1 หลักการและทฤษฎกี ารตดิ ต่อส่อื สาร อ.ฝากจติ ปาลินทร ลาภจิตรการสื่อสาร (Communication) สงั คมแห่งการส่ือสาร (Information Society) ความหมายของการสือ่ สาร กระบวนการส่งข่าวสารข้อมูลจากผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร มีวัตถุประสงค์เพ่ือชักจูงให้ผู้รับข่าวสารมีปฏิกริยาตอบสนองกลับมา โดยคาดหวังให้เป็นไปตามท่ีผู้ส่งต้องการ เป็นการท่ีบุคคลในสังคมมีปฏิสมั พนั ธโ์ ตต้ อบกนั ผา่ นทางข้อมูลข่าวสาร สัญลักษณแ์ ละเครอ่ื งหมายตา่ งๆดว้ ย - การส่ือสาร เป็นการก่อให้เกดิ ความหมายกับผ้ฟู งั เป็นการสง่ ข้อมูลจากท่ีหนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งเป็นการกระตุ้นเตือน ชกั นาใหบ้ ุคคลคลอ้ ยตามหรอื เหน็ ด้วย - การส่ือสารเกิดข้ึนตลอดเวลา อาจไมร่ ู้ตัว หรอื ไม่ตั้งใจ ขณะอ่านหนังสือก็ได้ยนิ เสียงพูดของคนอน่ื - การส่อื สารมีการเปลีย่ นแปลงอยเู่ สมอ ข้นึ อยู่กบั สถานการณ์ อารมณ์ ท่ีเปลยี่ นไป - การสือ่ สารทุกอยา่ งยอ่ มมเี ปา้ หมาย เมือ่ รับรูข้ ้อมลู ขา่ วสารมากข้ึน ความสับสนจะนอ้ ยลง - การสื่อสารเป็นสังคมอย่างหน่ึง ความต้องการทางสังคม ทาให้คนอยากจะคบหาสมาคมกับบุคคลอน่ื - การสื่อสารทุกอย่างจะแสดงให้เห็นสองลักษณะของการสื่อสาร เช่น คาขอร้อง คาพูดท่ีสนุกสนาน สมั พันธก์ ับท่าทางเชน่ ย้ิม หัวเราะ - การส่ือสารเป็นเรื่องสลับซับซ้อน เช่น การบอกเล่าเร่ืองต่อๆกัน จะแตกต่างกันไป เพราะนาเอาพฤตกิ รรมเขา้ ไปเก่ยี วขอ้ ง วธิ กี ารสอ่ื สาร 1. การส่ือสารด้วยวาจา หรือ วจนภาษา คือ ภาษาพูดท่ีเปล่งออกมาเป็นเนื้อหา เช่น การร้องเพลง การพูด เปน็ ต้น 2. การส่ือสารที่มิใช่วาจา หรือ อวจนภาษา คือ ภาษากาย กิริยา ท่าทาง สีหน้า ดวงตา น้าเสียง การแต่งกาย สัญลกั ษณ์ รปู แบบของการส่ือสาร การสือ่ สารทางเดียว (One – way communication)
2 เป็นการส่งข่าวสารหรือการสื่อสารไปยังผู้รับแต่เพียงฝ่ายเดียว โดยท่ีผู้รับไม่สามารถมีการตอบสนองทันที กับผู้ส่ง แต่อาจจะมีผลป้อนกลับไปยังผู้ส่งในภายหลังได้ เช่น การเขียนจดหมาย การส่ือสารแบบนี้ผู้ส่งและผู้รับไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันได้ทันที จึงมักเป็นการสื่อสารโดยใช้ส่ือมวลชน เช่น วิทยุโทรทศั น์ หนังสือพิมพ์ อีเมล sms เป็นตน้ อยา่ งไรก็ดี ถึงแม้ส่ือสารมวลชนจะเป็นการสอ่ื สารทางเดียวก็ตามปจั จุบัน รายการวิทยุสว่ นใหญ่และรายการโทรทัศน์บางรายการ ไดเ้ ปิดโอกาสให้ผู้ฟังหรือผู้ชมรว่ มแสดงความคดิ เห็นโดยการโทรศพั ท์ ทาใหก้ ารส่ือสารกลายเปน็ การสอื่ สารแบบสองทาง การสือ่ สารแบบสองทาง (Two – way communication) เปน็ การส่ือสารทผี่ รู้ ับมีการตอบสนองป้อนกลับทนั ที (immediate response) ส่งกลับมายังผู้ส่ง โดยที่ผู้ส่งหรือผู้รับอาจจะอยู่ต่อหน้ากันหรืออยู่คนละสถานท่ีก็ได้ แต่มรการเจรจาโต้ตอบกันไปมา โดยเปน็ การผลัดกนั ทาหน้าทผี่ สู้ ง่ และผู้รบั ระดับกิจกรรมทางการสือ่ สาร 1. ระดับตัวเอง (Intrapersonal communication) เป็นการส่ือสารกับตัวเอง เป็นท้ังผู้ส่งและผู้รับในขณะเดียวกัน เช่น การเขียน การอ่าน การวิเคราะห์ตัวเอง การเตอื นตวั เอง 2. ระดับระหวา่ งบุคคล (Interpersonal communication) เป็นการส่ือสารระหว่างคนสองคน เป็นการส่ือสารที่มี feedback ซึ่ง feedback น้ีจะมีอิทธพิ ลอย่างมากในการสอ่ื สาร โดยสามารถแบง่ ได้เป็น - การส่อื สารแบบเผชิญหน้า (face to face) เป็นการทผี่ ู้รบั ผู้ส่งสารเหน็ หนา้ กัน พูดคยุ กัน - การสื่อสารระหว่างบคุ คลแบบมีส่ือกลาง (interposed communication) เป็นการติดต่อสอ่ื สารระหว่างบุคคลโดยการใชส้ อื่ เป็นตัวกลาง อาจจะเป็นจดหมาย โทรศัพท์ วิทยุส่ือสาร 3. ระดับกล่มุ ยอ่ ย (Group communication) เป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลกับกลุ่มชนซึ่งเป็นคนจานวนมาก เช่น การสอนในห้องเรียนการฟงั การปราศรยั หาเสียง 4. ระดบั มวลชน (Mass communication)
3 เป็นการส่อื สารโดยใชส้ ่ือมวลชนประเภท วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนต์ รวมถึงสิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น นิตยสารแผ่นพับ โปสเตอร์ เป็นต้น เพื่อการติดต่อไปยังผู้รับสารจานวนมากซึ่งเป็นมวลชนหรือกลุ่มคนให้ได้รับข้อมูลขา่ วสารเดียวกนั ในเวลาพร้อมๆหรอื ไลเ่ ลยี่ กัน องค์ประกอบของการสื่อสาร 1. ผู้สง่ ผู้สอ่ื สาร แหลง่ ข่าว ( sender, communicator ,source) เป็นแหล่งข้อมูล ผู้รับผิดชอบในการจัดเตรียมสาร ทาให้มีผู้รับรู้สาร ผู้ส่งอาจเป็นคนเดียวหรอื กล่มุ คนก็ได้ ซึ่งเปน็ ผนู้ าเร่อื งราวขา่ วสาร เพ่อื ส่งไปยังผรู้ บั โดยวิธกี ารใดวธิ ีการหน่งึ โดยใช้ ภาษาพูด เขียนภาษามือ ภาพ สัญลักษณ์ เป็นต้น เพื่อให้ผู้รับเข้าใจ ซึ่งผู้สื่อสารจะส่ือสารได้ดีเพียงใดน้ัน ขึ้นอยู่กับคุณลกั ษณะของผูส้ ่ือสารต่อไปนี้ - ทักษะในการส่ือสาร ได้แก่ ความสามารถในการพูด การเขียน ต้องรู้คาศัพท์ การสะกดและไวยากรณ์เป็นอย่างดี การแสดงอากัปกิริยาและการมีเหตุและผล ต้องเหมาะสมและสอดคล้องกับเร่ืองที่พดู ความสามารถในการทาความเข้าใจเนื้อหาทจ่ี ะพดู - เจตคติ เป็นความรู้สึกจากภายในของบุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างลึกซ้ึง ด้วยการสะสมมานาน เจตคติของผู้ส่งสารตอ่ สารที่จะสง่ หากผูส้ ่งสารมีความสนใจสารทจี่ ะส่งออกไปนนั้ จะส่งผลให้การส่งสารเป็นไปด้วยความมั่นใจ จริงใจ เช่น ผู้พูดนิยมกล้วยไม้อย่างมาก ก็จะทาให้ผู้พูด พูดด้วยความมั่นใจให้ข้อมูลด้วยความจริงใจและส่งผลให้ผู้ฟังมีความเช่ือม่ัน เจตคติของผู้ส่งสารต่อผู้รับสาร หากผู้ส่งสารไม่มีความจริงใจหรือต้ังใจท่ีจะทาให้ผู้รับสารได้ประโยชน์จากสารแล้ว จะทาให้ มักจะปรากฏให้ผู้รับสารทราบไม่ทางใดก็ทางหน่ึง จนเกิดความสงสัยและไม่เชื่อม่นั ในตัวผูส้ ง่ สาร - ความรู้ ผู้ส่งสารต้องมีความรู้ท้ังในเรื่องท่ีจะพูด การเลือกเนื้อหาท่ีน่าเช่ือถือและสอดคลอ้ งกบั เรื่องที่จะพดู เหมาะสมกบั ผู้ฟัง การเลอื กใช้สอ่ื รวมไปถึงความรูเ้ กย่ี วกับผ้รู บั สาร
4 - ระบบสังคมและวัฒนธรรม เป็นตัวกาหนดให้ผู้ส่งสารมีบทบาท หน้าที่หรือตาแหนง่ ในสังคมเปน็ อย่างใดอย่างหน่ึง เชน่ บุคคลจากภาครัฐ อาวุโส ซึ่งมีผลต่อการยอมรับและเขา้ ใจในสารอย่างมาก วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ค่านิยม ความเช่ือ (ความเกรงใจ การแสดงท่าทาง การพุดอธิบายเรือ่ งราว) - อ่ืนๆ เช่น บุคลิกภาพผู้ส่งสาร น้าเสียง ความสนิทสนมระหว่างผู้ส่งและผู้รับกระฉบั กระเฉง ยมิ้ แยม้ 2. ขา่ วสาร (Message) เน้อื หาของสารหรอื สาระของเรือ่ งราวที่ส่งออกมา อาจเป็นคาพูด อักษร หรือไม่ใช่คาพูด เช่นความรู้ ความคิด ข่าวสาร บทเพลง เมื่อกลา่ วถึงสารนั้น จะต้องทาความรู้จักและพงึ ระมดั ระวงั องค์ประกอบ4 อยา่ งคอื - รหัสของสาร (message code) หมายถึง ภาษาหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความคิด เพื่อใช้ในการสอ่ื สาร โดยรหัสของสารมี 2 แบบ คอื คาพูด หรอื วจนภาษา และ ไม่ใช้คาพูดหรอื อวจนภาษา เช่น ยา หมายถงึ สารเคมี อาจมกี ารถอดรหัสสารผิดได้ ทาใหเ้ ขา้ ใจไม่ตรงกนั การส่ือสารผิดพลาด - เน้ือหาของสาร ( message content ) เน้ือหาของเร่ืองราวต่างๆท่ีครอบคลุมความรู้และประสบการณ์ ท่ีรวบรวมไว้ ตามท่ีผู้ส่งต้องการถ่ายทอดถึงผู้ส่งสาร โดยผู้พูดต้องพิจารณาตัวสารโดยเลอื กสารให้เหมาะสมรวมไปถึงปริมาณของสารด้วย - การจัดสาร หมายถึง การลาดับเรียบเรียงเนอ้ื หา ให้เป็นขั้นตอน เข้าใจง่าย - การเน้นตัวสารท่ีจะส่ง หากเป็นการเขียน สามารถเน้นข้อความท่ีสาคัญโดยการขีดเส้นใต้ ทาตวั หนา สีทีแ่ ตกตา่ ง หากเป็นการพดู ต้อง........................................................................... ............. 3. การสื่อหรือช่องทางในการสือ่ ความหมาย (Media or channel) การสื่อหรือช่องทางในการส่ือความหมาย ได้แก่ตัวกลางท่ีจะส่งข้อมูล ส่ือท่ีใช้มากท่ีสุด คือการใช้เสียงเป็นส่ือ หรืออาจมีการใช้สื่ออุปกรณ์ เช่น โทรศัพท์ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ หรือสื่อส่ิงพิมพ์ต่างๆเชน่ แผนที่ รูปภาพ การจัดนทิ รรศการ 4. ผู้รับข่าวหรอื กลุ่มเปา้ หมาย (Receiver) ผู้รับข่าวหรือกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้รับข่าวสารเรื่องราวต่างๆจากผู้ส่ง ผู้รับอาจเป็นคนเดียวกลมุ่ คน ซึง่ หากเป็นการส่อื สารแบบสองทางบคุ คลเพยี งคนเดยี วจะทาหน้าท่ีเป็นทัง้ ผู้รับและผสู้ ่งต่อไปน้ี - ทักษะในการรับสาร ผู้รับสารต้องมีความสามารถในการถอดรหัสสาร การทาความเข้าใจสาร โดย ต้องถอดรหัสบนพื้นฐานของความเป็นไปได้ ซ่ึงตอ้ งมีการนาความรู้ ประสบการณ์เดิมของตนเขา้ มาร่วมพจิ ารณาดว้ ย
5 - เจตคติต่อข้อมูลที่ได้รับหรือต่อผู้ส่งสาร หากผู้รับสารมีความสนใจสารท่ีถูกส่งออกมานั้นจะส่งผลให้ตนสนใจสารมากข้ึน เม่ือมีข้อสงสัยก็มีการสอบถาม มีการแลกเปลี่ยนระหว่างกัน ทาให้ผู้ส่งสารทราบว่าเข้าใจหรือไม่ อยา่ งไร และหากผู้รับสารมีความสนิทสนมกับผู้ส่งสารอยู่แล้วย่ิงจะทาให้การส่อื สารเป็นไปอย่างราบรน่ื และสัมฤทธ์ิผล เช่น ระหวา่ งเจา้ หนา้ ที่รฐั กบั ผนู้ าชมุ ชน..... - ความรู้ หากผู้รับมีพื้นฐานความรู้ในเรื่องที่ได้รับการถ่ายทอดอยู่แล้วยิ่งตะทาให้สามารถถอดรหสั สารไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ เข้าใจง่ายข้ึน เพลดิ เพลนิ ในการรบั สาร ยอมรบั สารได้เร็วและง่ายข้ึน - อื่นๆ คือ เวลา คือ ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการับสาร อารมณ์ คือ “บุคคลจะเรียนรไู้ ด้ดีทสี่ ุด เม่ืออยู่ในอารมณ์ท่ีแจม่ ใส ซง่ึ จะก่อใหเ้ กดิ ความพร้อมท่ีจะเรยี น” 5. ผล (Effect) สงิ่ ที่เกิดข้ึนจากการที่ผู้ส่งส่งเร่ืองราวไปยังผู้รบั ซ่ึงก็คือ การที่ผู้รับอาจมีความเข้าใจ ไม่เขา้ ใจยอมรับ หรือปฏิเสธ พอใจหรือ โกรธ 6. ขอ้ มูลย้อนกลบั (Feedback) ขอ้ มูลย้อนกลับ ไดแ้ ก่ การแสดงกริ ิยาตอบสนองของผู้รับต่อข้อมูลข่าวสารให้ผู้ส่งรับรู้การสื่อความ หมาย เช่น ยม้ิ รับ พยกั หนา้ ส่ายหน้า ตบมือ เขยี นจดหมายตอบ ตอบรับเป็นสมาชิก เพ่ือเป็นข้อมูลทที่ าใหผ้ สู้ ง่ สารรับทราบวา่ ผูร้ ับเข้าใจหรือยอมรบั หรอื ไม่ ตัวแปรต่างๆในการสอ่ื สาร
6 ผู้ส่ง ( Sender or Source) ต้องเป็นผู้ท่ีมีทักษะความชานาญ ในการสื่อสาร มีทัศนคติที่ดีต่อผู้รับเพื่อผลในการสื่อสาร มีความรู้อย่างดีเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารที่จะส่ง และควรจะมีความสามารถในการปรับระดับของข้อมูลนั้นให้เหมาะสมต่อระดับความรู้ของผู้รับ ตลอดจนพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรม ท่ีสอดคลอ้ งกบั ผ้รู บั ขอ้ มลู ขา่ วสาร (Message) เก่ยี วขอ้ งทางด้านเน้ือหา สัญลกั ษณ์ ช่องทางในการส่ง (Channel) หมายถึง การที่จะส่งข่าวสารโดยการให้ผู้รับได้รับข่าวสารข้อมูลโดยผา่ นประสาทสมั ผสั ทง้ั 5 หรอื เพียงส่วนใดส่วนหนึง่ คือ การได้ยิน การดู การสัมผัส การล้ิมรส หรือการได้กลนิ่ ผู้รับ (Receiver) ต้องเป็นผู้มีทักษะความชานาญในการสื่อสาร โดยมีความสามารถใน \"การถอดรหัส\" (decode) สาร เป็นผู้ที่มีทัศนคติ ระดับความรู้ และพ้ืนฐานทางสังคมวัฒนธรรมเช่นเดียวหรือคลา้ ยคลงึ กันกับผู้สง่ จงึ จะทาให้การสอื่ ความหมายหรอื การสอ่ื สารนนั้ ได้ผล
