สมเด็จพระอินทรชา(เจา้ นครอิทร)์ สมยั อยุธยา
พระราชประวตั ิ สมเด็จพระอินทราชา หรือ เจา้ นครอินทร์ เป็นพระราชโอรสในเจา้ เมืองสุพรรณบุรี และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จ พระบรมราชาธิราชท่ี 1 พระองคไ์ ดค้ รองราชยก์ ินเมือง ณ เมืองสุพรรณบุรี มีหลกั ฐานตามตานานและจารึกกลา่ ววา่ กอ่ นจะไดค้ รองเมืองสุพรรณบุรี เคยเสด็จไปครองเมืองเหนือ คือเมืองกาแพงเพชร นอกจากนั้น เจา้ นครอินทรย์ งั ไดร้ ่วม ตรากฎหมายสลกั ไวบ้ นแผน่ ศิลา แลว้ ปักไวท้ ่ีเมืองสุโขทยั จนกระทง่ั สมเด็จพระรามราชาธิราช เกิดขอ้ พิพาทกบั เจา้ พระยามหาเสนาบดี เป็นเหตุใหเ้ จา้ พระยามหาเสนาบดีหนีมาข้ึนกบั พระองคแ์ ละยกกาลงั เขา้ ยึดกรุงศรีอยธุ ยาได้ แลว้ จึงทูลเชิญพระองคข์ ้ึนครองราชสมบตั ิแหง่ กรุงศรีฯ สว่ นสมเด็จพระรามราชาธิราชน้ัน เจา้ นครอินทรไ์ ดใ้ หไ้ ปครอง เมืองปทาคูจามแทน สมเด็จพระอินทราชา (เจา้ นครอินทร)์ ครองราชยไ์ ด้ 15 ปี และเสด็จสวรรคตเม่ือปี พ.ศ.1967 ใน ครัง้ นน้ั เจา้ อา้ ยพระยา และเจา้ ย่ีพระยา พระราชโอรสของพระองคต์ า่ งยกพลเขา้ มายงั กรุงศรีฯ เพ่ือหมายในราชสมบตั ิ จึงเกิดการชนชา้ งกนั ข้ึน ณ สะพานป่าถา่ น จนส้ินพระชนมท์ ง้ั สองพระองค์ เป็นเหตุใหเ้ จา้ สาม พระยาพระราชโอรสองคท์ ่ี 3 ไดข้ ้ึนครองกรุงศรีอยธุ ยา โดยมีพระนามวา่ สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี 2.
อาณาจกั รอยุธยา
บทบาทในการพฒั นาชาติไทยของ สมเด็จพระอินทราชา(เจา้ นครอินทร์)
ดา้ นการปกครอง เม่ือปี พ.ศ.1962 พระมหาธรรมราชาธิราช (ท่ี 3) เสด็จสวรรคต เมืองเหนือทงั้ ปวงเป็น จลาจลอนั เน่ืองมาจากพระยาบาลเมืองและพระยาราม พระราชโอรสในพระมหาธรรมราชา ท่ี 3 แยง่ ชิงราชสมบตั ิแหง่ กรุงสุโขทยั กนั เป็นเหตุใหพ้ ระองคต์ อ้ งเสด็จข้ึนไปถึงเมืองพระ บาง แลว้ ทรงไกลเ่ กล่ียใหพ้ ระยาบาลเมือง เป็นพระมหากษตั ริยแ์ หง่ กรุงสุโขทยั ครองเมือง พิษณุโลกอนั เป็นเมืองหลวงและใหพ้ ระยารามเป็นเจา้ เมืองสุโขทยั อนั เป็นเมืองเอก. นอกจากน้ี เจา้ นครอินทร์ไดโ้ ปรดฯ ใหโ้ อรสไปครองเมืองอนั เป็นเมืองลูกหลวง ไดแ้ ก่ -เจา้ อา้ ยพระยา ครองเมืองสุพรรณบุรี ซ่ึงเป็นเมืองลูกหลวง -เจา้ ย่ีพระยา ครองเมืองแพรกศรีราชา (เมืองสรรค)์ (บริเวณอาเภอสรรคบุรี จงั หวดั ชยั นาท) -เจา้ สามพระยา ครองเมืองชยั นาท ซ่ึงเป็นเมืองหนา้ ดา่ นทางดา้ นเหนือ
ดา้ นการตา่ งประเทศ เจา้ นครอินทร์เคยเสด็จไปเมืองหนานจิง ประเทศจีนสองคร้งั ใน พ.ศ. 1914 และ 1920 เม่ือครั้งยงั เป็นรชั ทายาทแหง่ เมืองสุพรรณบุรี ตรงกบั รัชกาลจกั รพรรดิหงอแู่ หง่ ราชวงศห์ มิง จกั รพรรดิเจ้ียนเหวินแหง่ ราชวงศห์ มิงใหค้ วามสนิทสนม อีกทงั้ ยงั ยกยอ่ งวา่ เป็นกษตั ริยเ์ พียง พระองคเ์ ดียวท่ีเคยเสด็จไปถึงราชสานักจีน โดยจดหมายเหตุทางจีนออกพระนามพระองคว์ า่ \"เจียวลกควนอิน\" ซ่ึงมาจากพระนาม เจา้ นครอินทร์ เม่ือสมเด็จพระเจา้ รามราชาเกิดขอ้ พิพาทกบั เจา้ พระยามหาเสนาบดี เป็นเหตุใหเ้ จา้ พระยา มหาเสนาบดีหนีมาข้ึนกบั พระองคแ์ ละยกกาลงั เขา้ ยึดกรุงศรีอยุธยาได้ แลว้ จึงทูลเชิญ พระองคข์ ้ึนครองราชสมบตั ิแหง่ กรุงศรีอยุธยา หลงั จากนน้ั พระองคแ์ ละพระเจา้ กรุงจีนได้ แตง่ ราชทูตเพ่ือเจริญทางพระราชไมตรีระหวา่ งกนั อีกหลายครัง้ โดยจดหมายเหตุจีนออกพระ นามพระองคห์ ลงั ข้ึนครองราชสมบตั ิแลว้ วา่ \"เจียวลกควนอินตอลอ่ ทีลา่ \" ซ่ึงมาจากพระนาม เจา้ นครอินทราธิราช
แบบอยา่ งความดีสูก่ ารปฎิบตั ิตน
ดา้ นการปกครอง เป็นการปกครองและดูแลบา้ นเมืองใหส้ งบสุข การนาไปสูก่ ารปฎิบตั ิตน 1.มีความสามารถและขยนั อดทน 2.การนาทางผูอ้ ่ืนไปในทางท่ีดี
ดา้ นศิลปกรรม เก็บอนุรกั ษไ์ วใ้ หร้ ุ่นตอ่ ไปไดส้ ืบทอดและสามารถเก็บเป็นมรดกได้ การนาไปสูก่ ารปฎิบตั ิตน 1.มีความรูใ้ นดา้ นศิลปะมากข้ึน 2.กลา้ ท่ีจะทาและกลา้ ท่ีจะลงมือทาในดา้ นน้ีมากข้ึน
ดา้ นการรับผิดชอบ พระองคท์ รงมีความรับผิดชอบตอ่ ในหนา้ ท่ีการงาน การนาไปสูก่ ารปฎิบตั ิตน 1เสริมสรา้ งคุณลกั ษณะของการเป็นผูน้ าท่ีดี 2.ยอมรับและฟงั ความคิดเห็นผูอ้ ่ืน
จดั ทาโดย นางสาว ศศิธร จนั ทรส์ ุภา เลขท่ี 16 นางสาว สุพิชญา กาเนิดชาติ เลขท่ี 21 นางสาว ธิดารตั น์ ไวยนิยา เลขท่ี 36 นางสาว พชั ราพร รตั นว์ งศ์ เลขท่ี 40 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5/3 เสนอ อาจารย์ พิกุล มีใจเจือ โรงเรียนภาชี “สุนทรวิทยานุกูล”
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: