขนาดใหญ่ให้ความสนใจและเร่งการพัฒนาแลนไร้สายมิได้หยุดอยู่เพียงแคก่ ารทาใหเ้ ช่อื มต่อถึงกนั ได้เท่านั้น ระบบการดูแลรักษาความปลอดภัยของสัญญาณข้อมูลที่แพร่กระจายในอากาศมีการวางมาตรฐานทางด้านการเข้าถึงข้อมูล มีการพัฒนาระบบการเคลื่อนย้ายเข้าสู่เครือข่ายหนึ่งไปอีกเครือข่ายหนึ่งหรือที่เรียกว่าโรมมิ่ง (Roaming) จนมาถึงปจั จบุ นัมาตรฐานเทคโนโลยีไรส้ ายและอุปกรณท์ ่เี กยี่ วข้อง มาตรฐานเทคโนโลยีไร้สายที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันมีหลายมาตรฐานแต่มาตรฐานสาหรับเทคโนโลยไี ร้สายทีเ่ ป็นทน่ี ิยมใชก้ ันอย่างกวา้ งขวางคอื ไวไฟ (Wireless Fidelity : WiFi) ไวไฟ (Wireless Fidelity : WiFi) คือองค์กรหนึ่งที่ทดสอบผลิตภัณฑ์ Wireless Lan หรือระบบเครือข่ายแบบไร้สาย ภายใต้เทคโนโลยีการสื่อสาร และภายใต้มาตรฐาน IEEE 802.11 ว่าอุปกรณ์ทุกตัวท่ีต่างย่ีห้อกันนั้นสามารถติดต่อส่ือสารกันได้โดยไม่มีปัญหา หากว่าอุปกรณ์ตัวน้ันมันผ่านตามมาตรฐานจะปั๊ม ตรา Wi-Fi certified ซึ่งเป็นรู้กันว่าอุปกรณ์ชิ้นนั้นสามารถ 19

ติดต่อส่ือสารกับอุปกรณ์ตัวอ่ืนที่มีตรา Wi-Fi certified นี้ได้และอุปกรณ์ชิ้นน้ันสามารถติดต่อสื่อสารในระบบเครือข่ายแบบไร้สายได้ โดยอยู่ภายใต้ มาตรฐานเทคโนโลยี 802.11, IEEE802.11b โดยการส่ือสารในเครือข่ายมีอุปกรณ์ท่ีช่วยในการเช่ือมต่อสัญญาณ เรียกว่าแอคเซสพอยต์ (Access Point) แอคเซสพอยต์ (Access Point) คืออุปกรณ์ท่ีทาหน้าที่เป็นจุดกระจายและเชื่อมต่อสัญญาณไร้สาย เพื่อเชื่อมต่ออุปกรณ์ไร้สายทุกชนิด (ที่ทางานภายใต้มาตรฐานของ IEEE802.11)เข้าดว้ ยกัน นอกจากจะทาหน้าที่เปน็ Access Point แล้วสามารถทาหน้าที่อ่นื ๆ เพือ่ ช่วยให้ระบบเครือข่ายไร้สายตอบสนองความต้องการของผใู้ ช้ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ รปู ท่ี 3.15.มาตรฐานเครือข่ายไรส้ าย (Wireless Fidelity)การรองรับความปลอดภยั ของเครอื ข่ายแลนไรส้ าย การรับส่งหรือการส่ือสารข้อมูลภายในเครือข่ายแลนไร้สายมีการรองรับและการรักษาความปลอดภยั ของข้อมลู ดงั นี้คือ 1.การควบคุมการเช่ือมต่อเข้ากับเครือข่ายแลนไร้สายโดยการต้ังค่า NetworkInterface Card ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าท่ีขอรับบริการ (Client) กับอุปกรณ์เช่ือมต่อสัญญาณ (Access Point) ให้มีค่าตรงกันจึงจะสามารถติดต่อกันได้ถือเป็นการกาหนดพื้นท่ีให้บริการของเครือข่ายแลนไร้สายท่ีได้รับอนุญาตให้ติดต่อกับ Access Point นั้นๆ ไว้ในตัวAccess Point เองทาใหบ้ คุ คลภายนอกจะไมส่ ามารถเช่ือมต่อเข้ากับเครือขา่ ยได้ 2.การเข้ารหัสเพ่ือป้องกันการดักสัญญาณระหว่างอุปกรณ์ Network InterfaceCard กับอุปกรณ์ Access Point สามารถรองรับการเข้ารหัสสัญญาณเพ่ือป้องกันการดักสัญญาณที่กระจายออกไปได้ โดยมีทั้งการเข้ารหัสสัญญาณตามมาตรฐานโปรโตคอลความปลอดภัยสาหรบั อุปกรณไ์ รส้ ายแบบ Wired Equivalent Privacy : WEP 20

การตอบสนองความตอ้ งการต่อผูใ้ ช้เครือข่ายแลนไรส้ าย การเคล่ือนย้ายของผู้ใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ไม่เฉพาะเจาะจงอยู่ในท่ีทางานอย่างเดียวยังครอบคลุมไปที่ต่างๆ เช่นการจัดประชุมสัมมนา เครือข่ายแลนไร้สายทาให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานปรับขนาดและความเหมาะสมได้ง่ายไม่ยุ่งยากในเรื่องการเดินสายส่ือสารและสถานที่ เครือข่ายแลนไร้สายสามารถครอบคลุมพื้นท่ีระหว่างอาคารได้แบบจุดไปจุดทาให้ดาเนินการได้เร็วและสะดวกต่อการติดตั้ง ให้ผลตอบแทนต่อการลงทุนคุ้มค่าทั้งนี้เพราะอุปกรณ์ต่อเช่ือมเครือข่ายแลนไร้สายมีแนวโน้มถูกลง สามารถชดเชยกับการลงทุนการเดินสายสญั ญาณและความคล่องตวั ในการทางาน รปู ท่ี 3.16.การเชอื่ มต่อระบบแลนไร้สาย (Wireless Lan) เครือข่ายแลนไร้สายมีมาตรฐานท่ียอมรับกันท่ัวไปสามารถใช้งานร่วมกันได้และเป็นมาตรฐานกลางท่ีกาหนดโดยสถาบัน IEEE มีการวางรูปแบบให้รับส่งสัญญาณกันได้ โดยเฉพาะเร่ืองการรักษาความปลอดภัยของคลื่นสัญญาณท่ีอาจถูกดักฟังได้ให้มีวิธีการเข้ารหัส การเข้าถึงข้อมูล การให้บริการใช้งานและการดูแลรักษาเครือข่ายทาได้ง่าย ท้ังนี้เพราะเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ได้รับการออกแบบมาให้เป็นแบบอัตโนมัติและตรวจสอบกันเอง เครือข่ายแลนไร้สายจึงมจี ดุ เด่นทช่ี ดั เจนและมีบทบาทท่ีสาคัญของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรใ์ นปจั จบุ นั 21


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook