Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Book แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

E-Book แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

Description: E-Book แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยี รายวชิ า เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง ความรแู้ ละการคดิ เชงิ ออกแบบเพือ่ การแก้ปัญหา ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 เรอ่ื ง ความรูแ้ ละการคดิ เชงิ ออกแบบเพือ่ การแก้ปัญหา เวลาเรียน 8 ชว่ั โมง ________________________________________________________________________________ 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ัด มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ รู้เท่า ทัน และมีจริยธรรม ตวั ช้วี ดั ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรในการทํา โครงงานเพื่อแก้ปัญหา หรอื พฒั นางาน 2. สาระการเรียนรู้ การทําโครงงาน เป็นการประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะจากศาสตร์ต่างๆ รวมทั้งทรัพยากรในการสร้าง หรอื พัฒนาชนิ้ งานหรอื วธิ กี าร เพื่อแก้ปญั หาหรืออาํ นวยความสะดวกในการทํางาน 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 อธบิ ายประโยชนข์ องการคิดเชิงออกแบบ 3.2 วิเคราะห์สถานการณห์ รอื ความต้องการทีค่ ำนึงถึงผใู้ ชด้ ว้ ยการคดิ เชงิ ออกแบบและความรู้ จากศาสตรต์ ่าง ๆ 4. ทักษะและกระบวนการ 4.1 ทักษะการคิดวิเคราะห์ 4.2 ทักษะการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ 4.3 ทักษะการสอ่ื สาร 4.4 ทักษะการทาํ งานรว่ มกับผู้อนื่

5. ความรู้เดิมทนี่ ักเรยี นต้องมี ธรรมชาติของเทคโนโลยี ได้แก่ ความหมายและการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ระบบทางเทคโนโลยี ที่ซับซ้อน ตลอดจนผลกระทบของเทคโนโลยี ได้ลงมือปฏิบัติเพื่อวางแผนและทํางานอย่างเป็นระบบตาม กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม (engineering design process) โดยใช้เทคนิคหรือวิธีการต่างๆ มาช่วย ในการวิเคราะห์ปัญหา กําหนดประเด็นและรวบรวมข้อมูล ออกแบบ วางแผนและสร้างชิ้นงาน ทดสอบ ประเมนิ ผล ปรบั ปรุงแกไ้ ขช้ินงาน และนาํ เสนอผลการแก้ปญั หา 6. สาระสําคัญ การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาอย่างรอบด้านภายใต้กรอบความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ รวมทั้งการใช้แนวคิดเชิงออกแบบร่วมกับการทํางานตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถพิจารณากิจกรรมและปัญหาที่เกิดในสถานการณ์และบริบทต่างๆ ช่วยให้ผู้เรียน วเิ คราะห์และเขา้ ใจผู้ใช้งานซง่ึ เปน็ กลมุ่ บุคคลผนู้ ํา เทคโนโลยที ถี่ ูกพฒั นาไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั 7. ส่ือและอปุ กรณ์ เร่ือง เวลา(นาท)ี 7.1 ใบกจิ กรรม สํารวจกอ่ นสรา้ ง 30 ใบกิจกรรมท่ี สร้างอยา่ งมีความรู้ 45 กิจกรรมเสนอแนะที่ 1 ปฏบิ ตั งิ านอย่างมีทักษะ 45 กจิ กรรมเสนอแนะที่ 2 พัฒนาแนวคดิ พิชติ ปัญหา 60 กจิ กรรมเสนอแนะที่ 3 คิดอย่างไรใหค้ ุ้มทุน 30 กจิ กรรมเสนอแนะที่ 4 ชว่ ยคุณสมารท์ หาจดุ คมุ้ ทนุ 60 กิจกรรมเสนอแนะท่ี 5 ช่วยคุณสมารท์ วางระบบนำ้ 60 กิจกรรม 1.1 ความรู้กับการออกแบบสนามเดก็ เลน่ 60 กจิ กรรม 1.2 ประมวลกระบวนการคิด 30 กจิ กรรม 1.3 การใช้ความรู้และการคิดเชงิ ออกแบบ กจิ กรรมเสนอแนะท่ี 6 เพื่อแก้ปญั หาจากสถานการณ์ท่สี นใจ 60 กิจกรรมทา้ ยบท 7.2 อนื่ ๆ -

8. แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 1) ผู้สอนนาํ เขา้ สบู่ ทเรียน โดยเปดิ โอกาสให้นกั เรยี นแสดงความคดิ เห็นในประเด็นทวี่ ่า“เทคโนโลยีใน ชวี ิตประจําวนั ถูกคดิ คน้ ข้นึ จากสาเหตใุ ดบ้าง” 2) ผู้สอนตั้งคําถามชวนคิดว่า “นักเรียนคิดว่าในการสร้างเทคโนโลยีที่ตอบสนองได้ตรงความต้องการ ของผู้ใช้ ผูส้ ร้างเทคโนโลยีจะทราบความตอ้ งการของผู้ใชไ้ ดอ้ ยา่ งไร” และนักเรยี นอภิปรายร่วมกนั 3) ผู้สอนจุดประกายเพ่อื ส่งเสริมความคิดแกน่ กั เรยี น ในประเดน็ ทวี่ ่า การรวบรวมข้อมลู ความ ตอ้ งการของผ้ใู ช้งาน สามารถทาํ ได้หลายวธิ ี และให้นักเรียนทาํ กิจกรรมเสนอแนะที่ 1 เรือ่ ง “สํารวจก่อน สรา้ ง” 4) ผู้สอนสรุปความสําคัญของการทราบความต้องการของผู้ใช้งานก่อนที่ผู้สร้างจะดําเนินการสร้าง เทคโนโลยีหรือนวัตกรรม 5) ผู้สอนตั้งประเด็นคําถามว่า “นักเรียนคิดว่าเทคโนโลยีส่งผลทางด้านบวกและด้านลบ ต่อการใช้ ชีวิตประจําวันของนักเรียน ครอบครัว หรือชุมชนที่นักเรียนอาศัยอยู่อย่างไร” และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแต่ละ กลุ่มแสดงความคิดเห็นและอภปิ รายรว่ มกนั 6) ผู้เรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นและศึกษาตัวอย่างนวัตกรรม จากเว็บไซต์ http://ipst.me/9182 แล้วคัดเลือกนวัตกรรมที่กลุ่มสนใจ จํานวน 3 หัวข้อ (ผู้สอนอาจเปิดโอกาสให้ผู้เรียนใช้อุปกรณ์ดิจิทัล เช่น สมาร์ตโฟน ชว่ ยในการสืบค้นขอ้ มูลเพิม่ เตมิ เก่ียวกบั หวั ขอ้ ทกี่ ลมุ่ ผเู้ รยี นสนใจ) 7) ผู้สอนให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มแบ่งปันหัวข้อนวัตกรรมและเหตุผลที่สนใจ ผ่านวิธีการต่างๆ ตัวอย่าง เช่น o กระดานรวมหัวข้อ โดยผู้สอนเตรียมกระดานพลาสติกลูกฟูก (พีพีบอร์ดหรือฟิวเจอร์บอร์ด) ให้ ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนนวัตกรรมที่สนใจ ทั้ง 3 หัวข้อพร้อมเหตุผลประกอบ ลงบนกระดาษโน้ตแล้ว นําไปตดิ บนกระดาน เพอื่ แลกเปลย่ี นความคิดเห็นกบั ผู้เรียนกล่มุ อ่ืนๆ o กระดานรวมหัวข้อออนไลน์ โดยผู้สอนสร้างพื้นที่แบ่งปันความคิดเห็นผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เช่น https://padlet.com/ ให้ผู้เรียนโพสต์ (post) แบ่งปันหัวข้อนวัตกรรมที่สนใจได้ทั้งในรูปแบบข้อความ รูปภาพ หรือคลิป วิดโี อตามความต้องการของผู้เรียน 8) ผู้สอนจุดประกายความคิดแก่ผู้เรียนด้วยคํา ถามว่า “นักเรียนคิดว่า ผู้สร้างนวัตกรรมที่กลุ่ม นกั เรยี นสนใจ จาํ เปน็ ตอ้ งมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเรอ่ื งใดบา้ ง” ใหผ้ เู้ รยี นศึกษาเนอ้ื หา หวั ขอ้ 1.1.1 ความรู้พน้ื ฐาน ในหนงั สอื เรียน แลว้ ทาํ กจิ กรรมเสนอแนะท่ี 2 เร่อื ง “สรา้ งอย่างมคี วามรู้”

9) ผู้สอนจุดประกายความคิดแก่ผู้เรียนด้วยคํา ถามว่า “นอกจากความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับ นวตั กรรมนักเรยี นคิดวา่ มสี ง่ิ ใดทผ่ี ู้สรา้ งควรรแู้ ละให้ความสําคัญเพอื่ ให้เกดิ ทักษะท่ีดใี นการสร้างนวัตกรรม” ให้ ผู้เรยี นศึกษาเนื้อหา หัวขอ้ 1.1.2 ความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน ในหนงั สือเรยี นแล้วทํากิจกรรมเสนอแนะ ท่ี 3 เรอื่ ง “ปฏิบัตงิ านอย่างมีทกั ษะ” 10) ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปเกี่ยวกับความสําคัญของความรู้พื้นฐานความรู้และ ทักษะในการปฏบิ ตั งิ าน ทสี่ ง่ ผลต่อการออกแบบเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม 11) ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาหัวข้อ 1.2 การคิดเชิงออกแบบกับการแก้ปัญหา ซึ่งประกอบด้วย การระบุและตีความปัญหา การพัฒนาแนวคดิ และการสรา้ งแนวทางการแก้ปญั หา แลว้ ทํากจิ กรรมเสนอแนะท่ี 4 เรอ่ื ง “พัฒนาแนวคดิ พิชติ ปัญหา” 12) ผ้เู รยี นศกึ ษากรณีศกึ ษาของนายสมารท์ (หนังสือเรยี นหน้า 12–13) แลว้ ทาํ กจิ กรรมเสนอแนะที่ 5 เร่ือง “คดิ อยา่ งไรใหค้ ุม้ ทนุ ” 13) ผเู้ รยี นศกึ ษากราฟความสัมพนั ธข์ องปริมาณการผลติ และการขาย ตน้ ทุน กําไรและการคํานวณ จดุ ค้มุ ทนุ (หนงั สือเรียน หนา้ 14–15) แลว้ ทาํ กจิ กรรม 1.1 ชว่ ยคณุ สมารท์ หาจดุ คมุ้ ทนุ 14) ผเู้ รียนแตล่ ะกลุ่ม นาํ เสนอผลทีไ่ ด้จากการระดมความคดิ เพือ่ ชว่ ยคณุ สมาร์ทหาจดุ ค้มุ ทุนในการ ออกแบบฟาร์มอัจฉรยิ ะ โดยผ้เู รยี นและผูส้ อนรว่ มกันอภิปรายเก่ยี วกบั วิธกี ารหาจุดคุ้มทนุ ของแตล่ ะกลมุ่ 15) ผูเ้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ ศึกษาสถานการณก์ ารพัฒนาแนวคดิ ในการแก้ปัญหาของนายสมารท์ (หนังสอื เรียน หน้า 16–20) แลว้ ทํา กจิ กรรม 1.2 ช่วยคุณสมาร์ทวางระบบนำ้ 16) ผเู้ รยี นแต่ละกล่มุ นําเสนอผลท่ไี ด้จากการระดมความคดิ เพอื่ ชว่ ยคุณสมาร์ทวางระบบนำ้ 17) ผสู้ อนให้ผเู้ รียนแตล่ ะกลมุ่ งคะแนนเสียง (vote) เลือกระบบนำ้ สาํ หรับโรงเรอื นมะเขือเทศ ทแ่ี ต่ ละกลมุ่ เห็นว่ามคี วามเปน็ ไปไดแ้ ละมปี ระสทิ ธิภาพสงู สุด ด้วยวธิ กี ารลงคะแนน ตวั อย่างเชน่ • การยกมือลงคะแนน โดยแต่ละกล่มุ สามารถยกมือให้คะแนนแกก่ ลมุ่ ทเ่ี ลอื ก จํานวน 3 กล่มุ แล้วนับคะแนนรวม เรยี งลาํ ดบั จากกล่มุ ที่ได้คะแนนมากทสี่ ดุ ไปน้อยทส่ี ดุ จากนั้นผสู้ อนถาม เหตผุ ลที่ผู้เรยี นแตล่ ะกลมุ่ เลือกลงคะแนนใหแ้ ก่ระบบของกลุม่ ทผ่ี ูเ้ รียนเลอื ก • การหยอ่ นบตั รลงคะแนน โดยแต่ละกลุ่มเขียนช่ือกลุ่มทเ่ี ลือก จํานวน 3 กลมุ่ ลงกระดาษบตั ร ลงคะแนน พรอ้ มให้เหตุผลประกอบการตดั สนิ ใจ นาํ ใส่ลงในกล่องรบั คะแนน แลว้ นบั คะแนนรวม เรยี งลําดบั จากกลมุ่ ท่ไี ดค้ ะแนนมากที่สดุ ไปนอ้ ยท่สี ุด • การลงคะแนนออนไลน์ โดยผู้สอนสร้างฟอร์มการลงคะแนนบนคลาวด์ เช่น google form แต่ละกลุ่มเลอื กลงคะแนน จาํ นวน 3 กลุม่ พรอ้ มระบุเหตผุ ล แล้วผสู้ อนสรุปและแสดง คะแนนรวมในรูปแบบสารสนเทศแก่ผู้เรียน

18) ผสู้ อนและผู้เรียนร่วมกันอภิปราย เพือ่ สรปุ ความสาํ คญั ของการออกแบบตามแนวทางการ แก้ปัญหารวมถงึ การทดสอบและปรับปรงุ การทํางานของระบบเป็นระยะ 19) ผสู้ อนจดุ ประกายผู้เรยี นว่า จากการช่วยแก้ปัญหาสถานการณ์ของนายสมารท์ ทต่ี อ้ งการสรา้ ง ฟารม์ อจั ฉริยะ ผู้เรยี นสามารถนาํ กระบวนการคิดไปปรบั ใช้กับสถานการณอ์ น่ื ทผี่ ูเ้ รียนเคยมปี ระสบการณไ์ ด้ 20) ผู้เรียนแตล่ ะกลมุ่ ทำกจิ กรรม 1.3 ความรูก้ บั การออกแบบสนามเดก็ เล่น 21) ผเู้ รยี นแต่ละกลุ่ม นําเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาการออกแบบสนามเดก็ เลน่ ของชุมชน ในรูปแบบ การนาํ เสนอสถานการณส์ มมติในชุมชน ประกอบดว้ ย 4 บทบาทหลัก คอื • ทีมคณะทํางาน รบั บทบาทโดย กลมุ่ ผูน้ าํ เสนอ • กลุ่มผแู้ ทนชมุ ชุน รบั บทบาทโดย ผู้เรยี นกลุ่มอืน่ • กลมุ่ เดก็ ในชุมชน รบั บทบาทโดย ผู้เรียนกลุ่มอน่ื • ผ้ปู กครองของเดก็ รบั บทบาทโดย ผ้เู รียนกลุ่มอ่นื ผสู้ อนและผูเ้ รยี นอภปิ รายร่วมกัน เพื่อสรุปข้อดีและข้อควรพัฒนาของสนามเดก็ เลน่ แต่ละแบบ 22) ผสู้ อนกระตนุ้ ผู้เรียนใหเ้ กดิ การตกผลกึ ความคิดดว้ ยการใช้คาํ ถามชวนคิด “นกั เรยี นคดิ วา่ การคิด เชงิ ออกแบบ และ กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม มีความสมั พันธก์ นั อย่างไร และผพู้ ัฒนาเทคโนโลยี ใช้ ทั้ง 2 กระบวนการน้ีในการทาํ งานตา่ งกันอย่างไร” 23) ผู้เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ระดมความคดิ จากประสบการทาํ กิจกรรมทีผ่ ่านมาประกอบกับการศกึ ษา เน้อื หาในหนังสอื เรยี นและแผนภาพแสดงองค์ประกอบของการสรา้ งเทคโนโลยี (หนงั สอื เรยี น หนา้ 23–24) ทาํ กิจกรรมเสนอแนะที่ 6 เรอ่ื ง “ประมวลกระบวนการคิด” 24) ผู้เรียนและผู้สอนอภปิ รายรว่ มกัน เพ่อื สรุปความสัมพนั ธร์ ะหว่างการคดิ เชิงออกแบบและ กระบวนการคิดเชิงวิศวกรรม โดยผสู้ อนอาจยกตัวอยา่ งสถานการณอ์ ืน่ ๆ ทสี่ ามารถพบเหน็ ไดใ้ น ชีวิตประจาํ วนั เพอ่ื กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนมองปญั หาทอ่ี าจเกิดขน้ึ จากสถานการณร์ อบตัว 25) ผู้เรยี นแตล่ ะกลุ่มทาํ กิจกรรมท้ายบท

9. การวัดและประเมนิ ผล วิธีการวัด เคร่อื งมอื ท่ีใชว้ ัด เกณฑก์ ารประเมินการผ่าน รายการประเมนิ การอภปิ ราย การอภปิ ราย คะแนน 31-40 หมายถงึ ดีมาก การอธบิ ายประโยชน์ของการคิด สังเกตพฤตกิ รรม คะแนน 21-30 หมายถึง ดี เชิงออกแบบ การวเิ คราะห์สถานการณ์ ตรวจใบกจิ กรรม ใบกิจกรรม 1.1 คะแนน 11-20 หมายถึง พอใช้ หรือความต้องการที่คํานงึ ถึง สังเกตพฤติกรรม (การพัฒนาแนวคิด) คะแนน 1-10 หมายถึง ปรับปรงุ ผใู้ ช้ดว้ ยการคดิ เชงิ ออกแบบ และความรจู้ ากศาสตร์ตา่ งๆ ใบกิจกรรม 1.2 ผู้เรยี นได้ระดับคุณภาพ ดี (การสร้างแนวทาง ขน้ึ ไปถือว่าผ่าน ทกั ษะการสอ่ื สาร ทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา) หมายเหตุ : การประเมินทแี่ สดง ทกั ษะการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ ใบกิจกรรม 1.3 เปน็ ไปตามประเด็นการประเมนิ ทักษะการทํางานร่วมกับผู้อน่ื (การแก้ปญั หาด้วย และระดับคะแนนในหัวข้อที่ การคิดเชิงออกแบบ) 1. การอธิบายประโยชน์ของการคิด กจิ กรรมท้ายบท (การแก้ปญั หาด้วย เชงิ ออกแบบ และหวั ขอ้ ที่ การคดิ เชงิ ออกแบบ) 2. การวิเคราะห์สถานการณห์ รอื ความตอ้ งการทีค่ าํ นงึ ถงึ ผใู้ ช้ด้วย สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม การคดิ เชงิ ออกแบบและความรู้ สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม จากศาสตรต์ ่าง ๆ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผ้เู รยี นไดร้ ะดับคณุ ภาพ ดี ขึ้นไป ถอื ว่าผา่ น (ดูเกณฑก์ ารประเมินในภาคผนวก)

เกณฑ์การวัดและประเมินผล ประเดน็ การประเมิน ระดบั คะแนน 4 3 2 1 อธบิ ายประโยชน์ อธบิ ายประโยชน์ อธิบายประโยชน์ 1. การอธบิ าย อธบิ าย ของการคดิ เชิง ของการคดิ เชิง ของการคิดเชงิ ออกแบบ โดยมี ออกแบบ โดยมี ออกแบบ ประโยชน์ ประโยชน์ การเช่ือมโยงกับ การเช่อื มโยงกับ โดยไมม่ กี าร การแกป้ ญั หาให้ การแก้ปญั หาให้ เช่ือมโยงกบั การ ของการคดิ เชิง ของการคิดเชงิ ผูใ้ ช้ ผู้ใช้ แกป้ ญั หาให้ผใู้ ช้ ผทู้ ่เี กีย่ วข้อง ผู้ทเี่ กี่ยวข้อง ผูท้ ีเ่ กย่ี วขอ้ ง ออกแบบ ออกแบบ ซงึ่ ซึง่ ต้องเช่ือมโยง แต่ไมไ่ ดใ้ หค้ วาม ไมไ่ ดใ้ หค้ วามสาํ คญั กบั บริบทหรอื สาํ คญั กบั ความจํา กับการระบบุ รบิ ท แสดงใหเ้ หน็ ถงึ เงอ่ื นไข เปน็ ทต่ี ่อมกี าร หรอื เงื่อนไขที่ ท่เี ก่ยี วข้อง ระบุบรบิ ทหรือ เกีย่ วขอ้ ง ความสําคญั กบั เง่อื นไขท่ี เก่ยี วขอ้ ง การแก้ปญั หาที่ ต้องเชื่อมโยง กับผ้ใู ช้ ผูท้ ี่ เกีย่ วข้องอยา่ ง ชดั เจนและ จําเปน็ ต้อง เช่อื ม โยงกบั บริบท หรือเง่อื นไขท่ี เกยี่ วขอ้ งอย่าง ถกู ตอ้ งและ ชัดเจน

2. การวิเคราะหส์ ถานการณห์ รอื ความต้องการท่คี ํานึงถึงผใู้ ช้ด้วยการคดิ เชงิ ออกแบบและความรู้ จากศาสตร์ต่าง ๆ (กจิ กรรมท้ายบท) 2.1 การระบุและตีความปญั หา ประเดน็ การประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 การระบสุ าเหตุ ระบสุ าเหตุ ระบุสาเหตุ หรือ ระบุสาเหตุ หรือ ระบุสาเหตุ หรือ สาระสาํ คัญของ หรอื สาระสําคญั สาระสาํ คัญของ สาระสาํ คัญของ สาระสาํ คญั ของ ปัญหาและกาํ หนด ของปัญหาโดย ปญั หาโดย ปัญหาโดย ปัญหาโดยไมไ่ ด้ ขอบเขตของปัญหา คํานึงถงึ ผูใ้ ช้ คํานงึ ถงึ ผู้ใช้ คาํ นงึ ถึง นําขอ้ มูลที่รวบรวม และผทู้ ี่ และผูท้ เี่ กยี่ วขอ้ ง ผใู้ ชห้ รอื ผทู้ ่ี มาประกอบการ เก่ียวข้องได้ ได้ เกีย่ วขอ้ งบางส่วน พจิ ารณา และระบุ อย่างชดั เจน โดยใชข้ ้อมูลที่ โดยใชข้ ้อมูล ปัญหาได้ สอดคลอ้ งกับ รวบรวมมา ทีร่ วบรวมมา ไม่ถูกตอ้ ง ขอ้ มูล ประกอบการ ประกอบการ ทร่ี วบรวมมา กาํ หนดปญั หา กําหนดปญั หา เพ่อื ใชก้ าํ หนด และขอบเขตของ และขอบเขต ปญั หาและ ปัญหา ของปญั หา ขอบเขตของ ไดอ้ ย่างชัดเจน แต่ขาดความ ปญั หาโดย สมบูรณ์ คาํ นงึ ถึงความ ต้องการ ข้อจํากัด หรอื เงื่อนไขต่างๆ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง และชัดเจน

ประเดน็ การประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 การวเิ คราะหแ์ ละ วเิ คราะหผ์ ูใ้ ช้ผู้ วเิ คราะห์ผู้ใชผ้ ทู้ ี่ วิเคราะห์ผู้ใชผ้ ทู้ ี่ ระบผุ ใู้ ช้ หรือ ผูท้ ี่ ทําความเข้าใจ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั เกี่ยวขอ้ งกับ เกย่ี วข้องกบั เกยี่ วข้องกับปญั หา เก่ียวกบั ผู้ใช้และผ้ทู ่ี ปัญหาได้ ปัญหาได้ครบถว้ น ปญั หาได้ครบถ้วน ได้แต่ไม่ครบถว้ น เกีย่ วข้อง ครบถว้ น รวบรวมข้อมลู แต่รวบรวมข้อมลู รวบรวมข้อมูล พนื้ ฐานและความ พน้ื ฐานท่ี พน้ื ฐาน ตอ้ งการของ เก่ยี วขอ้ งกบั ขอ้ จาํ กัดและ บคุ คล บคุ คลดังกลา่ วได้ ความต้องการ ซึง่ จําเป็นตอ่ การ ไมค่ รบถ้วน ของบุคคลท่ี แก้ปญั หาได้ จําเป็นต่อการ ครบถ้วน แก้ปัญหา ไดห้ ลากหลาย ครบถว้ น พอเพยี งต่อการ นําไปพฒั นา แนวคดิ ในการ แก้ปญั หา การรวบรวมขอ้ มูล สืบค้นและ สืบคน้ และ สบื คน้ และ สบื ค้นและรวบรวม ทจ่ี ําเป็นต่อการ แกป้ ญั หา รวบรวมขอ้ มูลที่ รวบรวมข้อมูลท่ี รวบรวมขอ้ มูลท่ี ขอ้ มูลท่ีเก่ียวขอ้ งกับ เกี่ยวข้องกับ เก่ียวข้องกับ เก่ียวข้องกบั ปัญหา ปญั หาด้วย ปัญหาจาก ปัญหาจาก แต่แหล่งขอ้ มลู ท่ี วธิ ีการท่ี แหล่งข้อมลู ท่ี แหล่งขอ้ มูลที่ สบื ค้น หลากหลายจาก น่าเชอื่ ถือได้ นา่ เชื่อถอื ได้ ไม่น่าเชอื่ ถือได้ แหล่งข้อมูลท่ี ขอ้ มูลที่ถูกตอ้ ง ข้อมลู ท่ถี ูกตอ้ งแต่ ขอ้ มูลที่ นา่ เชือ่ ถือได้ เพียงพอต่อการ ไม่เพยี งพอตอ่ การ ไม่ถูกต้องไม่ ข้อมลู ทถ่ี ูกต้อง แกป้ ัญหา แกป้ ัญหา สอดคล้อง เพยี งพอต่อการ กบั ปญั หา แกป้ ญั หา

2.2 การพัฒนาแนวคดิ ประเด็นการประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 การประเมินและ ประเมินและ ประเมนิ และ ประเมินและ ประเมนิ และ ตัดสนิ ใจเลือก ตัดสินใจเลอื ก ตัดสนิ ใจเลอื กข้อมูล ขอ้ มูล ความรทู้ จ่ี าํ ตัดสินใจเลอื ก ตัดสินใจเลือก ขอ้ มลู ได้ ไมส่ อดคล้อง เปน็ ตอ่ การ สอดคลอ้ งกับการ กบั การแกป้ ัญหา แกป้ ญั หา ข้อมลู ได้ ขอ้ มลู ได้ แกป้ ญั หา สอดคลอ้ งกบั สอดคล้องกบั การแกป้ ัญหา การแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบ อย่างเปน็ ระบบ ได้ขอ้ มลู ถูกตอ้ ง ไดข้ อ้ มลู ถกู ตอ้ ง และสามารถ และสามารถ กําหนดข้อมูลท่ี กาํ หนดข้อมลู ท่ี ตอ้ งการสบื คน้ ต้องการสบื คน้ เพิ่มเตมิ ได้ เพม่ิ เตมิ ได้ โดยรวบรวม ข้อมูล ท่จี าํ เปน็ ต่อการ แกป้ ัญหาได้ ครบถว้ น

ประเด็นการประเมิน 4 ระดับคะแนน 1 32 การพจิ ารณาหนา้ ท่ี พัฒนาแนวคดิ ใน พฒั นาแนวคิดใน พัฒนาแนวคิดใน พัฒนาแนวคิดใน การแก้ปญั หาได้ องค์ประกอบท่ี การแก้ปญั หาได้ การแกป้ ญั หาได้ การแก้ปญั หาได้ 1 แนวคดิ โดยไมม่ ี รายละเอยี ดของ จําเปน็ และการ อยา่ งหลากหลาย 2-3 แนวคดิ โดย 1 แนวคิดโดยมี หนา้ ท่หี รอื มคี วามเปน็ ไปได้ มีรายละเอียดของ รายละเอยี ดของ องค์ประกอบทจี่ าํ พัฒนาแนวคิดใน เปน็ ต่อการแกป้ ัญหา การแกป้ ัญหา ในการนาํ ไป หน้าทห่ี รอื หน้าท่หี รอื อย่างชัดเจน ใชแ้ กป้ ญั หา องค์ประกอบท่ี องคป์ ระกอบทจ่ี าํ โดยมี จาํ เป็นต่อการ เป็นตอ่ การ รายละเอยี ดของ แกป้ ญั หาอยา่ ง แกป้ ัญหาอยา่ ง หน้าท่ีหรอื ชัดเจน และเลือก ชดั เจน องค์ประกอบ แนวคิดใน ทีจ่ าํ เปน็ ตอ่ การ การแกป้ ญั หาได้ แก้ปัญหาอย่าง สอดคล้องกบั ผใู้ ช้ ชัดเจนและเลอื ก ผทู้ ่เี ก่ียวขอ้ งและ แนวคดิ ใน ขอบเขตของปญั หา แก้ปัญหาได้ สอดคลอ้ งกับผ้ใู ช้ ผทู้ ่ีเกยี่ วข้องและ ขอบเขตของ ปญั หา การเขยี นภาพรา่ ง เขียนภาพร่าง เขยี นภาพร่าง เขยี นภาพรา่ ง เขยี นภาพร่าง หรอื แผนภาพแสดง หรอื แผนภาพ หรอื แผนภาพ หรอื แผนภาพ หรอื แผนภาพไม่ รายละเอยี ดของ แสดง แสดงรายละเอยี ด แสดงรายละเอยี ด ละเอียดขาดข้อมูล แนวคิดในการ รายละเอียดของ ของแนวคดิ ในการ ของแนวคิดในการ เปน็ ส่วนใหญแ่ ละไม่ แกป้ ัญหา แนวคิดในการแก้ แกป้ ญั หาได้ แกป้ ัญหา สามารถส่ือสารให้ ปัญหาไดอ้ ย่าง สามารถส่อื สารให้ แตย่ งั ขาดขอ้ มูล ผู้อื่นเข้าใจตรงกัน ละเอยี ด แสดง ผู้อื่นเขา้ ใจตรงกนั บางส่วนและไม่ ขอ้ มลู ครบถว้ น สามารถส่อื สารให้ สามารถส่ือสาร ผ้อู ่นื เขา้ ใจตรงกนั ใหผ้ อู้ ืน่ เขา้ ใจ ตรงกนั

2.3 การสร้างแนวทางการแก้ปญั หา ประเดน็ การประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 การสรา้ งตน้ แบบใน สร้างผลงานได้ สร้างผลงานได้ สร้างผลงานได้ สร้างผลงานได้ไม่ การแก้ปัญหา ตรงตามแนวคิด ตรงตามแนวคดิ ที่ ตรงตามแนวคดิ ท่ี เสร็จ และไมต่ รง ท่ีออกแบบไว้ ออกแบบไวเ้ สร็จ ออกแบบไว้ แต่ ตามแนวคดิ เสร็จ และ สมบูรณ์ ผลงานไมส่ มบรู ณ์ ท่ีออกแบบไว้ สามารถนําไปใช้ แตส่ ามารถ สามารถนาํ ไปใช้ ทดสอบกับผใู้ ช้ นาํ ไปใช้ทดสอบ ทดสอบกับผใู้ ช้ หรอื ผูท้ ่ี กบั ผู้ใช้หรอื หรอื ผูท้ ี่เกย่ี วขอ้ ง เกย่ี วข้องได้ ผู้ทเ่ี ก่ยี วข้องได้ ไดเ้ พยี งบางส่วน ทง้ั หมด เพยี งบางสว่ น การทดสอบกบั ผู้ใช้ มีการกําหนด มกี ารกาํ หนด มีการกําหนด ผลงานไม่สามารถ เกณฑ์ ใช้ทดสอบกบั เกณฑ์ เกณฑ์ การทดสอบ ผู้ใชง้ านได้ และไมม่ ี ผลงานผลงาน การเกบ็ ข้อมูลผล การทดสอบ การทดสอบ สามารถใช้ การทดสอบ แกป้ ญั หากับผใู้ ช้ ผลงานผลงาน ผลงานผลงาน ไดเ้ พียงบางส่วน และมีการเกบ็ สามารถ สามารถใช้ ข้อมลู ผลการ ทดสอบ แกป้ ัญหาผใู้ ชไ้ ด้ แกป้ ัญหากบั ผใู้ ช้ อยา่ งสมบูรณ์ ได้เปน็ ส่วนใหญ่ และมีการเก็บ แตย่ งั มี ข้อมูลผลการ ข้อบกพรอ่ ง และ ทดสอบ มีการเกบ็ ขอ้ มูล ผลการทดสอบ

ประเด็นการประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 การนาํ ผลการ นําผลการ นําผลการทดสอบ นาํ ผลการทดสอบ ไม่มกี ารนาํ ผลการ ทดสอบและขอ้ มูล ยอ้ นกลับ ทดสอบและ และข้อมลู ยอ้ น และขอ้ มลู ทดสอบ หรือขอ้ มลู เพอ่ื ปรบั ปรงุ แกไ้ ข ขอ้ มูลยอ้ นกลบั กลบั มาเพ่อื ย้อนกลบั มาเพอ่ื ย้อนกลบั มาเพ่ือ มาเพอ่ื ปรับปรุง ปรับปรงุ แกไ้ ข ปรับปรงุ แก้ไข ปรับปรุงผลงาน แก้ไขสอดคลอ้ ง สอดคล้องกับ สอดคลอ้ งกับ กับผลงานได้ ผลงานไดเ้ ปน็ ผลงานได้เพยี ง เป็นส่วนใหญ่ ส่วนใหญ่ บางสว่ น และสามารถ กําหนด แนวทางการ พฒั นาผลงาน เพิม่ เติมได้

เกณฑ์การประเมนิ (กจิ กรรม 1.1 ช่วยคณุ สมารท์ หาจุดคุ้มทุน) ประเด็นการประเมิน 4 ระดับคะแนน 1 32 การรวบรวมข้อมลู ท่ี กําหนดประเดน็ กําหนดประเดน็ กาํ หนดประเด็น กาํ หนดประเด็น จําเป็นต่อ สบื ค้นและ สืบค้นและ สืบค้นและ สบื ค้นและ การวเิ คราะห์ รวบรวมข้อมูลที่ รวบรวมขอ้ มูลที่ รวบรวมขอ้ มูลที่ รวบรวมขอ้ มูลที่ จดุ คุ้มทุนในการ เกย่ี วข้องกบั การ เกย่ี วข้องกบั เกย่ี วขอ้ งกับ เกยี่ วขอ้ งกบั ลงทนุ ผลิต วเิ คราะห์ การวเิ คราะห์ การวเิ คราะห์ การวิเคราะห์ พืช 4 ชนิด จุดคุ้มทุนด้วย จุดค้มุ ทนุ จาก จดุ คมุ้ ทนุ จาก จุดคุ้มทนุ วธิ ีการท่ี แหลง่ ข้อมลู ท่ี แหลง่ ข้อมูลท่ี แต่แหล่งข้อมูลท่ี หลากหลายจาก น่าเช่อื ถือได้ข้อมูล น่าเช่ือถือไดข้ ้อมูล สบื ค้นไมน่ ่า แหลง่ ข้อมลู ท่ี ทีถ่ กู ต้องเพยี งพอ ทถี่ ูกตอ้ ง เชื่อถือ นา่ เชื่อถือ ต่อการแก้ปญั หา แตไ่ มเ่ พยี งพอต่อ ไดข้ ้อมูลที่ ได้ข้อมลู การแก้ปัญหา ไมถ่ กู ตอ้ ง ท่ีถูกต้อง ไมส่ อดคลอ้ งกับ เพียงพอตอ่ ปญั หา การแกป้ ญั หา การหาจุดคุ้มทนุ โดย หาจุดคมุ้ ทนุ โดย หาจุดคมุ้ ทนุ โดย หาจดุ คุ้มทนุ โดย หาจดุ คุ้มทุนโดย การสรา้ งกราฟหรอื การสร้างกราฟ การสร้างกราฟ การสรา้ งกราฟ การสร้างกราฟ จากการ หรอื การคํานวณ หรอื การคาํ นวณได้ หรอื การคาํ นวณได้ หรือการคาํ นวณได้ คาํ นวณเพอื่ ตดั สนิ ใจ ไดอ้ ย่างถูกต้อง อย่างถกู ตอ้ ง อยา่ งถูกตอ้ ง ไม่ถกู ตอ้ ง เลือกปลูกพืช สมบูรณ์ สมบรู ณ์ แตไ่ ม่สามารถ ไมส่ ามารถนาํ มาใช้ รวมทงั้ สามารถ แตอ่ ธบิ ายเหตุผล อธบิ ายเหตุผลใน อธบิ ายเหตุผลใน เปรียบเทียบและ ในการเปรยี บเทียบ การเปรียบเทยี บ การเปรียบเทยี บ อธบิ ายเหตผุ ลใน ตัดสนิ ใจเลอื กชนดิ ตัดสนิ ใจเลอื กชนิด ตัดสินใจเลอื กชนิด การตดั สนิ ใจ พืชทจ่ี ะปลกู ขาด พชื ทจี่ ะปลกู พชื ท่ีจะปลกู เลอื กชนดิ พชื ท่ี การให้เหตุผลท่ี จะปลกู ได้อย่าง เหมาะสมบางสว่ น เป็นเหตเุ ป็นผล จากข้อมลู

ประเดน็ การประเมิน 4 ระดับคะแนน 1 32 การกาํ หนด นําข้อมลู จาก นําข้อมูลจาก นาํ ข้อมูลจาก นาํ ขอ้ มลู จาก ขอบเขตของปัญหา การวเิ คราะหม์ า การวิเคราะหม์ า ใหม่โดยใชข้ อ้ มลู การวเิ คราะหม์ า การวเิ คราะหม์ า กําหนดขอบเขต กาํ หนดขอบเขต จากการวเิ คราะห์ ของปัญหาใหม่ ของปัญหาใหม่ กําหนดขอบเขต กาํ หนดขอบเขต ทีส่ อดคล้องกับ ซ่งึ เปล่ียนแปลง การแกป้ ญั หา จากเดมิ เพียง ของปัญหาใหม่ ของปญั หาใหม่ได้ แต่ขาดความ เลก็ นอ้ ยหรอื เหมาะสม ยังไม่เหมาะสม ได้อย่าง อยา่ งเหมาะสม บางส่วนและ อธิบายเหตุผลได้ เหมาะสมและ แต่การอธิบาย เพยี งเล็กนอ้ ย อธิบายเหตุผล เหตผุ ลขาดความ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง สมเหตสุ มผล ชัดเจนและ บางสว่ น เป็นเหตเุ ปน็ ผล การรวบรวมขอ้ มลู กาํ หนดประเด็น กาํ หนดประเด็น กาํ หนดประเด็น กําหนดประเด็น ท่จี าํ เปน็ ตอ่ การวาง สืบค้นและ สืบค้นและ สบื ค้นและ สืบค้นและ ระบบน้ำ รวบรวมข้อมลู ท่ี รวบรวมขอ้ มูลท่ี รวบรวมขอ้ มูลที่ รวบรวมขอ้ มลู ที่ เกยี่ วขอ้ งกับ เก่ียวข้องกับ เก่ยี วข้องกับ เก่ียวข้องกับ การวางระบบ การวางระบบน้ำ การวางระบบนำ้ การวางระบบน้ำ นำ้ ดว้ ยวธิ ีการท่ี จากแหล่งข้อมลู ท่ี จากแหล่งขอ้ มลู ท่ี แตแ่ หลง่ ข้อมลู ท่ี หลากหลายจาก นา่ เชือ่ ถอื นา่ เชอื่ ถือ สบื คน้ ไม่ แหลง่ ข้อมลู ที่ ไดข้ อ้ มลู ท่ถี ูกตอ้ ง ไดข้ อ้ มูลท่ถี กู ตอ้ ง น่าเชอื่ ถอื นา่ เชื่อถือได้ เพียงพอต่อ แตไ่ มเ่ พยี งพอตอ่ ไดข้ ้อมลู ขอ้ มูลท่ถี กู ต้อง การแก้ปัญหา การแกป้ ญั หา ท่ีไมถ่ ูกตอ้ งไม่ เพยี งพอต่อ สอดคล้องกบั การแกป้ ญั หา ปัญหา

ประเด็นการประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 32 การออกแบบ พัฒนาแนวคิด พฒั นาแนวคดิ ใน พฒั นาแนวคิดใน พัฒนาแนวคดิ ใน การวางระบบน้ำ การวางระบบนำ้ ในโรงเรอื นและ ในการวาง การวางระบบนำ้ การวางระบบน้ำ ในโรงเรอื นได้ 1 อธบิ ายเหตุผลใน แนวคิดโดยมี การตัดสินใจเลอื ก ระบบนำ้ ในโรงเรอื นได้ ในโรงเรือนได้ 1 รายละเอยี ดของ ชนดิ และจาํ นวน ชนิดและจํานวน อุปกรณ์ท่ตี ้องการ ในโรงเรอื น 2-3 แนวคิด แนวคดิ โดยมี อปุ กรณ์ท่ีจาํ เป็น ตอ่ การแกป้ ญั หา ไดอ้ ย่าง โดยมรี ายละเอยี ด รายละเอยี ดของ ไมช่ ัดเจนหรอื ไมม่ ี หลากหลาย ของชนิดและ ชนดิ และจาํ นวน มคี วามเป็นไป จํานวนอปุ กรณ์ อปุ กรณ์ทจี่ าํ เปน็ ได้ในการนาํ ท่จี าํ เป็นต่อการ ตอ่ การแก้ปญั หา ไปใช้แกป้ ัญหา แก้ปัญหาอยา่ ง อยา่ งชดั เจน โดยมี ชัดเจนและเลอื ก รายละเอยี ด แนวคดิ ในการ ของชนดิ และ แกป้ ัญหาได้ จํานวนอปุ กรณ์ สอดคลอ้ งกับผูใ้ ช้ ที่จําเปน็ ต่อการ ผู้ท่ีเกี่ยวข้องและ แก้ปัญหาอย่าง ขอบเขต ชดั เจนและ ของปัญหาโดย เลือกแนวคิดใน อธิบายเหตุผลใน แก้ปญั หาได้ การตัดสินใจ สอดคลอ้ งกับ ผ้ใู ช้ ผทู้ ่เี กี่ยวขอ้ ง และขอบเขต ของปญั หา

ประเดน็ การประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 การเขียนภาพรา่ ง เขียนภาพรา่ ง เขียนภาพร่าง เขยี นภาพรา่ ง เขยี นภาพร่าง หรือแผนภาพแสดง หรอื แผนภาพ หรือแผนภาพ หรอื แผนภาพ หรอื แผนภาพ รายละเอยี ดของ แสดง แสดงรายละเอียด แสดงรายละเอยี ด แสดงระบบน้ำ ระบบนำ้ สําหรบั รายละเอยี ด ของระบบน้ำ ของระบบน้ำ สาํ หรบั โรงเรอื น โรงเรือน ของระบบนำ้ สาํ หรบั โรงเรอื น สําหรับโรงเรอื น ไดไ้ มล่ ะเอยี ดขาด สําหรับโรงเรอื น ไดส้ ามารถ ได้แตย่ ังขาด ขอ้ มูลเปน็ ไดอ้ ย่างละเอียด สอ่ื สารใหผ้ ู้อน่ื ข้อมูลบางสว่ น ส่วนใหญแ่ ละ แสดงขอ้ มูล เข้าใจตรงกนั และไมส่ ามารถ ไม่สามารถสอื่ สาร ครบถว้ น สื่อสารให้ผู้อืน่ ให้ผู้อน่ื เข้าใจ สามารถสอื่ สาร เข้าใจตรงกัน ตรงกัน ให้ผู้อ่ืนเขา้ ใจ ตรงกนั

เกณฑ์การประเมนิ (กจิ กรรม 1.3 ความรู้กบั การออกแบบสนามเด็กเลน่ ) ประเดน็ การประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 การระบสุ าเหตุ ระบุสาเหตุหรอื ระบุสาเหตุหรอื ระบุสาเหตหุ รอื ระบสุ าเหตหุ รอื สาระสําคญั และ สาระสาํ คัญของ สาระสาํ คัญของ สาระสาํ คญั ของ สาระสําคญั ของ กาํ หนดขอบเขต การสรา้ งสนาม การสร้างสนาม การสร้างสนาม การสรา้ งสนาม ของการออกแบบ เดก็ เล่นโดย เดก็ เลน่ โดย เดก็ เลน่ โดยคํานึง เดก็ เล่นโดยไม่ได้ สนามเด็กเล่น คํานึงผ้ใู ชแ้ ละผู้ คํานงึ ผ้ใู ช้ ผใู้ ชห้ รือผทู้ ่ี นําข้อมลู ที่เกย่ี วขอ้ งได้ และผทู้ เ่ี ก่ยี วขอ้ ง เกยี่ วขอ้ งบางส่วน ทร่ี วบรวมมา อย่างชัดเจน ไดโ้ ดยใชข้ อ้ มลู ท่ี โดยใช้ขอ้ มูลท่ี ประกอบการ สอดคล้องกับ รวบรวมมา รวบรวมมา พจิ ารณาและ ข้อมูลทร่ี วบรวม ประกอบการ ประกอบการ กําหนดขอบเขต มาเพือ่ ใช้ กาํ หนดขอบเขต กาํ หนดขอบเขต การออกแบบ กาํ หนดขอบเขต ของการออกแบบ ของการออกแบบ สนามเด็กเลน่ ได้ ของ สนามเดก็ เลน่ ได้ สนามเดก็ เล่น ไมถ่ กู ต้อง การออกแบบ อยา่ งชดั เจน แต่ขาดความ สนามเดก็ เลน่ สมบูรณ์ โดยคาํ นึงความ ตอ้ งการข้อจํา กัดหรอื เงอ่ื นไข ตา่ งๆได้อย่าง ถูกต้องและ ชัดเจน

ประเดน็ การประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 การวิเคราะห์และ วเิ คราะห์ผใู้ ช้ วิเคราะหผ์ ใู้ ช้ วิเคราะหผ์ ใู้ ช้ ระบุผู้ใชห้ รอื ผทู้ ่ี ทําความเขา้ ใจ ผู้ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับ ผทู้ ีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั ผู้ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับ เกีย่ วขอ้ งกบั เกยี่ วกบั ผู้ใช้และผู้ที่ การสรา้ งสนาม การสร้างสนาม การสรา้ งสนาม การสรา้ งสนาม เกีย่ วขอ้ ง เดก็ เล่นได้ เดก็ เลน่ ได้ เดก็ เลน่ ได้ เดก็ เลน่ ได้ ครบถ้วน ครบถว้ นรวบรวม ครบถว้ น แตไ่ มค่ รบถ้วน รวบรวมขอ้ มูล ข้อมูลพ้นื ฐานและ แต่รวบรวมข้อมูล พืน้ ฐาน ความตอ้ งการของ พนื้ ฐานที่ ขอ้ จํากดั และ บคุ คลซง่ึ จาํ เกย่ี วขอ้ งกับ ความตอ้ งการ เป็นต่อการ บุคคลดงั กลา่ วได้ ของบุคคลที่จาํ ออกแบบสนาม ไมค่ รบถ้วน เปน็ ต่อการ เดก็ เล่นได้ แกป้ ัญหาได้ ครบถ้วน หลากหลาก ครบถว้ น พอเพียงตอ่ การนาํ ไปพัฒนา แนวคิดในการ ออกแบบสนาม เด็กเล่น

ประเดน็ การประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 32 การรวบรวมขอ้ มูล สืบคน้ และ สืบค้นและ สืบค้นและ สืบค้นและ ทีจ่ าํ เปน็ ตอ่ การ แกป้ ญั หา รวบรวมขอ้ มูล รวบรวมข้อมลู รวบรวมขอ้ มูล รวบรวมขอ้ มูล ความรู้ ความร้ทู ่ีเก่ยี วข้อง ความรทู้ เี่ กีย่ วขอ้ ง ความรูท้ ี่เก่ียวข้อง ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับ กับการออกแบบ กับการออกแบบ กับการออกแบบ การออกแบบ สนามเด็กเล่นจาก สนามเด็กเล่น สนามเด็กเลน่ สนามเดก็ เล่น แหล่งข้อมลู ที่ จากแหล่งขอ้ มลู ท่ี แต่แหล่งข้อมลู ที่ ดว้ ยวธิ กี ารที่ น่าเช่อื ถอื น่าเช่ือถอื ได้ สืบค้น หลากหลายจาก ไดข้ ้อมูลท่ถี กู ตอ้ ง ข้อมูลทถี่ กู ตอ้ ง ไมน่ า่ เช่ือถือได้ แหล่งข้อมลู ท่ี เพียงพอต่อการ แตไ่ มเ่ พียงพอ ข้อมลู ที่ไมถ่ กู ตอ้ ง นา่ เชอ่ื ถอื แกป้ ญั หา ต่อการแก้ปัญหา ไมส่ อดคล้อง ได้ข้อมูลที่ กบั ปัญหา ถกู ตอ้ งเพยี งพอ ตอ่ การ แก้ปัญหา

ประเด็นการประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 32 ประเมินและ การประเมนิ และ ประเมินและ ประเมนิ และ ประเมนิ และ ตัดสนิ ใจเลอื ก ตัดสินใจเลอื ก ตัดสนิ ใจเลอื ก ขอ้ มูล ความรู้ไม่ ข้อมูลความรู้ทจ่ี าํ ตดั สินใจเลือก ตัดสนิ ใจเลอื ก ข้อมลู ความรู้ได้ สอดคลอ้ งกบั เปน็ ต่อ สอดคล้องกับ การออกแบบ การออกแบบ ขอ้ มูล ความรู้ ขอ้ มลู ได้ การออกแบบ สนามเด็กเล่น สนามเด็กเล่น สนามเด็กเล่น ไดส้ อดคลอ้ งกับ สอดคล้องกับ การออกแบบ การออกแบบ สนามเดก็ เลน่ สนามเดก็ เล่น อยา่ งเปน็ ระบบ อยา่ งเปน็ ระบบ ได้ข้อมูลถกู ต้อง ไดข้ อ้ มูลถูกต้อง และสามารถ และสามารถ กําหนดขอ้ มลู กําหนดข้อมูลที่ ความรทู้ ่ี ต้องการสืบค้น ตอ้ งการสบื ค้น เพ่มิ เตมิ ได้ เพ่ิมเตมิ ได้ โดยรวบรวม ขอ้ มูลท่จี าํ เปน็ ตอ่ การก้ปญั หา ไดค้ รบถว้ น

ประเดน็ การประเมิน 4 ระดับคะแนน 1 32 การพจิ ารณา พฒั นาแนวคดิ พัฒนาแนวคดิ ใน พฒั นาแนวคิดใน พัฒนาแนวคดิ ใน องคป์ ระกอบทีจ่ ํา ในการออกแบบ การออกแบบ การออกแบบ การออกแบบ เป็นและการพัฒนา สนามเด็กเล่นได้ สนามเด็กเลน่ สนามเดก็ เลน่ สนามเดก็ เลน่ แนวคิดในการ อย่างหลาก ได้ 2-3 แนวคดิ ได้ 1 แนวคดิ โดย ได้ 1 แนวคิดโดย ออกแบบสนาม หลากมีความ โดยมีรายละเอียด มรี ายละเอยี ดของ ไมม่ รี ายละเอียด เดก็ เล่น เปน็ ไปได้ใน ขององค์ประกอบ องค์ประกอบท่ี ขององค์ประกอบ การนาํ ไปใช้ ทีจ่ ําเป็นตอ่ จําเปน็ ตอ่ การ ทจ่ี าํ เปน็ ตอ่ การ แก้ปัญหาโดยมี การแกป้ ัญหา แก้ปญั หาอย่าง แก้ปัญหาอย่าง รายละเอียด อยา่ งชัดเจนและ ชัดเจน ชัดเจน ของ เลอื กแนวคดิ ใน องค์ประกอบท่ี การแก้ปญั หาได้ จําเปน็ ตอ่ การ สอดคล้องกับผู้ใช้ แก้ปัญหาอยา่ ง ผู้ท่ีเก่ียวข้องและ ชัดเจนและ ขอบเขต เลือกแนวคิดใน ของปญั หา แก้ปัญหาได้ สอดคล้องกบั ผูใ้ ช้ ผู้ที่เกี่ยวข้อง และขอบเขต ของปัญหา

ประเดน็ การประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 การเขียนภาพรา่ ง เขียนภาพร่าง เขยี นภาพรา่ ง เขยี นภาพรา่ ง เขียนภาพร่าง หรอื แผนภาพแสดง หรอื แผนภาพ หรือแผนภาพ หรือแผนภาพ หรือแผนภาพของ รายละเอยี ดของ แสดง แสดงรายละเอียด แสดงรายละเอียด แนวคดิ ใน แนวคดิ ใน รายละเอียด ของแนวคดิ ใน ของแนวคดิ ใน การออกแบบ การออกแบบ ของแนวคิดใน การออกแบบ การออกแบบ สนามเด็กเล่น สนามเดก็ เลน่ การออกแบบ สนามเด็กเล่นได้ สนามเดก็ เลน่ ไมล่ ะเอียด สนามเด็กเลน่ ได้ สามารถสอ่ื สารให้ แตย่ ังขาดข้อมลู ขาดข้อมลู เป็น อย่างละเอยี ด ผอู้ ืน่ เข้าใจตรงกัน บางสว่ นและไม่ สว่ นใหญ่และ แสดงขอ้ มูล สามารถส่อื สารให้ ไม่สามารถสอื่ สาร ครบถว้ น ผู้อน่ื เข้าใจตรงกัน ใหผ้ ู้อนื่ เขา้ ใจ สามารถส่ือสาร ตรงกัน ใหผ้ อู้ ่นื เขา้ ใจ ตรงกนั เกณฑ์การตัดสินระดบั คุณภาพ คะแนน 31-40 คะแนนหมายถึง ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก คะแนน 21-30 คะแนนหมายถงึ ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 11-20 คะแนนหมายถึง ระดับคณุ ภาพ พอใช้ คะแนน 1-10 คะแนนหมายถึง ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรงุ หมายเหตุ เกณฑ์การวดั และประเมินผลสามารถปรับเปล่ียนไดต้ ามความเหมาะสม 10. สอ่ื และแหล่งขอ้ มลู 10.1 เว็บไซต์ของสาํ นกั งานนวตั กรรมแหง่ ชาติ https://www.nia.or.th/ 10.2 เว็บไซต์ของ TCDC (Thailand Creative & Design Center) https://web.tcdc.or.th/th/Home/ 10.3 เว็บไซตข์ อง Design Council https://www.designcouncil.org.uk/ 10.4 เว็บไซต์ของที่เก่ียวข้องกบั design thinking ของ IDEO https://designthinking.ideo.com/

11. ขอ้ เสนอแนะ ในการวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ การวิเคราะห์สถานการณ์หรือความต้องการท่ี คํานึงถึงผู้ใช้ด้วยการคิดเชิงออกแบบและความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาด้วยการคิดเชิง ออกแบบ ซึ่งประกอบด้วย 3 กระบวนการย่อย (การระบุและตีความปัญหา การพัฒนาแนวคิด และการสร้าง แนวทางการแก้ปัญหา) ผู้สอนสามารถวัดและประเมินผลการแก้ปัญหาด้วยการคิดเชิงออกแบบ โดยใช้กิจกรรมที่แนะนํา ไว้ในหนังสือเรียนตามความเหมาะสม เช่น วัดและประเมินกระบวนการย่อยของการ คิดเชิงออกแบบในเรื่องการพัฒนาแนวคิดจากกิจกรรม 1.1 ช่วยคุณสมาร์ทหาจุดคุ้มทุนการ วัดกระบวนการย่อยของการคิดเชิงออกแบบในเร่อื งการสรา้ งแนวทางการแก้ปญั หาจากกิจกรรม 1.2 ช่วยคุณสมาร์ทวางระบบน้ำ หรือจะวัดและประเมินผลการแก้ปัญหาด้วยการคิดเชิงออกแบบทั้งกระบวนการ ด้วยกิจกรรม 1.3 ความรู้กับการออกแบบสนามเด็กเล่น หรือกิจกรรมท้ายบท โดยเลือกเพียงกิจกรรมใด กิจกรรมหน่ึง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook