Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อำเภอในจังหวัดตรัง

Description: อำเภอในจังหวัดตรัง

Search

Read the Text Version

หอ้ งสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกมุ าร\"ี อําเภอหว้ ยยอด จงั หวดั ตรงั 10 อําเภอใน กนิ งา่ ย จงั หวัดตรงั เทยี วเพลิน DISTRICTS IN TRANG เดินชลิ ณ เมืองตรงั PROVINCE

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ÂÔ¹´ÕµŒÍ¹ÃѺʋ٨ѧËÇÑ´µÃѧ ข้อมลู แนะนาํ จังหวดั ตรัง จงั หวัดตรัง  หางจากกรงุ เทพฯประมาณ 828 กโิ ลเมตร มีพื้นทคี่ รอบคลมุ ทง้ั หมด 4,941 ตาราง กิโลเมตร ตรงั เปนจังหวัดชายฝง มหาสมุทรอินเดยี มีฝงทะเลยาวทางดา นตะวันตก ประมาณ 119 กิโลเมตร นอกจากนี้ ตรงั มีแมนาํ้ สาํ คัญคือ แมนา้ํ ตรงั มตี น กาํ เนิดจากเทอื กเขาหลวง และแมน ้าํ ปะเหลยี นซ่ึงมีตนกําเนดิ จากเทือกเขาบรรทัด เปน ขอ เทจ็ จรงิ ทวี่ า เมืองตรงั เปนจงั หวัดหนึ่งท่มี ีบทบาททส่ี ําคญั ทางดา นการคาขายและศนู ยก ลาง การคมนาคม ไปสจู งั หวดั นครศรธี รรมราช แตกย็ งั เปน จังหวัดทีม่ นี ักทองเท่ียวมาเทย่ี วนอย ซ่ึงในชวงเวลาตอ มา ทางการไดด าํ เนินแผนการพฒั นาอนั ชาญฉลาดโดยการตดั ถนนอยา งทัว่ ถงึ ทําใหผูค นสามารถเขา ไปยังสถานที่ เหลานั้นไดง า ยย่งิ ขนึ้ ตรัง มีลักษณะภมู ิศาสตรท ี่ใกลเคยี งกับกระบี่และพังงา ซึ่งรวมไปถึงเกาะและชายหาดตางๆ ไมวาจะ เปน ส่ิงแวด ลอมภายในหรอื ภายนอกก็ตาม ประกอบไปดวยหมูเกาะในทะเลอนั ดามนั ถึง 46 เกาะ โดยภายใน พน้ื ท่ีอาํ เภอกนั ตัง 12 เกาะ อําเภอปะเหลียน 13 เกาะ และอาํ เภอสิเกา 21 เกาะ ชว งเวลาทีเ่ หมาะแกก ารเดนิ ทางทอ งเทย่ี วคอื ระหวางเดอื นธันวาคมถึงเดอื นพฤษภาคม ตรงั มชี ายหาดและเกาะที่กวา งใหญ มีกจิ กรรมบนชายฝงทะเล และสถาน ที่ทอ งเที่ยวธรรมชาติท่สี วยงามมากมาย พรอ มทจี่ ะใหผูม าเยอื นไดส ัมผสั กับ ประสบการณท ่แี ปลกใหมแ ละนา ท่ึงไมเหมอื นใคร อาธิ อุทยานแหง ชาตหิ มู เกาะเภตราที่มีหาดทรายขาวสวยและน้าํ ทะเลใสจากอันดามนั แหลง ดาํ นํา้ ปะการงั ที่สวยงาม นอกจากนีย้ งั มีน้ําตกเขาชองซงึ่ เปนจุดขายอยางหน่งึ ของ การทองเท่ียวของจังหวดั ตรัง และเขตหา มลา สัตวปา คลองลําชาน ซงึ่ เปนทอ่ี ยู อาศัยของนกเปดน้ําโดยมเี สนทางธรรมชาติและถํ้า สาํ หรับนักทองเที่ยวท่ีตองการสัมผัสกบั บรรยากาศท่ีเงียบสงบและผอ นคลาย ทามกลางธรรมชาตทิ ีร่ ม รน่ื และสวยงามภายในเมอื งตรงั ยังมีแหลงทองเท่ียวอีก มากมาย ซึง่ รอบเมอื งจะพบเห็นความผสมผสานอยา งลงตัวของความเปน ตะวันตกและวัฒนธรรมจากจนี อยา งรานคา วัดจีนและศาลเจา ยังมบี านท่ี สรางในสไตลป ญ ญาไทยที่งดงามนอกจากนีย้ งั มีวดั ทม่ี ีการสรา งทาง สถาปต ยกรรมทสี่ วยงาม ดินแดนประวัติศาสตร วถิ ีชีวิตและตลาดคา ขายขนาด ใหญ เปน ตน ชว งเวลาท่ีดีท่สี ุดในการทองเทีย่ วตรงั  ชว งเวลาทด่ี ีทีส่ ุดในการเที่ยวจังหวดั ตรงั อยรู ะหวา งเดือนธันวาคมและ พฤษภาคม ตรังตงั้ อยูโซนชายฝงเชน เดยี ว กับจงั หวดั ภูเก็ตและจังหวดั กระบ่ ี ซง่ึ อยูภายใตอทิ ธิพลของลมมรสมุ ท่ีพดั ประจําเปนฤดูกาลหรอื ลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต อณุ หภมู โิ ดยทว่ั ไปอบอุน ตลอดปเฉลีย่ อยทู ี่ 20 - 36 องศาเซลเซยี ส ในเดอื นเมษายน อณุ หภมู ิในชวงตอนกลางวนั จะสงู สุดและรอ นมากทส่ี ดุ ของป ชว งเดอื นพฤษภาคม-กันยายน จะมี ฝนตกชุกและชว งเดือนกันยายน - พฤศจิกายน จะมีลมมรสุมเขา มาและตัง้ แตช วงธนั วาคมเปนตนไปอากาศจะดีมาก

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อาํ เภอเมืองตรัง เมืองตรัง  ในอดตี เคยเปน เมืองทาคา ขายกบั ตางประเทศ เปน เมืองแรกท่ีมีตนยางพารา  โดย พระยารษั ฎานปุ ระดิษฐมหศิ รภกั ดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง)  ไดน ําพันธุมาจากมาเลเซยี มาปลูกเปนแหง แรกของภาคใต เมอื่ ป พ.ศ. 2442 และถอื เปน พืชเศรษฐกิจท่สี าํ คัญของไทย ประชาชนสวนใหญนบั ถอื ศาสนาพุทธคิดเปน รอยละ 93 นับถอื ศาสนาอิสลามรอยละ 5 และอืน่ ๆ รอ ยละ 2 ประวัติ ประวตั ิของเมืองตรงั มมี าตงั้ แตสมยั กอนยุคอาณาจักรโบราณ โดยมีประวตั กิ ารต้งั รกรากตามริมฝง แมน ้ําตรัง  และมบี ันทกึ เม่อื คราวทาวศรีธรรมาโศกราชครองเมอื งนครศรีธรรมราชน้ัน ไดต ัง้ เมอื งตรังเปนหัว เมอื งบรวิ าร ใหปม ะเมียเปน สญั ลกั ษณนักษตั รประจําเมือง ราวป  พ.ศ. 2367 มกี ารต้ังชมุ ชนริมฝงแมน ํา้ ตรัง โดยชาวจนี ทีม่ าจากปนงั   ลอ งเรอื เขา มาทางปากแมน ํ้าตรงั   และไดอาศัยแมนาํ้ เปน เสนทางในการทําการคา จงึ ไดชือ่ วา \"ชุมชนทาจนี \" และเรยี กแมน ้ําทไ่ี หลผานชวงน้วี า   คลองทาจีนท่ตี ั้งของตัวเมอื งตรงั นน้ั มกี าร เปลีย่ นแปลงมาหลายครัง้ ตามหลกั ฐานตง้ั แตย คุ อาณาจกั รโบราณ ลัดเลาะตามริมฝง แมนา้ํ ตรงั จนกระท่ังใน สมยั รชั กาลท่ี 6 พระยารษั ฎานุประดษิ ฐ (สินธุ เทพหัสดนิ ณ อยุธยา) ไดท ลู ขอยายเมืองมาตั้งอยู ณ ตาํ บล ทับเท่ียง โดยใหชือ่ วา อําเภอบางรัก และตอ มาจึงเปลย่ี นชอื่ เปน อาํ เภอทับเทยี่ ง ในป พ.ศ. 2459ตอมาเมือ่ พระยาตรังคภมู าภิบาล (เจิม ปนยารชุน)  มารบั ตาํ แหนง เจา เมืองตรัง ไดดาํ เนินการกอสรา งศาลากลางเมอื ง จนเปด ทําการไดใ น พ.ศ. 2463 และเม่ือพระยาสุรินทรราชา (นกยูง วเิ ศษกุล) ดํารงตาํ แหนงสมุหเทศาภบิ าล มณฑลภเู ก็ต (มอี าณาเขตครอบคลมุ เมืองตรัง) ไดเอาใจใสพ ฒั นาเมืองตรงั หลายดาน จงึ ปรากฏชื่อของทานเปน อนุสรณไ วในอาํ เภอเมืองตรงั เชน กระพงั สรุ ินทร ถนนวเิ ศษกลุ วดั ควนวเิ ศษ เปนตน พ.ศ. 2483  จอมพล ป.พบิ ูลสงคราม  ตรวจราชการเมอื งตรัง ดาํ รใิ หส รา งอนสุ าวรยี เพื่อรําลึกถึงคณุ งามความดีของพระยารษั ฎานปุ ระดษิ ฐมหศิ รภักดี (คอซมิ บี้ ณ ระนอง)  จงั หวัดตรังจึงดาํ เนินการจนเสรจ็ เรยี บรอ ย ทาํ พธิ ปี ระดิษฐานไว ณ ตาํ บลทับเที่ยง ในวนั ท่ี 10 สงิ หาคม พ.ศ. 2493 และทาํ พธิ เี ปด อยางเปน ทางการพรอ มกับเฉลิมฉลองในวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2494ตําบลทับเทยี่ ง อาํ เภอเมืองตรงั เร่ิมการปกครอง สขุ าภิบาล เมื่อ  พ.ศ. 2474  ตอมาหลงั จากท่ปี ระกาศใชพ ระราชบญั ญัตจิ ดั ระเบยี บเทศบาล พ.ศ. 2476 สขุ าภบิ าลเมอื งตรังจึงไดยกฐานะเปน เทศบาลเมอื งตรงั เมอื่  พ.ศ. 2478 และไดย กฐานะเปนเทศบาลนครตรัง เมื่อป พ.ศ. 2542

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอเมืองตรัง ภมู ปิ ระเทศ อําเภอเมืองตรังมสี ภาพเปน เนินสงู ตํ่าสลับกับท่ีราบ มแี มน้ําสําคัญไหลผาน คือแมนํา้ ตรัง  มีอาณาเขตตดิ ตอ ดังนี้ ทิศเหนือติดตอ กับอาํ เภอวังวิเศษและอาํ เภอหวยยอด ทิศตะวันออกติดตอกับอําเภอศรบี รรพต  (จังหวดั พทั ลุง) และอาํ เภอนาโยง ทิศใต  ตดิ ตอกับอาํ เภอนาโยง อาํ เภอยานตาขาว และอาํ เภอกนั ตงั ทิศตะวนั ตก ติดตอกบั อาํ เภอกนั ตัง อาํ เภอสเิ กา และอําเภอวงั วิเศษ การแบ่งเขตการปกครอง การปกครองสว นภมู ิภาคอําเภอเมอื งตรังแบงการปกครองทอ งทเี่ ปน 15 ตาํ บล 119 หมูบา น 1.ทบั เทย่ี ง(Thap Thiang)- 9.นาโตะ หมิง(Na To Ming) 6 หมูบา น 2.นาพละ(Na Phala) 10 หมบู าน 10.หนองตรุด(Nong Trut) 9 หมบู า น 3.บา นควน(Ban Khuan) 6 หมูบา น 11.นํ้าผดุ (Nam Phut) 12 หมบู า น 4.นาบนิ หลา(Na Bin La) 6 หมูบาน 12.นาตาลว ง(Na Ta Luang) 6 หมบู า น 5.ควนปรงิ (Khuan Pring) 6 หมบู า น 13.บานโพธ(์ิ Ban Pho) 10 หมูบาน 6.นาโยงใต(Na Yong Tai) 8 หมูบ า น 14.นาทา มเหนือ(Na Tham Nuea) 13 หมบู าน 7.บางรกั (Bang Rak) 6 หมบู าน 15.นาทามใต(Na Tham Tai) 8 หมูบาน 8.โคกหลอ (Khok Lo) 12 หมูบาน

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อาํ เภอเมืองตรัง สถานทที อ่ งเทียว ตาํ บลทับเท่ยี ง อนุสาวรียพระยารษั ฎานปุ ระดษิ ฐมหิศรภกั ดี (คอซิมบ้ี ณ ระนอง)อนสุ าวรียพระยารัษฎานุประดิษฐ สรา งโดย ดํารขิ องจอมพล ป.พบิ ูลสงคราม ตงั้ อยูในสวนสาธารณะ เดมิ เปน ท่ีตง้ั พระตําหนักผอนกายซง่ึ จดั รับเสด็จฯ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั  ปจจบุ ันตกแตง เปนสวนสาธารณะ สวนสาธารณะสระกระพงั สุรินทร สระกระพงั สุรนิ ทรเ ปนสระนํา้ ธรรมชาติ มพี ื้นท่กี วา งประมาณ 50 ไร เปน ผลงานของธรรมชาตทิ ีเ่ กดิ จากการ กดั เซาะเขาหนิ ปูนของนาํ้ ใตด ิน ทําใหเกดิ เปน แหลง นํา้ ธรรมชาตขิ นาดใหญข ึ้น ในอดตี เคยจัดเปนสวนสัตว ขนาดยอ ม แตป จจุบนั ไดแปรสภาพเปนสวนสาธารณะ เหมาะสาํ หรบั การออกกาํ ลงั กายยามเยน็ สวนสมเดจ็ พระศรีนครินทร (ทุงน้าํ ผุด) สวนสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทรต ัง้ อยูหางจากตวั เมืองประมาณ 3 กิโลเมตร เปน สวนสาธารณะเดมิ เรียกวาเขาแปะ ชอ ยเพราะเดิมบริเวณนเ้ี ปนท่ีดินของนายชอยและตอ มานายชอยไดเสยี ชวี ติ ลงจึงยกใหรัฐบาลปจ จบุ ันมพี รรณ ไมส วยงามนาชมและมีสระน้าํ ขนาดใหญมสี ะพานแขวนเหมาะแกการผกั ผอน สามลอเครือ่ ง ตุกตุกหัวกบ เมอื งตรังเอกลักษณอยางหน่ึงในการเดินทางมาจังหวดั ตรงั คอื รถสามลอ เครอื่ ง หรือตกุ ตุกหัวกบ ปจ จบุ นั การ ทองเที่ยวแหงประเทศไทยไดส นับสนุนใหม กี ารจดั การทอ งเทีย่ วทเี่ ดินทางโดยรถตกุ ตุก หัวกบ หอนาิกาจงั หวัดตรงั หอนากิ าประจาํ จงั หวัดตรงั เปน อีกหนงึ่ เอกลกั ษณท ่โี ดดเดน ของจังหวัด ซ่ึงต้งั ตระหงานอยูบ ริเวณหนา ศาลา กลางจังหวัด ปจจบุ นั ทางเทศบาลนครตรงั ไดป รับปรุงทวิ ทศั นบริเวณถนนโดยรอบหอนาิกา เพือ่ เปน สถานที่ สําหรับนกั ทอ งเท่ยี วไดเยี่ยมชมความสวยงามของเมอื งตรงั ในยามเย็นไดอ ีกดวย บา นแมถวน หลกี ภัย ตั้งอยทู ีเ่ ลขท่ี 183 ถนนวิเศษกลุ เปนบานไม 2 ชน้ั ซง่ึ เปน ท่พี ํานักของนางถว น หลกี ภยั  มารดาของนายชวน หลีกภยั  อดีตนายกรฐั มนตรีของไทย เดมิ บรรดาบุคคลทช่ี ืน่ ชมผลงานของนายชวน หลีกภัย เม่อื ไปจงั หวดั ตรงั แลว จงึ เขา ไปเยีย่ มคารวะมารดาของทา นดวย ตอ มาจึงไดเปดบานพักของแมถว น เปนสถานท่ใี หนกั ทองเทย่ี ว ทว่ั ไปไดเ ขา ชม และมีโอกาสทกั ทายกบั คนในบา นอีกดว ย มีจดุ เดนคือ รมร่ืนไปดวยพนั ธุไ มน านาชนดิ และนก ตา ง ๆ ท่ีเล้ยี งไวใ นกรง ตาํ บลบางรกั ชมุ ชนริมคลองทา จนี ตาํ บลโคกหลอ ศูนยส ง เสรมิ และพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวดั ตรัง

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอกันตัง ประวตั ิ กันตัง เปนอาํ เภอหนึง่ ของจงั หวดั ตรัง ที่ตัง้ อยูริมฝง แมน าํ้ ตรัง หางจากตัวเมืองตรังเพียง 24 กโิ ลเมตร ในอดตี กนั ตงั เปน เมอื งทา สําคญั แหง หน่งึ ทางฝง มหาสมทุ รอินเดีย เปนศนู ยก ลางการคมนาคมทางนาํ้ สาํ คญั มาแตโบราณ เมอื่ พระยารษั ฎานปุ ระดษิ ฐมหศิ รภักดีมารบั ตําแหนง ใน พ.ศ. 2433 ไดดําเนนิ การพัฒนาเมืองตรงั (กนั ตงั ) ทกุ ดาน โดยมี จุดมงุ หมายจะทําใหเ ปนเมอื งคา ขาย เร่มิ จากการยายเมอื งจากตําบลควนธานีไปตงั้ ท่ีตาํ บลกันตงั และสรางความเจริญ แกเ มอื งตรัง (กันตงั ) อยางมาก การพัฒนาในสมยั พระยารษั ฎาฯ ทีจ่ ะนาํ ไปสูความเปนเมืองทาคาขายมีอยหู ลายดา น เร่มิ จากการแกปญ หาความไมส งบเรอ่ื งโจรผรู า ยและการสง เสริมอาชพี พนื้ ฐานคอื การเกษตร เรม่ิ ตนจากเกษตรยังชีพ ในครวั เรือน และขยายเปน เกษตรเพ่ือการคา โดยใชกศุ โลบายตาง ๆ และระบบกลไกของรัฐ เชน การยกเวนเกบ็ ภาษี อากรและการเกณฑแ รงงานแกผ บู กุ เบกิ ทํานา จนสามารถสง ขา วขายปน งั ได ท้ัง ๆ ทกี่ อนหนา น้ี ชาวเมอื งขาดแคลน ขาว ตอ งซอื้ จากปนงั อยเู สมอ การสรา งถนนและสะพานก็เปน อีกวธิ หี นึ่งทีจ่ ะทาํ ใหเกดิ การแลกเปล่ยี นสินคา ในทองถิน่ และสง ขายตา งประเทศทางทา เรอื กันตงั พระยารัษฎาฯ สงเสรมิ บริษัทตวั แทนซ้ือขายสินคา ที่ทา เรือกันตงั สินคา สําคัญ ในสมยั น้ัน ไดแก เปด ไก สุกร โค กระบอื พริกไทย ขาว ตับจาก ไมเคย่ี ม ไมโปรง เปนตน การพัฒนาของพระยารัษฎาฯ สอดคลอ งกับความเปลีย่ นแปลงในสว นกลางทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจา อยหู วั ทรงปฏิรูประบบราชการ และนาํ พาชาตเิ ขาสกู ารพัฒนาใหเทียบทนั อารยประเทศ การกอ สรา งทางรถไฟสายใตท ี่ กําหนดใหม ที างแยกจากทงุ สงมงุ สูทา เรือกนั ตังเร่ิมสรางตั้งแต  พ.ศ. 2444  สว นในสายแยกตั้งแตท งุ สงถงึ กนั ตัง เปด การโดยสารระหวา งกันตัง-หวยยอด วนั ที ่ 1 เมษายน พ.ศ. 2456 และตอ มา เปดการโดยสารระหวา งหว ยยอด-ทุงสง ในวนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2446 (นบั ปแบบเกา ขึ้นศกั ราชใหมเ ดือนเมษายน เดือนมกราคมเปนเดือนที่ 10 ของป) เสน ทางรถไฟนี้สง เสรมิ นโยบายเมอื งทา คา ขายของพระยารัษฎาฯ ไดเปน อยา งดี นอกจากน้ี พระยารัษฎาฯ ยงั ไดมองการณ ไกล ทจี่ ะทําใหก นั ตังเปน ทาเรือคา กับตา งประเทศไดเ ต็มศกั ยภาพ โดยเสนอทางรฐั บาลจัดสรางทา เรือนา้ํ ลกึ แตไมไ ดร ับ การสนับสนุนใน พ.ศ. 2435 ซ่ึงเปน ปท ส่ี ถาปนากระทรวงมหาดไทย และเริม่ การปกครองระบบมณฑลขน้ึ เปน คร้ังแรก หวั เมอื งฝายทะเลตะวันตกเดิมเปลย่ี นเปน มณฑลภูเกต็ เมืองตรังเปน สวนหน่งึ ของมณฑลภเู กต็

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอกันตัง ประวัติ (ต่อ) ในป  พ.ศ. 2434 ทางการไดยุบเมืองปะเหลียนรวมกับเมอื งตรงั ตอมามีประกาศขอบงั คบั ลักษณะการ ปกครองทองที่ ร.ศ.115 (พ.ศ. 2439) แบงทองท่กี ารปกครองเปนอาํ เภอ จังหวัดตรังมี 5 อาํ เภอ ไดแ ก อําเภอ เมือง (กันตัง) อาํ เภอบางรกั อาํ เภอเขาขาว (หว ยยอด) อาํ เภอสิเกา และอาํ เภอปะเหลียน มีตาํ บลรวม 109 ตําบลตอ มา พ.ศ. 2444 พระยารษั ฎาฯ ไดร บั แตงตั้งเปนขาหลวงเทศาภิบาลมณฑลภเู กต็  มผี ูวา ราชการเมือง ตรงั ตอ จากพระยารัษฎาฯ 5 คน พอถึง  พ.ศ. 2457  สมัยทีพ่ ระยารษั ฎานปุ ระดษิ ฐ (สนิ ธุ เทพหสั ดนิ ณ อยุธยา)  เปนผวู าราชการเมือง มหาอํามาตยโ ท พระยาสรุ ินทรราชา (ม.ร.ว.สิทธิ์ สทุ ศั นฯ ) เปน สมุห เทศาภิบาลมณฑลภูเกต็ เห็นวา เมืองท่กี ันตงั อยใู นทาํ เลไมเหมาะสม เน่อื งจากตอนสงครามโลกครัง้ ที่ 1 เรือ ลาดตระเวนของเยอรมนั ชอื่ เอม็ เด็น(SMS Emden) ไดล อยลํายิงถลม ปน งั หากมีสงครามเกดิ ข้นึ อีก เมอื งตรัง อาจจะถูกยงิ เชน ปนัง รวมทงั้ พ้ืนท่ีลมุ และมีโรคระบาด หลังจากท่พี ระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลาเจาอยหู วั เสด็จฯ เมืองตรัง พ.ศ. 2458 แลว จงึ ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตยายเมืองไปตง้ั ทอ่ี ําเภอบางรัก และ ไดย ายไปเม่อื วนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2458ปจ จุบันกนั ตังยงั คงเปนเมืองทาทสี่ าํ คญั ของจงั หวัดตรัง โดยมกี ารสง สินคา ประเภทตูค อนเทนเนอรผานทาเทียบเรอื กนั ตงั โดยใชเ รือลากจงู ใหบรกิ ารระหวางเสน ทางกันตงั -ปนัง- กนั ตัง สปั ดาหล ะ 2 เท่ียว โดยสินคาที่สงผา นทา เรือกันตังจะเปน ยางพาราและไมย างพาราแปรรปู นอกจากน้ี แลว ยงั มสี นิ คา เทกองประเภทแรยิปซมั และถา นหนิ ทตี งั และอาณาเขต อําเภอกันตังตัง้ อยูทางทศิ ตะวันตกเฉียงใตของจงั หวัด มีอาณาเขตติดตอ กบั เขตการปกครองขา ง เคยี งดงั ตอ ไปนี้ ทิศเหนอื  ติดตอ กับอาํ เภอสเิ กาและอาํ เภอเมอื งตรงั ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอกบั อาํ เภอเมืองตรัง อาํ เภอยา นตาขาว และอําเภอปะเหลยี น ทศิ ใต ตดิ ตอกบั ทะเลอนั ดามัน (อาํ เภอหาดสาํ ราญ) ทศิ ตะวันตก ติดตอกบั ทะเลอนั ดามนั และอาํ เภอสเิ กา

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอกันตัง การแบง่ เขตการปกครอง การปกครองสวนภมู ภิ าค อําเภอกนั ตังแบง พ้นื ที่การปกครองออกเปน14 ตาํ บล 83 หมบู า น ไดแ ก 1.กันตงั (Kantang)- 2.ควนธาน(ี Khuan Thani) 6 หมูบ าน 3.บางหมาก(Bang Mak) 6 หมบู าน 4.บางเปา (Bang Pao) 7 หมูบ า น 5.วงั วน(Wang Won) 5 หมบู า น 6.กันตงั ใต( Kantang Tai) 6 หมบู า น 7.โคกยาง(Khok Yang) 8 หมูบาน 8.คลองลุ(Khlong Lu) 7 หมูบ า น 9.ยา นซ่อื (Yan Sue) 4 หมบู าน 10.บอ นํ้ารอ น(Bo Nam Ron) 9 หมบู าน 11.บางสัก(Bang Sak) 6 หมบู า น 12.นาเกลอื (Na Kluea) 6 หมบู าน 13.เกาะลิบง(Ko Libong) 8 หมบู าน 14.คลองชีลอ ม(Khlong Chi Lom) 5 หมบู า น

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอกันตัง สถานทนี า่ สนใจ สถานท่ีนา สนใจ อําเภอกนั ตังเปน อกี หนงึ่ อาํ เภอทม่ี ีประวัตศิ าสตรท ย่ี าวนาน จึงมสี ถานทีท่ องเท่ียวทเ่ี ก่ียวของกบั ประวัตศิ าสตรท น่ี า สนใจดังน้ี สวนสาธารณะควนตาํ หนกั จันทร  เปน สถานท่ีพกั ผอ นหยอนใจและทองเที่ยวเชิงอนุรักษ  ซ่ึงมคี ุณคา ทาง ประวัตศิ าสตร ตั้งอยูบรเิ วณถนนปา ไม อันเปนสวนหนง่ึ ของปา สงวนแหงชาตคิ วนกนั ตงั สถานท่นี ถ้ี อื กําเนดิ ชื่อมาจากการเปนตาํ หนักเลก็ ๆ ทีส่ รางขนึ้ บนเนนิ เขาเต้ยี ๆ (ควน) ในการรบั เสรจ็ รัชการท่ี 6 คร้งั เสร็จ ประพาสเมืองกันตังเมือ่ ป 2452 เมอ่ื คร้ังยงั ทรงพระอริยยศเปนสมเด็จพระบรมโอราธริ าชสยามมกฎุ ราชกุมาร ตอ มาภายหลงั ใชเปนเรือนรับรองสโมสรขาราชการสนามเพลาะสมยั สงครามโลกครง้ั ท2่ี ในสมันสงครามโลก ครัง้ ที่ 2 ควนตาํ หนักจนั ทรไดใชเ ปนทต่ี ัง้ ทัพของกองกําลังทหารญป่ี นุ หลังจากสิ้นสดุ สงครามอาคารตาง ๆ ได ถูกรือ้ ถอนจนไมเ หลือรอ งรอย ตอ มาไดใชพน้ื ที่น้สี ว นหนึง่ สรา งโรงเรยี นกนั ตังพิทยา สวนเนนิ เขาถกู ปรับปรงุ เปน สวนสาธารณะเพื่อการพักผอ นหยอ นใจ และเปน ท่ีออกกาํ ลังกายของชาวเมืองกนั ตัง มีไมด อกไมพ ันธ หลายชนดิ บนยอดสามารถมองเห็นทวิ ทศั นต วั เมืองกนั ตงั และแมนา้ํ กันตงั ไดอ ยางชดั เจน สถานีรถไฟกันตงั   ตามบันทกึ การรถไฟ สถานรี ถไฟกันตงั ต้ังอยูใกลกับตกึ แถวเกา แบบจนี -โปรตุเกสในเขต เทศบาลเมอื งกนั ตัง ซง่ึ เดิมกันตงั เคยเปน เมอื งสาํ คญั ทพี่ ระยารษั ฏานุประดิษฐต อ งการใหเ ปนเมอื งทา คา ขาย มี การสรางทางรถไฟเพ่อื รบั สงสนิ คาถงึ ทา เรือกันตงั เพอ่ื รบั สง สนิ คา จากสงิ คโปรและมลายู จงึ ไดสรางและเปด ใชงานอยา งเปนทางการจากสถานีรถไฟทุงสง เม่ือวนั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2456 โดยตัวอาคารเปนอาคารไมช ัน้ เดียวทรงปน หยา มาดวยสีเหลอื งมสั ตารด ดานหนามีมุขยืน่ ตกแตงมมุ เสาดว ยลวดลายไมฉ ลุ ประตเู ปน ประตู ไมบ านเฟยมแบบเกา ยางพาราตน แรกของประเทศไทย นอกจากนี้แลว ยงั มีสถานทท่ี องเท่ยี วทางธรรมชาตทิ ี่สวยงาม เชน อทุ ยานแหงชาตหิ าดเจาไหม บอน้าํ พรุ อนควนแดง หาดยาว เกาะกระดาน หาดหยงหลงิ เกาะเชือก หาดปากเมง เกาะลบิ ง เกาะมุก ถํ้ามรกต

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอย่านตาขาว ประวัติ อาํ เภอยานตาขาว เปน เพียงตาํ บลข้นึ กับอาํ เภอกันตัง ตอ มาเมือ่ ประชาชนไดเ ขามาอาศยั อยมู ากขึน้ การตดิ ตอระหวา งตาํ บลกับอาํ เภอไมส ะดวก เพราะระยะทางหางไกลการคมนาคมกอ็ าศัยทางเรือ ในการ ปกครองสามารถสมควรจะดแู ลความทุกขส ขุ ของราษฎร และราษฎรจะตดิ ตอกบั อําเภอก็ยากลาํ บาก ตาํ บลยานตาขาว จงึ ถูกยกฐานะเปน ก่ิงอาํ เภอยา นตาขาว เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2491 โดยมเี ขตการ ปกครอง 6 ตําบล คือ ตําบลยานตาขาว ตําบลหนองบอ ตําบลทุง คาย ตาํ บลนาชมุ เหด็ ตาํ บลในควน และ ตาํ บลโพรงจระเข ตําบลตา ง ๆ เหลา นเ้ี ดิมอยใู นเขตการปกครองของอาํ เภอกันตัง และไดใชอ าคารโรงเรียน จนี ของสมาคมพอ คาจนี เปนทว่ี าการกงิ่ อําเภอยา นตาขาวครน้ั พ.ศ. 2499 ทางราชการไดพิจารณาเห็นวา กง่ิ อําเภอยา นตาขาว มีความเจริญข้นึ พอสมควร มีประชาชนพลเมืองหนาแนน การคมนาคมระหวา งก่งิ อําเภอ จังหวัด สะดวกและใกลก วาจะตอ งผา นไปอําเภอกันตงั จึงไดยกฐานะเปน อาํ เภอยา นตาขาว เมือ่ วัน ที่ 6 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2499 และยายท่ีวาการกิง่ อาํ เภอเดิมไปปลูกสรางขึ้นใหมทางทศิ ตะวันตกเฉียงเหนอื หางออกไปประมาณ 1 กโิ ลเมตร ซ่ึงเปนทีว่ าการอาํ เภอปจจุบนั คาํ วา \"ยา นตาขาว\" นนั้ อาจมีความหมายแยกเปนสองพยางค พยางคแรก คือ \"ยาน\" ความหมาย ตามพจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 มีสามความหมายดวยกัน คือ\"ยาน\" ความหมายท่ี 1 หมายถงึ แถว, ถิ่น เชน เขาเปน คนยา นน้ี, บรเิ วณ เชน ยา นบางลําพู ยา นสําเพ็ง, ระยะทางตามกวางหรอื ยาวจากตาํ บลหนึง่ ไปตําบลหนงึ่ \"ยาน\" ความหมายที่ 2 หมายถึง เครอื เถา เชน ยา นวันยอ ยานลิเภา, เรยี ก รากไทรที่ยอยลงมาวา ยา นไทร\"ยา น\" ความหมายที่ 3 หมายถึง ย่นั พยางคท่ีสอง คือ \"ตาขาว\" ความ หมายตามพจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง แสดงอาการขลาดกลัวดงั นน้ั \"ยา นตาขาว\" นา จะมาจากคาํ วา \"ยาน\" กบั \"ตาขาว\" มาผสมคาํ เรียกเปน \"ยา นตาขาว\" เพราะมีประวตั ิกลา วกนั วาตลาด ยา นตาขาวมีภัยธรรมชาตจิ ากนาํ้ ทว ม ปละ 2-3 คร้ัง แตล ะครัง้ นํ้าจะทวมอยา งรวดเร็ว ประชาชนที่อาศัย อยลู ะแวกนี้ ตา งไดร บั ความเดือดรอ นจากภยั น้าํ ทว มเปนอยา งมาก ตอ งเหน็ดเหนือ่ ยวนุ วายกบั การขนยาย ทรพั ยส นิ สตั วพาหนะ และ สัตวเ ลย้ี ง ไปไวท ่ปี ลอดภัย สาเหตุทนี่ ํา้ ทว มแทบทุกป เพราะตลาดยานตาขาว มีคลองใหญซ ่ึงมแี คว 3 แคว ใกล ๆ ตลาดยานตาขาว เมือ่ ถงึ ฤดูฝนจึงทําใหเ กดิ นํา้ ทว มฉบั พลนั ทําใหผ ู อาศัยอยูบริเวณนี้ตอ งตืน่ ตัวระมดั ระวงั ภัยอยเู สมอ ซ่งึ เปนเพียงคําสันนษิ ฐานเทา นั้นอกี ขอสนั นษิ ฐานหนึง่

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอย่านตาขาว ประวตั (ิ ตอ่ ) ชอื่ บา นยา นตาขาวน้ี มไิ ดหมายความวา คนตาขาวอยูในยา นนี้ แตม ีที่มาของชอื่ ดงั นี้ เดมิ ทีพ้นื ท่ี ของอาํ เภอยา นตาขาว ซึง่ ตอเขตแดนกับอาํ เภอปะเหลยี น มีลาํ คลองไหลผานยานตาขาวหลายสาย เชน คลองปะเหลียน คลองโพรงจระเข คลองพิกลุ ไหลผา นตาํ บลตาง ๆ ในอําเภอยา นตาขาว ประชาชน ปลกู บา นเรอื น ทํามาหากิน แถบรมิ ลาํ คลอง ซ่ึงรกไปดวยตนไม และ เถาวลั ย ท่ขี ้ึนตามรมิ คลองชนดิ หนึง่ เรยี กวา \"เถาวต าขาว\" เม่อื ราษฎรเขาไปตดั ถาก ถาง ตนไมร มิ คลอง เพอ่ื เพาะปลกู และเพอ่ื ปลกู ทอี่ ยูอาศัย ก็ตดั เถาวลั ยนด้ี วย เมอื่ ตัดเถาวลั ยน จ้ี ะมนี ํา้ สขี าวไหลออกมาจากตาของเถาวัลย เหมือน รองไห คนปก ษใ ต เรียกเถาวัลยวา \"ยา น\" และ เรียกชอ่ื พนั ธไมน ้วี า \"ตาขาว\" จงึ รวมเรียกวา \"ยานตาขาว\" แลว ก็นํามาเรยี กเปน ชอ่ื บานนี้วา \"บา นยา นตาขาว\"อกี ลักษณะหนึ่ง การปลูกบานรมิ คลองมจี าํ นวนมากขน้ึ เปนชมุ ชน ผูค นเรียกชมุ ชนนนั้ วา \"ยา น\" และ นําชื่อเถาวัลยท ม่ี มี ากในแถบน้นั คอื เถาวตาขาว มาเรยี กเปนชอื่ หมบู านนว้ี า \"บา นยา นตาขาว\" จนถึงทกุ วันนี้ เร่ืองนีเ้ ปน การบอกเลา ตอ กันมา ขอมลู จึงเปนเพียงขอสันนษิ ฐานเทา นั้น ทีตังและอาณาเขต อาํ เภอยา นตาขาวตัง้ อยทู างตอนกลางของจงั หวัด มีอาณาเขตตดิ ตอ กับอําเภอขางเคียง ดังน้ี ทิศเหนือ ติดตอกับอาํ เภอเมืองตรงั และอาํ เภอนาโยง ทศิ ตะวันออก ติดตอกบั อาํ เภอศรนี ครินทรและอําเภอกงหรา (จงั หวดั พทั ลงุ ) ทศิ ใต ตดิ ตอ กับอาํ เภอปะเหลยี น ทศิ ตะวันตก ติดตอ กับอาํ เภอกันตังการแบง การปกครอง

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอย่านตาขาว การปกครองส่วนภมู ิภาค [แก] อาํ เภอยา นตาขาวแบง เขตการปกครองยอ ยออกเปน 8 ตําบล 65 หมูบา น ไดแ ก 1.ยานตาขาว(Yan Ta Khao)5 หมบู าน 2.หนองบอ (Nong Bo)6 หมบู า น 3.นาชุมเหด็ (Na Chum Het)9 หมูบาน 4.ในควน(Nai Khuan)9 หมูบ า น 5.โพรงจระเข(Phrong Chorakhe)7 หมบู า น 6.ทงุ กระบอื (Thung Krabue)9 หมบู าน 7.ทงุ คา ย(Thung Khai)10 หมบู า น 8.เกาะเปยะ(Ko Pia)10 หมบู าน

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอปะเหลียน ประวัติ ในสมยั กอนทองที่อาํ เภอปะเหลียนมกี ารปกครองขึ้นกับเมืองพทั ลงุ เมอ่ื เจาพระยานคร (นอ ย) ไดส งบตุ ร มาปกครองเมอื งตรงั และข้นึ ตรงตอ เมืองนครศรีธรรมราช พนื้ ที่แถบนมี้ ผี ูค นมาต้ังถิน่ ฐานกันแลว เจาเมืองพัทลุงจงึ สงกรมการเมืองมาปกครองเพื่อเปน การสกดั ก้ันอาํ นาจของเจาเมอื งนครศรธี รรมราชไว ขณะน้ันทองทอ่ี าํ เภอ ปะเหลียน มปี ระชากรนอ ยมาก ไมเหมาะสมทจ่ี ะยกฐานะเปน เมืองดี ดังนั้น ตําแหนง ผปู กครองจึงเปน เพียง \"จอม\" คําวาจอมใชกนั เฉพาะทีม่ ีชายไทยมุสลมิ อยู แปลวา ผเู ปนใหญ ในสมยั ตอมาเมื่อประชากรมากขน้ึ จึงยกฐานะขนึ้ เปนเมือง เมือ่  พ.ศ. 2341 เรยี กวา เมืองปะเหลยี น เจา เมอื งปะเหลียนคนสุดทา ยคือพระปรยิ นั ตเ กษตรานุรกั ษ เทา ท่มี หี ลกั ฐานปรากฏตวั เมอื งครงั้ แรกตงั้ อยูที่หมทู ่ี 3 ตําบลปะเหลียนในปจ จบุ ัน ตอมาไดย ายไปตั้งบรเิ วณหมูที่ 1 ตาํ บลทา พญาในปจ จุบันเมือ่ ประมาณ พ.ศ. 2430 ในป พ.ศ. 2434 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยหู วั ทรงเหน็ วา เมืองปะเหลยี นทรดุ โทรมมาก จึงยุบ ใหเ ปนแขวงขึน้ ตรงกบั เมืองตรัง และในป  พ.ศ. 2438  ไดจดั ตง้ั ท่ีวาการอําเภอเปน คร้ังแรกท่ตี าํ บลทาพญา ใชชอ่ื วา อําเภอทา พญา คร้นั ไดจ ดั รูปแบบอาํ เภอขึน้ ตามพระราชบัญญัตปิ กครองทองที่ เม่อื  พ.ศ. 2440 ไดย า ยทว่ี า การ อําเภอไปตั้งทบี่ า นหยงสตาร ตําบลทาขาม ในป  พ.ศ. 2460  และไดเ ปลย่ี นช่ือเปน  อําเภอหยงสตาร  จนกระทงั่ ป  พ.ศ. 2482  ไดเ ปล่ียนช่อื เปน  อําเภอปะเหลียน  ตามช่ือเดิมจวบจนปจ จบุ ัน ทง้ั นเี้ พอ่ื รักษาประวัตศิ าสตรอัน ยาวนานของเมืองปะเหลียนไว ขณะน้ีอาํ เภอปะเหลยี นไดกอ ตง้ั มาครบ108 ป นับวาเปน อําเภอเกาแกอ ําเภอหน่งึ ใน จังหวดั ตรัง ทมี าของชอื อําเภอ มผี ูพยายามคน หาความหมายและความเปนมาของคําวา \"ปะเหลียน\" จนกระทั่งปจจุบันนกี้ ย็ งั หาขอยตุ ไิ มได เพราะเมืองปะเหลยี นมปี ระวตั ยิ าวนานหลายชว่ั อายุคน ประกอบกับหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรก ็ไมสามารถ คนหาไดจงึ เปนเพยี งแตค ําบอกเลาตอ ๆ กนั มาและเปน ขอ สันนษิ ฐานทพ่ี อจะรบั ฟงได คือ \"ปะเหลียน\" เปนสถานทที่ มี่ ที รพั ยากรมาก มาจากคาํ วา \"ปะ\" แปลวา พบหรอื เจอ และ \"เหลยี น\" แปลวา สงิ่ ที่มีคา เพยี้ นมาจากคาํ วา เหรียญ คือของมีคา \"ปะเหลยี น\" เพี้ยนมาจากคาํ ในภาษามลายูจากเดิมวา \"ปราเลยี น\" แปลวา ทอง อยางไรก็ตาม แมวา จะยังไมมผี ใู ดทราบถึงความหมายอันแทจริงของคาํ วา ปะเหลยี น แตป ะเหลียนกเ็ ปน ช่ือตาํ บล หนงึ่ ของอําเภอท่ีติดตอกับทิวเขาบรรทัดซ่ึงกั้นแดนระหวางจังหวดั ตรงั กับจังหวดั พัทลงุ  ในสมัยกอนชาวพทั ลงุ ได อพยพเขา มาอยใู นพืน้ ทีต่ ําบลปะเหลียนเปน จาํ นวนมาก สําหรับทว่ี าการอาํ เภอปจ จบุ นั ตงั้ อยทู ่บี านทาขา ม หมทู ี่ 1 ตาํ บลทา ขา ม ซ่ึงสมัยกอนเปนทา เรือสาํ คญั ทีใ่ ชตดิ ตอ คมนาคมกบั จังหวดั ชายฝง ทะเลอันดามนั และมลายูหรือ ประเทศมาเลเซียในปจ จบุ นั

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอปะเหลียน ทีตงั และอาณาเขต ทวี่ าการอาํ เภอปะเหลียนตง้ั อยูบานทาขา ม หมทู ี่ 1 ตาํ บลทา ขาม พกิ ดั NH927762 หางจากตวั จังหวดั ตรงั ไปทางทศิ ใต 44 กิโลเมตรตามทางหลวงแผน ดนิ หมายเลข 404 (ตรงั -ปะเหลียน) และอยูหา งจากกรงุ เทพมหานคร ประมาณ 900 กิโลเมตร ทองทป่ี กครองของอาํ เภอมอี าณาเขตตดิ ตอ กับเขตการปกครองขางเคยี งดังตอไปน้ี ทิศเหนือติดตอกบั อําเภอยานตาขาว ทศิ ตะวันออกตดิ ตอ กบั อําเภอกงหราและอําเภอตะโหมด (จังหวัดพทั ลงุ ) ทิศใต ติดตอกบั อาํ เภอทงุ หวา (จงั หวัดสตลู ) และทะเลอันดามนั ทิศตะวนั ตก ติดตอกบั อาํ เภอหาดสําราญและอาํ เภอกันตัง ภมู ศิ าสตร์ อําเภอปะเหลียนมีพืน้ ที่ 973.13 ตารางกโิ ลเมตร (608,266.25 ไร) พ้นื ทต่ี อนเหนือและตะวันออกเฉยี ง เหนอื เปนที่ราบสูงริมทิวเขาบรรทดั สว นตอนใตและตะวนั ตกเฉียงใตเปน ที่ราบชายฝง ทะเล สวนตอนกลางเปน ทีร่ าบ ลกั ษณะภูมอิ ากาศเปนแบบมรสุม มี 2 ฤดู คอื ฤดูฝนและฤดูแลง อยใู นชวงระยะเวลาตงั้ แตเดอื น พฤษภาคม-กุมภาพันธ อุณหภมู เิ ฉล่ยี 27 องศาเซนติเกรด ปริมาณนํ้าฝนประมาณ 1,500 มิลลเิ มตรตอ ป ฤดู รอนอยูในชวงระยะเวลาตงั้ แตเดอื นกุมภาพนั ธ-พฤษภาคม อุณหภูมเิ ฉล่ยี 32 องศาเซนติเกรด ปรมิ าณน้ําฝน 500 มิลลเิ มตรตอป การแบ่งเขตการปกครอง การปกครองสว นภูมิภาค[แก] อําเภอปะเหลยี นแบง พนื้ ทกี่ ารปกครองออกเปน 10 ตําบล 85 หมูบาน ไดแ ก 1.ทาขาม(Tha Kham) 9 หมูบ า น 2.ทงุ ยาว(Thung Yao) 7 หมบู าน 3.ปะเหลยี น(Palian) 15 หมูบาน 4.บางดวน(Bang Duan) 6 หมบู า น 5.บา นนา(Ban Na) 12 หมูบา น 6.สโุ สะ(Suso) 11 หมูบาน 7.ลพิ งั (Liphang) 7 หมูบ า น 8.เกาะสกุ ร(Ko Sukon) 4 หมบู า น 9.ทาพญา(Tha Phaya) 4 หมูบาน 10.แหลมสอม(Laem Som) 11 หมูบา น

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอปะเหลียน ทรพั ยากร ปา ไม  อําเภอปะเหลยี นมพี ้ืนทปี่ าสงวนแหง ชาติถงึ 315,025 ไร หรอื รอยละ 42 ของพน้ื ทอี่ ําเภอปะเหลียน แต ในปจ จุบันปาสงวนแหงชาตนิ ้นั ไดถ กู บุกรกุ จบั จองตัดไมเพ่อื เอาทดี่ นิ ไปทาํ การเกษตรไปมากแลว ซงึ่ ในบรเิ วณ ปา ไมนี้ มีแหลง ทอ งเทย่ี วท่ีสําคัญ เชน น้าํ ตกโตนเตะ น้ําตกชองเขาบรรพต ภเู ขาเจ็ดยอด นาํ้ ตกพา น เปนตน เตาทะเล  ชาวบานตาํ บลเกาะสุกรไดเ ลง็ เหน็ ความสําคัญของการอนุรักษ มกี ารดแู ลไขเ ตาทมี่ าฟกตัวบรเิ วณ ชายฝง นอกจากนใี้ นบรเิ วณน้ียงั มรี ังนกนางแอน ซึ่งทางราชการจดั ใหม ีสัมปทานอยทู ่ีเกาะเหลาเหลียง เกาะ เภตรา ตาํ บลเกาะสกุ ร หญาทะเล  พืน้ ทีอ่ ําเภอปะเหลยี นบางสวนเปนชายฝง ทะเลและเปน เกาะบรเิ วณทะเลนํา้ ตน้ื โดยเฉพาะชายฝง เกาะสกุ ร เปน พน้ื ทีท่ ่มี พี นั ธุห ญา ทะเลขึ้นเปนจํานวนมาก จึงจําเปน ตอ งอนรุ กั ษเพอ่ื เปน สถานท่วี างไขแ ละเปน แหลง อาหารของสตั วท ะเล เผา่ ซาไก เงาะซาไกหรอื \"มันน\"ิ ซ่ึงแปลวา พวกเรา อาศัยอยูตามแนวทวิ เขาบรรทัดในเขตตําบลลพิ งั และตาํ บล ปะเหลยี น ทงั้ หมดมอี ยูประมาณ 30-35 คน แบงออกเปน กลุมทง้ั หมด 4 กลมุ มนั นใิ สเ สื้อผา แบบสมัยใหมท่ี ชาวบานบรเิ วณน้นั บรจิ าคให พดู ภาษาไทยถิ่นใตไ ดชัดเจน แตย งั ชอบอยใู นปา มันนถิ อื วา เปนทรัพยากร มนุษยท ่เี ขาใจวิถที างธรรมชาตใิ นปามากทสี่ ุดเผาพันธุหน่งึ

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอสิเกา ทมี าของชอื เมอื ง ท่มี าของชอื่ เมอื ง\"สเิ กา\"น้ี หลายคนคงตคี วามไปตา งๆ นาๆ บา งกว็ ามีกงสี(บานพกั ชาวสวนยาง เกา เคยต้งั อยบู รเิ วณน้ี บา งกว็ าคนจนี ฮกเก้ยี นที่เคยอพยพมาจากสงิ คโปรและปน ังเขามาอยเู รยี กพ้นื ทน่ี ี้ วา \"ส่เี กา\" ตอ มาเพี้ยนเปนสิเกา ซ่งึ อยา งไรก็ตาม ทม่ี าของชือ่ สเิ กาทีน่ าเช่ือถอื และไดร ับการยอมรบั มาก ทสี่ ดุ คอื คําวา \"สิเกา\" เพ้ียนมาจากคําวากงสีเกา เนื่องจากไดมชี าวจีนปนงั ฮกเกีย้ น และประเทศเพื่อน บานเขามาอาศัยประกอบอาชีพตัดไมข ายตอมาไดต ้งั โรงงานแปรรูปไมข น้ึ ท่รี มิ คลองสเิ กา เพื่อนําไม คบ น้ํามันยาง ไมไผ และถา นไมโกงกางไปจําหนายยงั ตางประเทศ และบรรทุกสนิ คาอน่ื ๆ จากตางประเทศเขา มาจาํ หนา ยในอาํ เภอสิเกา ในยคุ นัน้ จงึ มีผูคนอาศยั อยา งหนาแนน ตอ มาปริมาณไมลดลง ชาวจีนจึงเลิก กจิ การกลบั ประเทศจีน บางก็ยายไปตั้งรกรากใหม ในตลาดทับเทย่ี ง(เทศบาลนครตรงั ) บางก็เปลี่ยนไปทาํ ไรพ ริกไทย สวนยางพารา สวนมะพราว บา งกม็ ลี กู เมยี ตัง้ รกรากอยทู ต่ี าํ บลบอ หนิ (ตวั อาํ เภอปจ จบุ ัน) แต ตวั โรงงานแปรรปู ไมหรอื สถานท่ตี ้ังโรงงานยังมอี ยู ชาวบา นพากันเรียกวา \"กงสีเกา \" ตอ มานานวันเขา ก็ เพ้ยี นเปน \"สีเกา\" ผลสุดทา ยดวยความเคยชนิ ของสําเนียงใตจ งึ ไดเ รยี กเปน\"สิเกา หรอื อีกแนวคดิ หน่ึงกค็ ือ ที่ตง้ั อําเภอน้ีอยูใกลภูเขาสีล่ ูก จึงเรียกหมบู า นนวี้ า \"บานสเ่ี ขา\" ตอมาเพย้ี นเปน\"สเี กา\" และ \"สเิ กา\" ตาม ลาํ ดบั ประวัตศิ าสตร์ อาํ เภอสิเกา ไดรบั การสถาปนาเปนอาํ เภอ ขน้ึ ตอจากเมืองกนั ตัง(เมืองตรงั ในขณะนัน้ ) เมอ่ื ป พ.ศ. 2430 ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั รชั กาลท่ี 5 เหตผุ ลที่เลอื กตั้งตัว อําเภอในท่ตี ้ังปจจุบนั บรเิ วณคลองสเิ กาคือ เพ่อื ปองกันขาศกึ ในสมยั สงครามโลกคร้งั ที่ 2 (ญปี่ นุ ขนึ้ เมือง) โดยเมื่อกอน อาํ เภอสิเกามพี ้ืนท่ีกวางขวางกวา ปจจบุ ัน คอื พ้นื ที่ดานตะวันตกเฉียงเหนือทั้งหมด ของจงั หวัด นับตัง้ แตชายเขตอําเภอหวยยอด ตอ มา พ.ศ. 2536 ไดม กี ารปรบั เขตการปกครองใหม แบง เขตการปกครองออกเปนก่งิ อาํ เภอวังวเิ ศษ ซ่งึ แบง ครึง่ พนื้ ทเี่ ดิมอาํ เภอสิเกาไปทางดา นตะวันออก ของปจ จุบัน ทาํ ใหข นาดของอาํ เภอสเิ กามีขนาดเลก็ ลง กวา เดมิ ไปมาก

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอสิเกา ภมู ศิ าสตร์ ภมู ศิ าสตรอ ําเภอสเิ กาตั้งอยทู างทศิ ตะวนั ตกเฉียงเหนือของจงั หวดั มอี าณาเขตตดิ ตอกับเขตการปกครองขางเคยี ง ดงั ตอไปน้ี ทศิ เหนอื  ติดตอ กับอาํ เภอคลองทอ ม (จังหวัดกระบ่ี) และอาํ เภอวงั วิเศษ ทศิ ตะวนั ออก ติดตอ กับอําเภอวงั วิเศษ อําเภอเมอื งตรัง และอําเภอกนั ตัง ทิศใต  ติดตอกบั อําเภอกนั ตงั ทิศตะวนั ตก  ติดตอ กบั ทะเลอนั ดามันอาํ เภอสิเกาเปนทีต่ ง้ั ของอทุ ยานแหง ชาตทิ างทะเลหาดเจาไหม และมคี ลอง ท่สี ําคญั ไดแก คลองกะลาเส, คลองสิเกา, คลองสวา ง และ คลองฉางหลาง การแบง่ เขตการปกครอง การปกครองสวนภูมภิ าค อําเภอสเิ กาแบง เขตการปกครองยอยออกเปน 5 ตาํ บล 40 หมบู าน ไดแ ก 1.บอ หิน(Bo Hin)9 หมูบาน 2.เขาไมแ กว(Khao Mai Kaeo)9 หมบู า น 3.กะลาเส(Kalase)8 หมูบ า น 4.ไมฝาด(Mai Fat)7 หมบู า น 5.นาเมืองเพชร(Na Mueang Phet)7 หมบู าน ประชากร ประชากรสว นใหญ 60% นับถือศาสนาพุทธ 39%นับถือศาสนาอิสลาม และ 1% นบั ถอื ศาสนาคริสต อาชพี สวนใหญของชาวสเิ กา คือเกษตรกรรมทั้งกสกิ รรม สว นใหญจะเปน สวนยางพาราและสวนปาลม น้ํามนั และการประมงจบั สตั วน าํ้ เพาะเล้ยี งสัตวน้ํา ดา นการทอ งเที่ยวทางทะเล และลกู จางโรงงานอุตสาหกรรม แปรรูปสินคาเกษตรในพื้นท่ี ชาวสิเกามีชวี ิตความเปน อยูทีเ่ รียบงายมวี ถิ ีพอเพยี งแบบชนบทมีความสงบ ท้ัง ทางธรรมชาติและสงั คมทาํ ใหเ กิดความสขุ อยา งยง่ั ยนื

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอสิเกา แหลง่ ท่องเทียวทีสําคญั หาดปากเมง หาดราชมงคล หาดวิวาหใ ตสมุทร พิพธิ ภัณฑส ตั วน ้ําราชมงคล หาดเจาไหม เขาแบนะ หาดฉางหลาง หาดหวั หนิ และทงุ คลองสน แหลมมะขามแหลมไทร เขาเจด็ ยอด นํา้ ตกอางทอง เกาะเมง เกาะยา เกาะหลอ หลอ เกาะมา เกาะปลิง แหลงดาํ นํ้าชมปะตมิ ากรรมพยนู ใตทะเลเกาะแหวน เสน ทางพายเรือคยคั หาดราชมงคล คลองสิเกา อา วบุญคง เกาะยา เกาะเมง ปากคลองเมงเขา หนิ ปูนและถา้ํ เขาเพดานวัดคูหาวไิ ล อุทยานแหงชาติทางทะเลหาดเจา ไหม ศูนยว ิจัยพืชสวนตรัง ต.ไมฝ าด สถานวี จิ ัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตวน ํ้าชายฝง ต.ไมฝาด สถานพี ฒั นาทรพั ยากรปาชายเลนที่ 31 (สเิ กา ตรัง)

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอสิเกา เศรษฐกจิ ทา เรือ อําเภอสิเกา แตเดมิ น้นั มที าเรือหลักอยูท่ี ต.บอหนิ สาํ หรับการขนสงปลาของชาวประมง และมที า เรือหรอื สะพาน ปลาเลก็ ๆ สําหรับข้นึ ทาสง ไปขายยงั เมอื งตรัง เมื่อการทองเท่ียวทางทะเลเรม่ิ มีการขยายตวั เพ่ิมมากขน้ึ จงึ ไดมีการ สรา งทาเรอื เพ่อื การเดินทางทองเท่ียวทางทะเลไปยงั เกาะแกงตางๆ ในนานน้าํ ทะเลตรงั เชน เกาะมุก เกาะเชือก เกาะ แหวน เกาะมา เกาะกระดาน เกาะยา เกาะปลิง และทะเลกระบี่ เกาะไหง เกาะรอกใน เกาะรอกนอก หินแดง หนิ มว ง เพ่ือรองรบั การทอ งเที่ยวท่ีขยายตัวข้นึ เรอ่ื ยๆ ทา เรือสเิ กา (ขนสง สินคาประมง สัตวนํา้ ) ทาเรอื ทอ งเท่ยี วปากเมง (สินคาประมง และทา เรือทองเทย่ี ว) ทา เรอื ทอ งเท่ยี วคลองสน (ทาเรือทองเท่ียวแหงใหม)

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอห้วยยอด อาํ เภอหว ยยอด เปน อําเภอเกาแกอําเภอหนึง่ ในจังหวัดตรงั  ทีม่ ชี ่ือเรยี กวา \"หว ยยอด\" เนื่องมาจาก ภมู ิประเทศของอําเภอหวยยอด โดยคาํ วา \"หว ย\" หมายถึง ลําหวยตา ง ๆ ซึ่งเปน สาขาของแมนํา้ ตรัง อนั เปนแมน ํ้าสายหลกั ของจงั หวัดที่พาดผานพ้นื ทสี่ วนตา ง ๆ ของอาํ เภอ สว นคาํ วา \"ยอด\" หมายถึง ยอดเขาทเ่ี รยี งรายตลอดแนวทางดา นทิศตะวันออกของอาํ เภอ ซง่ึ เรยี กวา ภเู ขาบรรทัด โดยพ้ืนทห่ี วยน้าํ และยอดเขาสลับกันไปมา จงึ ไดเ รียกวา หว ยยอดมาจนปจ จุบัน ประวตั ิ จากขอ มลู ทค่ี น พบต้ังแตป พ.ศ. 2355 ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลาเจา อยูหัว พ้นื ท่ี ปกครองของอําเภอหว ยยอดถูกแบง ออกเปน 2 สว น โดยพน้ื ทีฝ่ ง ตะวันตกของแมน ้ําตรัง  ไดแ ก บาน เขาปน ะ บานบางกงุ บา นทาประดู บา นควน บา นหนองหงษ บานเขาขาด บา นหนองไมแ กน บาน หนองแค และพน้ื ท่ีฝง ตะวันออกของแมน ้ําตรังบางสว น ไดแก บานในเตา ขนึ้ อยูกับเมอื ง นครศรีธรรมราช สว นพนื้ ที่ฝง ตะวนั ออกของแมน ้ําตรงั สวนใหญ ข้นึ อยูก บั เมอื งตรัง ในสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยหู ัว พระองคเสด็จประพาสเมอื งตรงั ปรากฏวามี กรรมกรจนี จาํ นวนมากจากเกาะปนัง เขา มาทาํ เหมืองแรด บี กุ ที่บานทามะปราง ทาํ ใหช ุมชนบรเิ วณนั้น เจรญิ มากขึ้น และเกิดตลาดแหงแรกที่บา นทา มะปราง ตอมามเี รอื ขุดแรของฝร่ังมาทาํ การขดุ แรแ ถวหนา วัดหวยยอด  จงึ ทาํ ใหช มุ ชนบริเวณอําเภอ หว ยยอดเจรญิ ข้ึนต้ังแตน น้ั มาตอมา พ.ศ. 2423 ทางราชการไดโ อนเมืองตรงั ไปข้ึนตรงตอ กรงุ เทพฯ จึง ไดโ อนพ้นื ท่ที างฝงตะวนั ตกของแมนาํ้ ตรงั มาข้นึ กบั เมอื งตรงั ดวย ทําใหเ กิดแขวงขน้ึ 4 แขวง คอื แขวงบางกงุ แขวงบา นนา แขวงปากคม แขวงเขาขาว จนกระท่ังป พ.ศ. 2430 จงึ ไดรวมทอ งท่ีบา ง สวนของเมืองนครศรีธรรมราชทางฝง ตะวันตกของแมนาํ้ ตรงั เปน   อาํ เภอเขาขาว  ขึน้ โดยตงั้ ท่วี า การ อาํ เภอที่ตาํ บลเขาขาว ตอ มาจึงไดย ายทที่ ําการอาํ เภอมาตั้งอยทู ี่ตําบลนํ้าพราย ซ่ึงเปนทต่ี ง้ั ของท่ี วา การอาํ เภอในปจจุบันนี้ แตยงั เปนชือ่ อําเภอเขาขาว ตอมาไดแยกพน้ื ท่ีตําบลนํา้ พรายบรเิ วณทีต่ ัง้ ที่ วา การอําเภอออกมาตงั้ เปน ตําบลใหม ใหช ื่อวา \"ตาํ บลหวยยอด\" ดงั น้นั ในป พ.ศ. 2455 จึงเปล่ียนช่ือ อําเภอเปน อําเภอหวยยอด เพ่อื ใหตรงกับช่อื ตาํ บลท่ีตัง้ ทวี่ า การอาํ เภอ ในป  พ.ศ. 2460 ไดเ ปลย่ี นชอ่ื เปนอําเภอเขาขาวอกี ครง้ั และในป  พ.ศ. 2482  จงึ ไดเ ปลี่ยนมาเปนอําเภอหวยยอดจนกระทง่ั ปจจบุ นั เดิม เขตการปกครองในจังหวดั ตรังมีเพียง 6 อําเภอ และอําเภอหว ยยอดเปน อาํ เภอเดียวที่ไมม ี พ้นื ทีต่ ดิ ทะเล เนื่องพน้ื ฐานเศรษฐกิจของอาํ เภอหวยยอดมาจากการทาํ เหมืองแรดีบกุ   เมอ่ื จาํ นวน ประชากรมากขึน้ จึงไดม กี ารแยกสว นการปกครองของจังหวดั เพิม่ ขน้ึ และเมอ่ื วนั ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2534  ไดแยกสวนหน่ึงของอาํ เภอหว ยยอด ไดแ ก ตําบลควนเมา ตําบลคลองปาง ตําบลหนองบวั ตําบลหนองปรอื และตาํ บลเขาไพรออกไปเปนอําเภอรษั ฎา ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอห้วยยอด ภูมศิ าสตร์ ทต่ี ้ังและอาณาเขต อําเภอหว ยยอดต้ังอยทู างทศิ เหนอื ของจงั หวัด มีอาณาเขตติดตอกับเขตการปกครองขา งเคยี งดัง ตอไปนี้ ทศิ เหนือ ติดตอ กับอาํ เภอบางขัน (จังหวดั นครศรีธรรมราช) และอาํ เภอรษั ฎา ทศิ ตะวนั ออกติดตอกบั อําเภอทงุ สงอาํ เภอชะอวด(จงั หวันครศรธี รรมราช)  อาํ เภอปาพะยอม และอาํ เภอศรีบรรพต (จงั หวัดพัทลุง) ทิศใต  ติดตอ กบั อาํ เภอเมืองตรงั ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอกบั อาํ เภอวงั วิเศษ ภมู ิประเทศ ภูมปิ ระเทศสภาพพื้นทีโ่ ดยสวนใหญเ ปนทดี่ อนลาดจากเทือกเขาบรรทดั ทางทศิ ตะวันออก ทศิ ตะวัน ออกเฉยี งเหนือ และทิศเหนือ ภูเขา เปน ภเู ขาจากทิวเขาบรรทดั สว นใหญอยูใ นตําบลในเตา ตาํ บลทา ง้วิ ตาํ บลเขาปนู และตาํ บล ปากแจม แมนา้ํ ไดแ ก แมน ํ้าตรัง ซึ่งตนนํ้าเกดิ จากเทือกเขาบรรทดั ในเขตจงั หวัดนครศรธี รรมราช ไหลผาน ตาํ บลตา ง ๆ ของอําเภอหว ยยอด หลายตําบล ผานอําเภอเมืองตรังและอาํ เภอกนั ตังออกทะเลดาน มหาสมทุ รอนิ เดยี ราษฎรสามารถใชใ นเกษตรกรรม และในฤดฝู นเม่อื ฝนตกหนักทาํ ใหนํา้ หลากผา น แมน ํา้ ตรังทาํ ใหเกิดอุทกภัยในตําบลตาง ๆ ของอาํ เภอ อําเภอหว ยยอดอยูทางทศิ เหนอื ของจงั หวัดตรัง หา งจากตวั จังหวดั ประมาณ 28 กิโลเมตร ตั้งอยูที่ ตําบลหวยยอดในเขตเทศบาลตาํ บลหว ยยอด ตวั อําเภอมีพน้ื ท่ีประมาณ 762.63 ตารางกิโลเมตร ภูมอิ ากาศ พนื้ ที่อําเภอหว ยยอดไดร บั อทิ ธิพลลมมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใตและลมมรสุมตะวนั ออก ฝนจะเรมิ่ ตก ประมาณเดอื นพฤษภาคม และจะมฝี นตกระหวา งเดอื นสิงหาคมถึงเดอื นธนั วาคม เปนการเขาสฤู ดฝู น ต้ังแตช ว งเดือนกุมภาพนั ธ จะยา งเขาสฤู ดูรอนไปจนถงึ เดอื นมถิ ุนายน

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอห้วยยอด การแบ่งเขตการปกครอง การปกครองสวนภมู ภิ าคอําเภอหว ยยอดแบง พนื้ ท่กี ารปกครองออกเปน 16 ตําบล 133 หมูบา น  1.หว ยยอด(Huai Yot) 5 หมูบา น 2.หนองชางแลน (Nong Chang Laen) 12 หมูบา น 3.บางดี(Bang Di) 12 หมูบา น 4.บางกงุ (Bang Kung) 9 หมูบา น 5.เขากอบ(Khao Kop) 12 หมบู าน 6.เขาขาว(Khao Khao) 7 หมูบา น 7.เขาปนู (Khao Pun) 7 หมบู า น 8.ปากแจม (Pak Chaem) 7 หมบู าน 9.ปากคม(Pak Khom) 7 หมูบาน 10.ทา ง้ิว(Tha Ngio) 8 หมูบ าน 11.ลําภรู า(Lamphu Ra) 10 หมูบ า น 12.นาวง(Na Wong) 11 หมบู า น 13.หวยนาง(Huai Nang) 8 หมบู าน 14.ในเตา(Nai Tao) 4 หมูบาน 15.ทุงตอ (Thung To) 8 หมูบาน 16.วังครี (ี Wang Khiri) 6 หมบู า น ประชากร อาํ เภอหวยยอดมจี ํานวนประชากรทั้งสิ้น 90,931 คน ชาย จํานวน 45,487 คน หญงิ จาํ นวน 45,444 คน ความหนาแนน ของประชากร 121.69 คน/ตารางกิโลเมตร (สาํ รวจเมอื่ เดอื น ธันวาคม2548)  ประชากรสวนใหญประกอบอาชพี ทําสวนยางพารา ทาํ สวนปาลม และทํานา อาชีพ เสริม ไดแ ก ทําไรและทําสวนผลไม

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอห้วยยอด สถานทที นี ่าสนใจ ตาํ บลหว้ ยยอด สถานีรถไฟหวยยอดสถานีรถไฟหว ยยอด เดิมเปน อาคารไมข นาดเลก็ ตอมาทาํ การขยายตอเติมทพี่ กั ผู โดยสารเมอ่ื  พ.ศ. 2510 บรเิ วณลานจอดรถดา นหนาสถานแี ละท่ที าํ การแขวงบํารุงทางหว ยยอด มีรถซอ ม บาํ รงุ ทางของเกา ต้งั แตส มยั กอนสงครามโลกจอดเปน อนุสรณอยกู ลางวงเวียนขนาดเลก็ เทศกาลกนิ เจ อาํ เภอหวยยอดมีการจัดเทศกาลกินเจซึง่ ถอื ปฏบิ ัติกันมายาวนาน โดยมศี าลเจา (โรงพระ) ที่ เปน ทีร่ ูจัก ไดแ ก ศาลเจา แมกวนอมิ และศาลเจากมิ ออ งซ่ึงตงั้ อยใู นร้วั เดียวกนั ทน่ี จ่ี ะมีการกนิ เจปล ะ 2 ครง้ั ครั้งแรกประมาณเดือนสงิ หาคม กินเจเน่ืองในโอกาสวนั เกดิ เจาแมก วนอิม โดยมีระยะเวลา 7 วัน สวนครงั้ ท่สี องกค็ ือชว งเทศกาลกนิ เจทเี่ รารูจกั กันทั่วประเทศ คนหว ยยอดจะเรยี กกนิ เจนวี้ า กนิ เจของกิวออ ง นา้ํ ตกโตนคลาน น้ําตกโตนคลาน เปน น้าํ ตกขนาดเลก็ เกิดขน้ึ จากปา ตนน้ําในแนวเทือกเขาบรรทัด มนี า้ํ ไหลตลอดป ต้ังอยูหา งจากตวั อําเภอประมาณ 5 กโิ ลเมตร เขาพระยอด เปน สถานปฏิบตั ธิ รรมที่เพ่งิ จัดสรางข้นึ ใหมร าวป พ.ศ. 2545 เนื่องจากสถานปฏบิ ัตธิ รรมแหง นต้ี ้ังอยบู นเชิงเขาขนาดเลก็ สามารถมคี วามเงยี บสงบ และมองเห็นทวิ ทัศนของตวั อําเภอหว ยยอดจากมมุ สูงได จงึ เปนอกี สถานที่ ท่ีไดรบั ความนิยมทง้ั จากนักปฏิบตั ิธรรม และนกั ทองเท่ยี วในการแวะข้นึ ไป ตาํ บลเขากอบ ถาํ้ เลเขากอบ ถํา้ เลเขากอบเปน ความมหศั จรรยข องธรรมชาติทท่ี าํ ใหเกิดธารน้ําไหลตลอดถาํ้ บนแผนดิน มีลกั ษณะเปน ภเู ขาผาหนิ สงู ชันสลับซับซอ น มีลาํ คลองท่ไี หลมาจากทวิ เขาบรรทัด  เมอ่ื ไหลมาถึงบริเวณ เขากอบจะแยกออกเปน 3 สาย โดย 2 สายจะไหลออ มภูเขาและอีกสายหนง่ึ จะไหลลอดถ้าํ ใตภ ูเขา ภายในถา้ํ มีหินงอกหนิ ยอ ย ระยะทาง 4 กิโลเมตร องคก ารบริหารสว นตําบลเขากอบไดจ ัดเรือพายบริการ นาํ เท่ียวชมความงามของถํ้า ถอื เปนกิจกรรมทองเท่ยี วเชิงนิเวศของชุมชนในทอ งถ่นิ คาบริการเรอื ลําละ 200 บาทตอ 6 คน หรอื คนละ 30 บาท ใชเวลาในการลอ งเรือประมาณ 1 ช่วั โมง ลอ งเรอื ไดต้งั แตเวลา 8.00-18.00 น. สอบถามรายละเอียดไดท อ่ี งคการบริหารสว นตาํ บลเขากอบ โทร. 0 7520 6620, 0 7550 0088การเดนิ ทาง หา งจากท่วี า การอาํ เภอหวยยอดไปตามถนนเพชรเกษมประมาณ 7 กิโลเมตร แยกซายเขา บา นเขากอบประมาณ 700 เมตร

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอห้วยยอด สถานทีทนี า่ สนใจ ตําบลนาวง วัดถาํ้ เขาปนะ หางจากถํ้าเลเขากอบไปบนถนนเพชรเกษม เปน ทต่ี ั้งของวดั ถาํ้ เขาปน ะ บรเิ วณเขา ปนะน้ี มีถ้าํ ขนาดใหญซงึ่ เดมิ เปนแหลงทีอ่ ยขู องคา งคาว ตอมาไดม ีพระภุดงคม าพํานักและไดรบั ศรทั ธาจากชาวบานสรางกุฎิถวายบริเวณเชงิ เขาแทน จึงไดต ้งั เปน สํานักสงฆ และยกระดบั เปนวดั ในเวลาตอมา ตาํ บลบางดี ทะเลสองหอง ทะเลสองหองต้ังอยทู ่ีตําบลบางด ี หา งจากตวั อําเภอหว ยยอดประมาณ 27  กิโลเมตร  โดยเดนิ ทางไปตามถนนเพชรเกษม  สายหวยยอด-กระบี่ ถึงสามแยกทา มะพรา ว แยกขวาไปอกี 12 กโิ ลเมตร เปน แอง น้าํ ธรรมชาติกวางใหญค ลายทะเลสาบโอบลอ มดวยภูเขา หลายลูก ดูสลับซบั ซอ นและอดุ มสมบรู ณดว ยไมนานาชนิด ตอนกลางของแอง นํา้ มเี ขายื่นออกมา เกอื บตดิ ตอกนั แบง แองนํ้าออกเปน 2 ตอน จึงเปนทม่ี าของช่ือทะเลสองหอ ง คา ยลกู เสอื ไทยเฉลมิ พระเกยี รติ ทะเลสองหอ งยังเปนที่ตัง้ ของคา ยลูกเสือไทยเฉลมิ พระเกยี รติ ซึ่ง ถือไดว าเปน คายลูกเสอื ระดับชาตปิ ระจาํ ภาคใตอกี ดวย คา ยลูกเสอื แหงน้ีมที ศั นยี ภาพสวยงาม ของภูเขา และทะเลสาบสองหอ ง มีอาคารประชมุ ท่พี กั สิ่งอาํ นวยความสะดวกสาํ หรับการอยู คายพักแรมพรอม ตง้ั อยหู างจากตัวจงั หวดั ตรังเพียง 60 นาที สถานที่ตดิ ตอคายลกู เสือไทย เฉลิมพระเกียรติบานทะเลสองหอ ง หมทู ่ี 10 ตาํ บลบางดี อําเภอหวยยอด จงั หวดั ตรงั โทร. 0 7521 0258 วัดถํ้าเขาสาย วดั ถ้าํ เขาสายเปน วัดทีม่ ีมาต้งั แตโ บราณ เปน ทตี่ ัง้ เมืองตรังครั้งแรก มีบนั ทกึ ใน ประวตั ิศาสตรเปน หนงั สือท่ีเขยี นโดยทอเลมี  นกั ปราชญช าวกรกี ซงึ่ ไดก ลาวถึง แมนํ้าไครโลนาส หมายถงึ   แมนํา้ ตรัง  แมนา้ํ อัตตาบาส หมายถึง  แมนา้ํ ตาป  แมนาํ้ ปะลนั ดา หมายถงึ คลองโอก และคลองมีนในจังหวัดตรัง  เปน 1 ในแหลง มวลสารวัตถุจากโบราณสถานและโบราณวตั ถทุ ี่ พระบาทสมเด็จพระเจา อยหู วั ไดท รงนาํ มาเปน สว นประกอบในการทําพระสมเด็จจติ รลดา

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอห้วยยอด สถานทที นี ่าสนใจ ตําบลลาํ ภรู า วดั ถํา้ พระพทุ ธ เดมิ ชอื่ วดั ถา้ํ พระ ต้ังอยเู ลขท่ี 5/1 หมูท ่ี 6 บา นถ้ําพระ ตาํ บลหนองบวั สงั กดั คณะ สงฆม หานกิ าย มีทดี่ ินทง้ั วดั เนอ้ื ที่ 84 ไร 60 ตารางวา เปน 1 ในแหลง มวลสารวตั ถจุ ากโบราณ สถานและโบราณวัตถทุ ีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัวไดทรงนํามาเปนสว นประกอบในการทาํ พระ สมเดจ็ จิตรลดา วัดถ้าํ โสราษฎรประดิษฐ ต้ังอยูหมทู ่ี 7 บา นชายเขา ตําบลลําภรู า ทางเขา อยูต รงขา มกับกองพัน ทหารราบที่ 4 กรมทหารราบท่ี 15 คา ยพระยารษั ฎานปุ ระดิษฐ ที่ตั้งของวดั เปน ภเู ขาสงู มีทางเดนิ ขนึ้ ภเู ขาเพื่อชมทวิ ทัศนของจงั หวัดตรังโดยทว่ั ไปไดอยา งชดั เจน ภายในถา้ํ สามารถเดนิ เขาไปชม หินงอกหนิ ยอ ยได และถายในบรเิ วณวัดมีสถานทก่ี วา งสามารถจอดรถไดอยา งสะดวก ท้งั ยังอยูใน บริเวณเดยี วกับเขตหามลาสตั วปา เขานํา้ พรายอกี ดวย หมูบ านขนมเคก ตาํ บลลําภูราเปน แหลงกําเนิดของเคกข้นึ ชอ่ื ของจงั หวัดตรงั ซ่งึ   ม.ร.ว.ถนัดศรี ส วัสดิวฒั น  ไดเ คยมาแวะชมิ และแนะนาํ ใหคนไทยไดรจู ัก เคก ข้ึนชอื่ ของลาํ ภูรามลี ักษณะทไ่ี มเหมอื น เคกทว่ั ไปคือ ตรงกลางของขนมเคก จะมชี อ งวา งตรงกลางเปนวงกลม รานจําหนา ยขนมเคก ไดแก  เคก ขุกมงิ่  เคกนาํ เกง  เคกศรียง เคก ศิริวรรณ เคก ชอ ลดา ลาํ ภรู า เปนตน

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอวังวิเศษ ประวตั ิ ในอดตี กอ นป พ.ศ. 2497ชอ่ื เตม็ ของตําบล คอื ตําบลเขาพระวเิ ศษเหตทุ ่ไี ดช่อื ตาํ บลเขาพระวเิ ศษนัน้ ก็เน่อื งจากตาํ บลเขาวเิ ศษมีภเู ขาอยลู กู หน่ึงต้ังอยูห มทู 6ี่ บา นหลังเขาในปจ จบุ นั และอยตู ดิ กับถนนารพชาเสน ทางท่จี ะออกไปอาํ เภอเมอื งตรงั โดยผา นตาํ บลหนองตรุดาและในภูเขาลูกน้ีมีถา้ํ ซึง่ ชาวบานเรียกวา ถ้าํ พระ เพราะภายในถํา้ มพี ระพทุ ธรูปาประดิษฐานอยเู มอ่ื มีผูคนทจี่ ะผา นเสนทางสายดังกลาวนจี้ ะตองลงไปกราบไหว บูชาโดยเฉพาะคณะหนงั ตะลุงาหรอื มโนราหจะตอ งหยดุ โหมโรงาหรอื แสดงสักครถู ึงผานไปไดถาหากไมป ฏิบตั ิ เชน น้นั แลวาจะมีอนั เปน ไปหรือเกิดอาเพศกับผทู ไี่ ปปฏบิ ตั ติ ามดงั กลาวตางๆานานาจนชาวบานในสมยั นัน้ ได ขนานนามวาภเู ขาพระวิเศษและเปนชื่อของตาํ บลเขาพระวเิ ศษต้ังแตน ้ันมาแตโ ดยที่คนภาคใตเฉพาะคน จงั หวดั ตรงั ชอบพดู อะไรส้ันๆาจะกระทง่ั คาํ วา พระหายไปและมาเปลีย่ นเปน ตําบลเขาวิเศษในสมัยของกํานัน หมีศรีจนั ทรท องประมาณปพ.ศ.2497สําหรบั โรงเรยี นและวดั ประจําตาํ บลก็ยังคงใชช ่อื เดมิ คือวดั เขาพระวเิ ศษ เดมิ ทอี งคก ารบริหารสว นตาํ บลเขาวเิ ศษเปน องคกรปกครองสวนทอ งถิ่นรปู แบบสภาตาํ บลเขาวิเศษ และในวนั ท่2ี 3ากมุ ภาพันธพ.ศ.2540ไดถ ูกจดั ตัง้ ขึน้ เปน องคการบริหารสว นตําบลเขาวเิ ศษตราขององคก าร บริหารสว นตาํ บลเขาวเิ ศษเปน รปู ภเู ขาที่มีถ้าํ ซึ่งเปนท่ปี ระดิษฐานของพระพทุ ธรูปเปนทเ่ี คารพศรัทธาของ ประชาชนมีประกายรศั มบี งบอกถึงความวิเศษพืน้ ท่โี ดยรอบมคี วามอุดมสมบรู ณไปดว ยแหลงน้ําปา ไมแ ละ ทรพั ยากรธรรมชาติ ทตี งั และอาณาเขต อาํ เภอวังวเิ ศษตั้งอยูทางทศิ ตะวันตกเฉียงเหนอื ของจังหวดั มอี าณาเขตติดตอ กับอําเภอขา งเคยี ง ดงั นี้ ทศิ เหนอื   ติดตอกับอําเภอคลองทอม  อาํ เภอลาํ ทับ  (จงั หวดั กระบี)่ และอําเภอบางขนั   (จงั หวดั นครศรีธรรมราช) ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอกบั อาํ เภอหว ยยอด ทิศใต  ตดิ ตอกับอาํ เภอเมืองตรังและอําเภอสิเกา ทศิ ตะวันตก ติดตอ กบั อําเภอสเิ กา

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอวังวิเศษ การแบง่ เขตการปกครอง การปกครองสว นภมู ภิ าคอาํ เภอวังวิเศษแบง เขตการปกครองยอ ยออกเปน 5 ตาํ บล 68 หมูบ าน ไดแก 1.เขาวเิ ศษ(Khao Wiset) 21 หมูบา น 2.วงั มะปราง(Wang Maprang) 11 หมูบาน 3.อาวตง(Ao Tong) 15 หมูบา น 4.ทา สะบา (Tha Saba) 11 หมบู าน 5.วงั มะปรางเหนือ(Wang Maprang Nuea) 10 หมบู าน

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอนาโยง นาโยง เปนอาํ เภอหนง่ึ ของจังหวดั ตรงั  เมือ่ กอ นอําเภอนาโยงเปนท่นี าแปลงใหญ เรียกวา \"นา หลวง\" หรอื \"นาสามบ้งึ \" และไดต ้ังเปน  กิง่ อาํ เภอนาโยง เมอ่ื วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2533 ยกฐานะ เปนอําเภอเมอื่ วันท่ี 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 ประวตั ิ อําเภอนาโยงเดมิ ทมี ีทน่ี าแปลงใหญ เรยี กวา นาหลวงหรือนาสามบง้ิ   เชอื่ มหรอื โยงพื้นทสี่ วน ใหญของฝง ตะวันออกและฝงตะวนั ตกของคลองนางนอยเขา ดว ยกนั พ้นื ทส่ี ว นทีอ่ ยูฝ ง ตะวนั ออกของ คลองนางนอ ย เรยี กวา นาโยงเหนือ (ต.นาโยงเหนือ) สวนทอ่ี ยฝู ง ตะวันตกของคลองนางนอ ยเรียกวา นา โยงใต  (ต.นาโยงใต)ครัน้ พ.ศ.2531    ราษฎรชาวตาํ บลนาโยงเหนอื ไดเสนอความคดิ ท่ี จะตั้งกง่ิ อาํ เภอ นาโยง โดยรวมพ้นื ท่ี 6  ตาํ บลของอาํ เภอเมืองตรงั   ซึง่ กระทรวง มหาดไทยไดประกาศแบงทอ งท่อี าํ เภอ เมืองตรงั ต้งั เปน กงิ่ อาํ เภอนาโยง ตั้งแต วนั ท่ ี  1   เมษายน  2533 และไดมพี ระราชกฤษฏกี ายกฐานะ เปนอําเภอ     เมอื่ วันที ่ 4  พฤศจิกายน  2536 ทีตงั และอาณาเขต อาํ เภอนาโยงต้ังอยูท างทิศตะวันออกของจงั หวดั มีอาณาเขตตดิ ตอกับอําเภอขา งเคยี ง ดงั นี้ ทศิ เหนือ ตดิ ตอกับอําเภอเมืองตรงั ทศิ ตะวนั ออก ติดตอ กับอําเภอศรบี รรพตและอําเภอศรีนครินทร (จงั หวดั พทั ลุง) ทศิ ใต  ติดตอ กบั อาํ เภอยา นตาขาว ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอกับอําเภอเมอื งตรงั การแบ่งเขตการปกครอง การปกครองสว นภมู ิภาค อาํ เภอนาโยงแบง เขตการปกครองยอ ยออกเปน 6 ตําบล 53 หมูบา น ไดแ ก 1.นาโยงเหนือ(Na Yong Nuea) 7 หมบู าน 2.ชอง(Chong) 7 หมบู าน 3.ละมอ(Lamo) 10 หมบู าน 4.โคกสะบา (Khok Saba) 11 หมบู าน 5.นาหมื่นศรี(Na Muen Si) 8 หมูบาน 6.นาขาวเสีย(Na Khao Sia) 10 หมบู า น

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอรัษฎา ประวัติ เดมิ ทองทีอ่ ําเภอรัษฎาเปนสวนหนึง่ ของพื้นท่ใี นการปกครองของอําเภอหวยยอด ตอมากระทรวง มหาดไทยไดป ระกาศแบง เขตทอ งทีอ่ ําเภอหว ยยอด 5 ตําบล คือ ตําบลควนเมา ตําบลคลองปาง ตําบล หนองบวั ตําบลหนองปรือ และตาํ บลเขาไพร ต้ังเปนก่ิงอําเภอโดยเรยี กช่อื วา  กิง่ อาํ เภอรษั ฎา  ตง้ั แตวัน ที่  1 เมษายน  พ.ศ. 2534  และยกฐานะเปน  อาํ เภอรัษฎา  เม่ือวนั ที ่ 5 ธันวาคม  พ.ศ. 2539  ท้งั นี้ ชอ่ื \"รษั ฎา\" ต้ังขึน้ เพือ่ เปน สอ่ื รําลึกถงึ คุณงามความดีของพระยารษั ฎานุประดิษฐมหิศรภกั ดี (คอซมิ บ๊ี ณ ระนอง) อดีตเจา เมอื งตรังทไ่ี ดสรางความเจรญิ รงุ เรืองใหแ กจงั หวัดตรังเปน อยางยิ่ง ทตี งั และอาณาเขต อําเภอรัษฎาตงั้ อยูทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือของจังหวัด พนื้ ทสี่ วนใหญเปนพ้นื ที่ราบสูงปาทิวเขาบรรทัด ทางทศิ ตะวนั ออก และทีร่ าบมาทางทิศตะวันตกจดคลองปาง ประชากรสว นใหญม อี าชพี ทําสวนยางพารา สวนผลไม ผลไมทีม่ ชี ือ่ ไดแ ก ฝรงั่ แปน สีทอง ชมพูทลู เกลา ชมพทู ับทมิ จนั ทร ลางสาด และลองกอง อําเภอ รษั ฎามอี าณาเขตติดตอกบั พน้ื ท่ีอืน่ ดงั น้ี ทศิ เหนือ ตดิ ตอ กบั ตําบลกะปางและตําบลน้ําตก อาํ เภอทุง สง (จงั หวัดนครศรธี รรมราช) ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ กบั ตาํ บลนํ้าตก อําเภอทงุ สง (จงั หวดั นครศรีธรรมราช) และทิวเขาบรรทดั ทศิ ใต ตดิ ตอ กบั ตาํ บลในเตา ตาํ บลทางิ้ว และตาํ บลหวยนาง อําเภอหวยยอด ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ กับตาํ บลวงั หิน อาํ เภอบางขนั  (จงั หวัดนครศรีธรรมราช) การแบง่ เขตการปกครอง การปกครองสวนภูมภิ าคอาํ เภอรัษฎาแบงพื้นที่การปกครองออกเปน 5 ตําบล 50 หมบู า น ไดแ ก 1.ควนเมา  (Khuan Mao)  15 หมบู า น  2.คลองปาง  (Khlong Pang)  9 หมูบา น  3.หนองบัว  (Nong Bua)  9 หมูบา น  4.หนองปรือ  (Nong Prue)  12 หมูบา น  5.เขาไพร  (Khao Phrai)  5 หมบู าน

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอรัษฎา ประชากรและอาชีพ ประชากรและอาชพี อําเภอรษั ฎามีประชากรรวมทง้ั สน้ิ 26,614 คน ชาย 13,232 คน หญิง 13,382 คน ครัวเรือนจํานวน 7,949 ครวั เรือนการประกอบอาชีพของประชากร สว นใหญม อี าชีพ ทาํ สวนยางพารา สวนผลไม ผลไมทีม่ ีชื่อ ไดแ ก ฝรงั่ แปนสที อง ชมพูท ลู เกลา ชมพทู ับทมิ จันทร ลางสาด และลองกอง การคมนาคม ทางสายหลกั ไดแ ก ทางหลวงแผน ดนิ หมายเลข 403 (ตรัง-ทุงสง) จากจังหวดั ตรังถงึ อําเภอรษั ฎา ระยะทางประมาณ 58 กโิ ลเมตร เปน ถนนลาดยาง 4 ชองทางจราจร ถนนเพชรเกษม จากจังหวดั ตรัง ผา นอําเภอหวยยอด เลี้ยวเขา สูทางหลวงแผน ดินหมายเลข 403 ถงึ อาํ เภอรษั ฎา ระยะทางประมาณ 50 กโิ ลเมตร เปนถนนลาดยาง 2 ชองทางจราจร

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอหาดสาํ ราญ ประวัติ ตําบลหาดสําราญเดมิ เปน ตําบลหน่ึงขึน้ อยูกบั อาํ เภอปะเหลียน ตอ มาในป 2537 ไดแยกการ ปกครองมาเปน 1 ใน 3 ตาํ บลของกงิ่ อําเภอหาดสาํ ราญ ประชากรสวนใหญพดู ภาษาไทยปกษใ ต นบั ถือ ศาสนาพุทธประมาณ 80 % แบง เขตการปกครองเปน 10 หมูบาน ไดแ ก หมู 1 บา นปากปรนตก หมู 2 บา นปากปรนออก หมู 3 บานหนองสมาน หมู 4 บานบกหัก หมู 5 บา นแหลมปอ หมู 6 บานโคกวา หมู 7 บา นทา โตบ หมู 8 บานโคกออก หมู 9 บา นควนลอน หมู 10 บานโคกคา ย พนื ที พ้นื ที่สวนใหญเ ปนทรี่ าบลกู คลื่นรมิ ฝง ทะเล ลกั ษณะดนิ เปนดนิ ลกึ เนือ้ ดนิ ปานกลางจนถงึ ดนิ ทรายจดั มีปา ชายเลน มเี นอื้ ทท่ี ะงหมดประมาณ 76 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 47,500 ไร ทตี งั และอาณาเขต อาํ เภอหาดสาํ ราญตั้งอยูท างทิศใตของจงั หวัด มอี าณาเขตติดตอกับเขตการปกครองขา งเคยี งดงั ตอ ไปนี้ ทศิ เหนือ ติดตอกบั อําเภอกันตังและอาํ เภอปะเหลยี น ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอกับอาํ เภอปะเหลียน ทศิ ใต  ติดตอ กับทะเลอนั ดามนั ทิศตะวนั ตก ติดตอกบั ทะเลอนั ดามัน การแบ่งเขตการปกครอง การปกครองสว นภูมภิ าค อําเภอหาดสาํ ราญแบงเขตการปกครองยอ ยออกเปน 3 ตําบล 22 หมบู า น ไดแ ก 1.หาดสาํ ราญ(Hat Samran) 12 หมูบ าน 2.บา หวี(Ba Wi) 4 หมูบา น 3.ตะเสะ(Tase) 6 หมูบาน

ห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อําเภอหาดสาํ ราญ อาชีพ อาชีพหลัก ทาํ สวนอาชีพเสรมิ ทาํ ประมงชายฝง, เพาะเล้ียงสตั วน ํ้าทะเล การเดนิ ทาง จากตวั จงั หวดั เดินทางไปตามเสน ทางหลวงหมายเลข 404 สายตรงั - ปะเหลียน ผา นอําเภอยา นตาขาว ถึงสี่แยกบานนา อาํ เภอปะเหลยี นประมาณ 30 กม. เล้ยี วขวาแยกเขา มาทางหลวงหมายเลข 4235 สาย บา นนา - หาดสําราญประมาณ 22 กม. ผลติ ภณั ฑ์ อาหารทะเลแปรรูป

หอ้ห้งอสงสมมุดุดปปรระะชชาาชชนน \"\"เเฉฉลลิมิมรราาชชกกุมมุ าราี\"ร\"อี ําอเภําเอภหอ้วหยว้ยยอดยอจัดงหจวงััดหตวรัดงั ตรงั TRANG 10 อาํ เภอใน ตรัง จงั หวัดตรัง เมือง DISTRICTS IN TRANG เเหง่ ความสขุ PROVINCE