7 ** 7 C กบั การส่อื สารท่ดี ี Credibility ความนา่ เช่ือถือ : สามารถทาให้ผู้รบั สารเกิดความเช่อื ถอื ในสารน้นั ๆ Content เน้ือหาสาระ : เหมาะสม มีสาระใหเ้ กิดความพึงพอใจ เรง่ เรา้ และช้แี นะให้เกดิ การตัดสินใจได้ในลักษณะอย่างไรบ้าง มีประโยชน์Clearly ความชดั เจน : การเลอื กใช้คาหรอื ข้อความท่ีเข้าใจง่ายๆ ขอ้ ความไมค่ ลุมเครอื นั่นเอง Context ความเหมาะสม : การเลือกใช้ภาษาและใช้ส่ิงที่ส่งสารตลอดจนผู้รับเหมาะสมกับสังคมวฒั นธรรมและสิ่งแวดล้อมน้ันๆ เพียงใด Channel ช่องทางการส่งสาร : การเลือกวิธกี ารส่งข่าวสารได้เหมาะสมและรวดเร็วที่สุดในลกั ษณะไหน Continuity and Consistency ความต่อเนื่อง สม่าเสมอ บ่อยๆ : การสื่อสารกระทาอย่างต่อเนื่องมคี วามแน่นอนถกู ต้อง Cabability of audience ความสามารถของผรู้ บั สาร : การเลอื กใชว้ ิธีการส่งสารซ่งึ มั่นใจวา่ ผู้รับสารจะสามารถรับสารได้ง่ายและ สะดวกโดยคานึงถึงความรู้ เจตคติ อุปนิสัย ทักษะการใชภ้ าษา สงั คมวฒั นธรรมของผรู้ บั สารเปน็ สาคัญ
8 อุปสรรคที่สาคัญในการส่อื สาร ดา้ นกายภาพ อปุ สรรค ท่เี กิดจากสิ่งแวดลอ้ มต่างๆ ทัว่ ไป ได้แก่ วิธีการส่งข่าวสาร เครอ่ื งส่ง ขา่ วสาร เครื่องรับ วิธีการรบั ระยะทาง ส่งิ รบกวนตา่ งๆ ด้านตัวบุคคลและสังคม ความแตกต่างทางด้านสังคม ภูมิหลัง วัฒนธรรม อารมณ์ ค่านิยม วัฒนธรรม การศกึ ษา ด้านภาษา ภาษาท่แี ตกตา่ ง อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ความไมเ่ ข้าใจ หรือเขา้ ใจผดิ สรปุ หลักสาคญั ในการสอื่ สาร - พิจารณาวิธีการสอื่ สารโดยคานงึ ถึงธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ - สารท่ีสง่ ตอ้ งเหมาะสมกบั บคุ คลเป้าหมาย - ใช้ภาษาท่เี หมาะสมกับบคุ คลเปา้ หมาย - เหมาะสมกบั เวลา สถานท่ี บุคคล ตรงเวลา - แสดงออกเหมาะสม สุขมุ ละเอยี ด ปราณีต ดึงดูด - ใช้ two-way communication - เน้น ยา้ บางจดุ บางตอนทเี่ ป็นประโยชน์ - เตรยี มพร้อมท้ังผู้สง่ สารและรับสาร บทบาทในการสอ่ื สารของงานสง่ เสรมิ การสอ่ื สารเป็นปัจจยั สาคัญอยา่ งย่ิงในการสง่ เสริม ถา่ ยทอดความรู้ เทคโนโลยหี รือ วิทยาการ ต่างๆสู่เกษตรกรและประชาชน โดยการสือ่ สารมบี ทบาทต่อการส่งเสริม ดงั น้ี 1. บทบาทในการรายงานสภาวะสิง่ แวดลอ้ มและข่าวสาร
9 2. บทบาทในการประสานส่วนต่างๆในสังคม 3. บทบาทในการการถ่ายทอดมรดกทางสังคม 4. บทบาทในการถา่ ยทอดความรู้ วิทยาการใหม่ 5. บทบาทในการแสดงความคดิ เหน็ หรอื การชักจูง การเรียนรกู้ ับการส่ือสาร การเรียนรู้ เป็นกระบวนการท่ีมคี วามสาคญั และจาเป็นในการดารงชีวิต ส่ิงมชี ีวติ ไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์เร่ิมเรียนร้ตู ้ังแต่แรกเกิดจนตาย สาหรบั มนุษย์การเรียนรู้เป็นส่ิงที่ช่วยพฒั นาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตวโ์ ลกอน่ื ๆ นกั จิตวทิ ยาหลายท่านใหค้ วามหมายการเรยี นรูไ้ ว้ เชน่ - คมิ เบิล (Kimble , 1964 ) \"การเรียนรู้ เปน็ การเปล่ียนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม อนั เป็นผลมาจากการฝึกท่ไี ดร้ ับการเสริมแรง\" - ฮิลการ์ด และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower, 1981) \"การเรียนรู้ เป็นกระบวนการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก ท้ังน้ีไม่รวมถึงการ เปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมท่ีเกิดจากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือ สารเคมี หรอื ปฏกิ รยิ าสะท้อนตามธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ \" - คอนบาค (Cronbach) \"การเรียนรู้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมท่ีมีการเปลี่ยนแปลง อนั เปน็ ผลเน่อื งมาจากประสบการณท์ ่แี ต่ละบคุ คลประสบมา \" การเรียนรู้ของเกษตรกร การที่เกษตรกรนั้นได้รับข้อมูล ข่าวสาร หรือมีความสัมพันธ์กับเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมต่างๆ แล้ว เกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมจากเดมิ ที่ไมม่ ีความรู้และความเข้าใจ กลายเป็นบุคคลท่ีมีความรู้และความ เขา้ ใจและสามารถนาไปใช้พฒั นาการประกอบอาชีพของตนเองให้มีประสทิ ธภิ าพยิง่ ขึ้น จดุ มุ่งหมายของการเรียนรู้ พฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของนักการศึกษาซึ่งกาหนดโดย บลูม และคณะ (Bloom and Others ) มุง่ พัฒนาผเู้ รียนใน 3 ด้าน ดงั น้ี 1. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ท่ีเป็นความสามารถทางสมอง ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และประเมนิ ผล
10 2. ด้านเจตพิสัย (Affective Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ท่ีเปลี่ยนแปลงดา้ นความรู้สึกครอบคลมุ พฤตกิ รรมประเภท ความรูส้ กึ ความสนใจ ทศั นคติ การประเมินคา่ และคา่ นิยม 3. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถด้านการปฏิบัติ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคลื่อนไหว การกระทา การปฏิบัติงาน การมีทักษะและความชานาญ ดอลลาร์ด และมิลเลอร์ (Dallard and Miller) เสนอว่าการเรยี นรู้ มีส่ิงสาคญั 4 ประการ คอื - แรงขับ (Drive) เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบคุ คล เปน็ ความพรอ้ มท่ีจะเรียนรู้ของบุคคลทั้งสมอง ระบบประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ แรงขับและความพร้อมเหล่านี้จะก่อให้เกิดปฏิกิริยาหรือพฤตกิ รรมทีจ่ ะชักนาไปสกู่ ารเรียนรตู้ ่อไป - สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นตัวการท่ีทาให้บคุ คลมปี ฏกิ ิริยา หรือพฤติกรรมตอบสนองออกมา ในสภาพการเรียนการสอน ส่ิงเรา้ จะหมายถึงครู กิจกรรมการสอน และอปุ กรณ์การสอนตา่ งๆ ทคี่ รูนามาใช้ - การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมต่างๆ ท่ีแสดงออกมาเม่ือบุคคลได้รับการกระตุ้นจากส่ิงเร้า ทั้งส่วนท่ีสังเกตเห็นได้และส่วนที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ เช่น การเคลื่อนไหวทา่ ทาง คาพดู การคิด การรบั รู้ ความสนใจ และความรูส้ ึก เปน็ ต้น - การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการให้สิ่งท่ีมีอิทธิพลต่อบุคคลอันมีผลในการเพิ่มพลงั ใหเ้ กิดการเชือ่ มโยง ระหว่างส่งิ เร้ากับการตอบสนองเพ่ิมข้ึน การเสรมิ แรงมีทั้งทางบวกและทางลบ ซ่ึงมผี ลตอ่ การเรียนรูข้ องบคุ คลเป็นอนั มาก องค์ประกอบของการเรียนรู้ - ผู้สอน ผู้ที่มีบทบาทในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้เรียน ผู้สอนในงานส่งเสริมการเกษตร ก็คือเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรน่ันเอง ซ่ึงมีบทบาทหน้าที่ในการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของเกษตรกร เจ้าหน้าท่ีสง่ เสริมจะตอ้ งศกึ ษาขอ้ มลู หลายๆดา้ น เพื่อใหก้ ารเรียนรู้ของเกษตรกรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ - เนื้อหาสาระหรือวิชาการ เป็นข้อมูล ข่าวสารหรือเทคโนโลยีต่างๆที่เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมในฐานะของผู้สอนจะต้องพัฒนาดัดแปลงให้เหมาะสมกับเกษตรกรหรือผู้เรียน รวมท้ังใช้เทคนิควิธีการสอน ส่ือต่างๆ ในการถา่ ยทอดไปสู่เกษตรกร เพอ่ื ใหเ้ กิดการเรียนรูอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ - ผู้เรียน ผู้ที่จะรับข้อมูลข่าวสารหรือวิชาการ ในทางส่งเสริมการเกษตรกรนั้น ผู้เรียนก็คือ เกษตรกรและรวมท้ังแม่บ้านเกษตรกร บุตรหลานของเกษตรกร โดยส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีการศึกษาต่า ฐานะค่อนข้างยากจน และขาดความพรอ้ มในการเรียนรู้ ดังนัน้ เจ้าหนา้ ที่ส่งเสริมจะตอ้ งจัดเน้ือหาและวธิ ีการสอนให้เหมะสมกับผ้เู รยี น เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจและนาไปใช้ในการประกอบอาชพี ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
11 - วัสดุอุปกรณ์การสอนและสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ สื่อโสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ประกอบการสอนเช่น ของจริง ตวั อย่างรูปภาพ เป็นต้น รวมไปถึงเคร่ืองมอื และเครื่องชว่ ยสอนอ่ืนๆ เป็นต้น สภาพแวดล้อม เป็นส่วนหน่ึงท่ีจะทาให้การเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ ซ่ึงอาจแบ่งได้เป็น สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติไดแ้ ก่ - สถานทเ่ี รยี นและสภาพดนิ ฟ้า อากาศ เชน่ อณุ หภมู ิ แสง เสียง ลม ฝน ฯลฯ - สภาพแวดล้อมทางสังคม เช่น ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมในท้องถ่ิน ขนาดของกลุ่ม ผเู้ รยี น - รวมท้ังเสียงรบกวนจากบุคคลภายนอก ยวดยานพาหนะต่างๆ ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่าน้ีนับว่ามีผลกระทบตอ่ การเรียนการสอนอย่างยงิ่ กระบวนการเรยี นรู้ พฤตกิ รรมการเรียนรู้ แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท การเรียนรู้ทางด้านสติปัญญา( Cognitive Domain) การเรียนรู้ในด้านน้ี แบ่งเป็น 5ระดับ คือ 1. ความรู้ ได้แก่ การรับรู้ข้อมูลของส่ิงต่างๆ ในลักษณะของการรวบรวมข้อมูลหลักการ และข้อสรุป ซึ่งเป็นหลักการกว้างๆ พฤติกรรมท่ีแสดงถึงความรู้ในระดับน้ี เช่น บอกความหมายได้บอกเรอื่ งราวได้ บอกหลกั เกณฑ์ได้ กลา่ วเปน็ ถอ้ ยคาหรอื ข้อความได้ เลอื กได้ เขียนโครงร่างได้ เป็นตน้ 2. ความเข้าใจ ความสามารถในการขยายความรู้ออกไปอย่างสมเหตุสมผล การเรยี นรใู้ นระดบั น้ี ผู้เรียนสามารถแปลความหมายหรือตีความหมายได้ จับใจความสาคญั และสรุปความหมายได้พฤติกรรมท่ีแสดงออก ถึงความเข้าใจ เช่น แยกแยะได้ อธิบายได้ แปลความได้ ให้เหตุผลได้ ขยายและย่อความได้ ยกตวั อย่างได้ เป็นตน้ 3.การวิเคราะห์ ความสามารถในการแยกแยะผลรวม ออกเป็นส่วนประกอบย่อยๆที่สัมพันธ์กันได้ และสามารถพิจารณาหลักการของเรื่องนั้นได้ พฤติกรรมท่ีแสดงถึงความสามารถในการวเิ คราะห์ เชน่ จาแนกและแยกแยะได้ แบ่งกลุ่มได้ บอกความสมั พันธไ์ ด้ เปน็ ตน้ 4.การสังเคราะห์ ความสามารถในการรวบรวมเอาส่วนย่อยๆรวมเข้าเป็นผลรวมสาเร็จรูปได้ เป็นกระบวนการที่พจิ ารณาแต่ละส่วนย่อยๆแล้วรวมเข้าเป็นหมวดหมู่ เพ่ือใหเ้ กดิ ความกระจา่ งใน
12สงิ่ เหล่านนั้ ขึน้ มา พฤตกิ รรมทีแ่ สดงถึงความสามารถในการวิเคราะห์ เชน่ รวบรวมและจัดกล่มุ ได้ สร้างสรรค์ได้ สร้างระบบได้ จัดระเบียบและสร้างระบบใหมไ่ ด้ เป็นตน้ 5.การประเมินค่า ความสามารถในการพัฒนาและตัดสินใจในคุณค่าของบุคคลหรือสง่ิ ใด ไม่วา่ จะด้วยมาตรการทผ่ี ู้อื่นกาหนดไว้ หรอื กาหนดขึน้ ด้วยตนเอง พฤติกรรมทแ่ี สดงถงึ ความสามารถในการวิเคราะห์ เชน่ เปรยี บเทยี บชค้ี วามแตกตา่ งได้ สรปุ ความได้ วจิ ารณไ์ ด้ อธบิ ายได้ ตดั สินได้ สรุปย่อได้ การเรียนรทู้ างด้านจิตใจ (Effective Domain) เก่ียวข้องกับการเปลี่ยนแปลงในด้าน ความเชื่อ เจตคตแิ ละความรู้สึก ซึ่งเป็นส่ิงท่ีเกิดขึ้นจากความรู้สึก ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดข้ึนภายในแต่ละบุคคล กระบวนการเรียนรู้น้ีเร่ิมจากการรับรู้ก่อน หลังจากนั้นบคุ คลจะมีปฏกิ ิรยิ าโตต้ อบ การเรียนร้ทู างด้านทกั ษะทางกาย (Phychomotor domain) กระบวนการเรยี นร้แู บบน้ี เก่ียวข้องกับกิจกรรมของร่างกาย เช่น การเรยี นขับรถไถ ซึ่งการเรยี นรใู้ นขน้ั นเ้ี ป็นการเรยี นรู้ทต่ี ้องมกี ารฝึกฝน เพื่อใหเ้ กิดทกั ษะ ความชานาญ ปจั จยั ที่มีผลต่อการเรียนรขู้ องเกษตรกร 1. ความสนใจ ( interest) 2. ความตอ้ งการ (Need) 3. ความพร้อม (readiness) 4. ความทรงจา (Retention) 5. การกระตนุ้ เตือน(motivation) 6. การจูงใจ (persuasion) 7. ความแตกตา่ งของบุคคล (individual differences) 8. การปรบั ตวั ( adjustment) 9. เทคนคิ การสอน (teaching techniques) 10. การทบทวนบทเรยี น (repetition of pratice) 11. การใชแ้ รงเสริมหรอื การบีบบงั คับ (reinforcement) การยอมรบั ( Adoption) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคล หลังจากได้เรียนรู้ ซ่ึงทาให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและความชานาญและสามารถนามาใช้ในการปฏิบัติ เช่น เกษตรกรได้เรยี นรู้เกี่ยวกับการให้วัคซีนป้องกันโรคสัตว์แล้วเกิดการเรียนรู้ถึงผลดีของวัคซีน รวมท้ังได้เรียนรู้ถึงผลดีของวัคซีนรวมท้ังได้เรยี นรู้ถึงวกี ารปฏิบัตติ นชานาญ หลงั จากนน้ั ก็นามาปฏบิ ตั ใิ นการประกอบอาชพี ของตนเองได้
13 กระบวนการยอมรับ 1. ข้ันตื่นตนหรอื ขัน้ ของการรบั รู้ข่าวสาร (awarness) 2. ขั้นสนใจ ( interest) 3. ขนั้ ไตร่ตรองหรือประเมนิ ผล ( evaluation) 4. ขั้นลองทาหรือทดสอบ ( trial) 5. ขนั้ นาไปใช้หรือยอมรบั ( adoption) 1. ข้ันต่ืนตนหรือขั้นของการรับรู้ข่าวสาร (awarness) เป็นขั้นท่ีเกษตรกรเริ่มตระหนัก ตื่นตัวพร้อมทั้งได้รับทราบและให้ความสนใจนวัตกรรมเพราะเนื้อหาสาระของนวัตกรรมมีคุณสมบัติตรงกับสิ่งท่ีตนเองกาลังสนใจและต้องการทราบ ข้นั นอี้ าจเป็นเกษตรกรหรอื เจา้ หนา้ ท่ีสง่ เสรมิ การเกษตรเปน็ ผกู้ ระตนุ้ 2. ขั้นสนใจ ( interest) ภายหลังจากการตื่นตนหรือการรับรู้ของเกษตรกรแล้วจึงเกิดความสนใจค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม ขั้นน้ีเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมการเกษตรจะเข้ามามีบทบาทอย่างมาก ด้วยการช้ีแนะว่าแหล่งข้อมูลที่เปน็ รายละเอยี ดเพ่ิมเติม จากหลายๆแหลง่ ท่ีน่าเช่ือถือ 3. ข้ันไตร่ตรองหรือประเมินผล ( evaluation) เกษตรกรผู้รับการส่งเสริมประเมินผลว่าจะยอมรับวิชาการเทคโนโลยีหรือไม่ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมจาเป็นต้องให้รายละเอียดในระยะนี้คือ ข้อมูลท่ีช่วยให้เกษตรกรเกิดความเช่ือมั่นว่า เม่ือยอมรับนวัตกรรมแล้วจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อเขาอย่างเต็มท่ีและต่อเน่ืองพร้อมท้ังได้รับการสนับสนนุ ปัจจัยการผลติ มสี ินเชือ่ และบริการอ่นื ๆจากเจา้ หน้าที่อย่างเตม็ ที่หรือไม่อย่างไร 4. ขั้นลองทาหรือทดสอบ ( trial) เกษตรกรนานวัตกรรมไปทดลองใช้หรือทดลองปฏิบัติตามคาแนะนา 5. ข้ันนาไปใช้หรือยอมรับ ( adoption) หลังจากที่เกษตรกรนาไปทดลองแล้วได้รับผลตอบแทนอย่างดี เป็นทพี่ อใจของเกษตรกร จึงนาไปใชอ้ ย่างจริงจังในพนื้ ที่ของตนเอง โดยปฏบิ ัตอิ ย่างจริงจงั และตอ่ เน่อื ง
14การยอมรบั ของเกษตรกรจะมากน้อยแค่ไหน ข้ึนอยู่กบั ปริมาณและคุณภาพของผลประโยชน์หรือผลตอบแทนที่ได้รับ ประเภทและคณุ สมบตั ขิ องบุคคลเปา้ หมาย 1. ผยู้ อมรบั การเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ ; หวั ไวใจสู้ (innovator) - ใฝ่ศึกษา เสาะแสวงหาความรู้ทักษะ ประสบการณ์ใหม่ๆ กล้าเส่ียงภัย ชอบทดลองเพ่ือ ต้องการเห็นสิง่ ของใหม่ๆไมช่ อบอย่ตู ดิ ท่ี - เรยี นรแู้ ละตดั สนิ ใจไดร้ วดเร็ว แมน่ ยา - มคี วามตน่ื ตัวสูง - มปี ระสบการณ์มากและประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพและการดารงชีวิต - มักเป็นผ้นู าชุมชน 2. ผ้ยู อมรบั การเปลีย่ นแปลงเรว็ ; ขอดูทีทา่ (early adopter) - มีความระมดั ระวังตวั สูง - สนใจนวัตกรรมอย่างรวดเร็วแต่ รอดูผลการทดลองและทดสอบผลจากบุคคลอ่ืนก่อน หรอื รอดผู ลจากการสาธติ จนกระท่ังเหน็ ประโยชนเ์ สยี กอ่ น 3. ผยู้ อมรับรวดเร็วปานกลาง ; เบ่งิ ตาลงั เล (Early majority) - เปน็ กล่มุ ที่มีอายเุ ฉลี่ยและการศกึ ษาอย่ใู นระดับปานกลาง มีความสขุ ุมรอบคอบ - ฐานะทางเศรษฐกจิ ไมม่ น่ั คงมากนกั - ประสบการณ์และความรอบรู้มนี อ้ ย จึงมีความลงั เล - ไม่กล้าตัดสินใจในเวลาอันรวดเรว็ นกั 4. ผู้ยอมรับชา้ : หนั เหหวั ด้ือ (late mojority) - พวกน้ีมีลักษณะคล้าคลึงกับพวกท่ี 3 แต่มีแนวโน้มที่จะไม่น้อมรับคาแนะนามากว่า และ หวน่ั วิตกต่อการสูญเสียผลประโยชน์ - หรือ มองไม่เห็นคุณค่าของนวัตกรรม จึงยึดมั่นในวิธีการดั้งเดิม และอาจมีความรู้สึกเชิง ต่อต้านด้วย 5. ผู้ยอมรบั ชา้ มาก ; พวกงอมือจับเจ่า (late adoptor or laggard) - โดยท่วั ไปเป็นคนมีอายุ - เกียจคร้าน เฉ่ือยชา รอคอยความชว่ ยเหลือมากกว่าชว่ ยเหลือตนเอง 6. ผูล้ ้าหลัง : ไมเ่ อาไหนเลย (dogmatist) - สว่ นใหญเ่ ป็นคนมอี ายุมาก
15- การศึกษาต่าถึงปานกลาง- ยึดม่นั อยู่กับการปฏิบตั แิ บบด้ังเดิม- ไมย่ อมรบั แนวคิดหรือนวัตกรรมใหม่ ไม่ยอมปฏิบตั ิอะไรท่ีตนไมเ่ คยทามาก่อน- มที ศั นคติตอ่ การเปล่ยี นแปลงในทางลบเสมอ ปจั จยั ทม่ี อี ิทธิพลต่อการยอมรบั ของเกษตรกร 1. เกดิ จากนวัตกรรมหรือ เทคโนโลยที แี่ นะนา - เป็นประโยชน์ - คุม้ ค่า - ไมย่ ่งุ ยาก สอดคลอ้ งกับสภาพของตนเอง - สามารถทดลองก่อนได้ - เหน็ ผลชัดเจน 2. สภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรและอน่ื ๆ - ระดับการศกึ ษาของผูร้ ับ การศึกษาสูงมแี นวโน้มทจ่ี ะยอมรับได้มากกว่า - มีสถาบนั หรอื หนว่ ยงานทนี่ ่าเชอ่ื ถอื รับรอง - เจตคตทิ ่ดี ตี ่อผแู้ นะนา - อายุนอ้ ยมีแนวโน้มยอมรับได้มากกวา่ - ภูมหิ ลังและประสบการณ์ - เมื่อนวัตกรรมหรือ เทคโนโลยีนั้นสอดคล้องกับระบบสังคมและวัฒนธรรมจะทาให้ เกษตรกรยอมรับได้มาก - แหล่งขา่ วสารของสงั คม นั้นๆหรอื กลุม่ น้ัน น่าเชอ่ื ถือ
16 แนวทางในการลดการตอ่ ต้านของเกษตรกร - จดั ทาโครงการให้มคี วามชดั เจน ท้งั ในเรอื่ งวตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย วิธกี ารดาเนินงานและผลท่ี คาดวา่ จะไดร้ ับ รวมทั้งโครงการนัน้ ตอ้ งสอดคลอ้ งกับค่านิยมของคนในชุมชนนั้นๆ - การดาเนนิ โครงการ ตอ้ งให้ผู้ร่วมงานและผูเ้ ก่ียวข้องทง้ั หมด มสี ่วนร่วม ไม่ว่าจะเป็นการวางแผน การปฏบิ ตั ิตามแผน จะทาให้ไม่มีการต่อตา้ น - โครงการตอ้ งมคี วามยดื หย่นุ - ทาใหเ้ กษตรกร รสู้ ึกอิสระ มั่นคงไมว่ า่ จะเป็นทางด้านเศรษฐกิจหรือสงั คม - ต้องมีการตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับเสมอว่าสิง่ ทีน่ าไปเผยแพรต่ อ่ เกษตรกรนั้นถูกต้องชดั เจน หรอื ไม่ และต้องรบี แกไ้ ข หากมขี อ้ ผดิ พลาด
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: