ประเภทเครือขา่ ย1.แบ่งตามลกั ษณะทางกายภาพ คือ PAN คือเทคโนโลยีการเข้าถึงไร้สายในพื้นท่ีเฉพาะส่วนบุคคล โดยมีระยะทางไม่เกิน 1เมตร และมีอัตราการรับส่งข้อมูลความเร็วสูงมาก (สูงถึง 480 Mbps) ซ่ึงเทคโนโลยีที่ใช้กันแพร หลาย ก็เช่น Ultra Wide band (UWB) ตามมาตรฐาน IEEE802.15.3a• Bluetooth ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.1• Zigbee ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.4 เทคโนโลยีเหล่านี้ใช้สาหรับการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์ต่อพ่วง (peripherals) ให้สามารถรับส่งข้อมูลถึงกันได้ และยังใช้สาหรับการรับส่งสญั ญาณวิดีโอทีม่ คี วามละเอียดภาพสูง (high-definition video signal) ได้ด้วยPersonal Area Network (PAN)ช่วยให้เราสามารถจัดการขอ้ มูลระหว่างอุปกรณต์ า่ งๆที่เคลื่อนทไ่ี ปมาได้
LAN เป็นระบบเครือข่ายท่ีใช้งานอยู่ในบริเวณท่ีไม่กว้างนักอาจใช้อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรืออาคารท่ีอยู่ใกล้กัน เช่นภายในมหาวิทยาลัย อาคารสานักงาน คลังสินค้า หรือโรงงาน เป็นต้น การส่งข้อมูลสามารถทาได้ด้วยความเร็วสูงและมีข้อผิดพลาดนอ้ ยระบบเครอื ขา่ ยระดับท้องถิ่นจึงถูกออกแบบมาให้ช่วยลดต้นทุนและเพอื่ เพิ่มประสิทธิภาพในการทางานและใช้งานอปุ กรณ์ต่างๆรว่ มกัน MAN เป็นระบบเครือข่ายท่ีมีขนาดอยู่ระหว่าง Lan และ Wan เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้ภายในเมืองหรือจังหวัดเท่าน้ันการเช่ือมโยงจะต้องอาศัยระบบบริการเครือข่ายสาธารณะ จงึ เป็นเครือข่ายท่ีใช้กับองค์การที่มีสาขาหา่ งไกลและต้องการเช่ือมสาขาเหล่าน้ันเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร เครือข่ายแวนเช่ือมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการสื่อสารไม่สูงเน่ืองจากมีสัญญาณรบกวนในสายเทคโนโลยีท่ีใช้กับเครือข่ายแวนมีความหลากหลายมีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนาแสงคล่ืนไมโครเวฟ คล่ืนวิทยุ สายเคเบิล
WAN เป็นระบบเครือข่ายที่ติดต้ังใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง เช่น ระบบเครือข่ายท่ีติดต้ังใช้งานท่ัวโลก เป็นเครือข่ายท่ีเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ท่ีอยู่ห่างไกลกันเข้าด้วยกัน อาจจะต้องเป็นการติดต่อสื่อสารกันในระดับประเทศข้ามทวีปหรือท่ัวโลกก็ได้ในการเช่ือมการติดต่อน้ันจะต้องมีการต่อเข้ากับระบบสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรือการสื่อสารแหง่ ประเทศไทยเสียก่อนเพราะจะเป็นการส่งขอ้ มูลผา่ นสายโทรศัพท์ในการติดต่อส่ือสารกันโดยปกติมีอตั ราการส่งข้อมูลที่ต่าและมีโอกาสเกิดข้อผิดพลาดการสง่ ข้อมลู อาจใช้อุปกรณ์ในการสื่อสาร เชน่ โมเด็ม (Modem) มาช่วย
2. แบง่ ตามหน้าที่ของคอมพิวเตอร์ Peer-to-Peer เป็นการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน โดยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่อง จะสามารถแบ่งทรัพยากรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นไฟล์หรือเครื่องพิมพ์ซ่ึงกันและกันภายในเครือข่ายได้ เคร่ืองแต่ละเคร่ืองจะทางานในลักษณะที่ทัดเทียมกัน ไม่มีเครื่องใดเครื่องเครื่องหน่ึงเป็นเคร่ืองหลักเหมือนแบบ Client/Server แต่ก็ยังคงคุณสมบัติพื้นฐานของระบบเครือข่ายไว้เหมอื นเดมิ การเช่ือมตอ่ แบบนี้มักทาในระบบท่ีมีขนาดเล็กๆ เชน่ หนว่ ยงานขนาดเลก็ ท่มี เี ครอ่ื งใช้ไมเ่ กนิ 10 เครือ่ ง การเชื่อมต่อแบบนี้มีจุดอ่อนในเร่ืองของระบบรักษาความปลอดภัย แต่ถ้าเป็นเครือข่ายขนาดเล็ก และเป็นงานที่ไม่มีข้อมูลที่เป็นความลับมากนักเครือขา่ ยแบบน้ี ก็เป็นรูปแบบทน่ี ่าเลอื กนามาใชไ้ ด้เป็นอย่างดี Client-Server เป็นระบบท่ีมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องมีฐานะการทางานท่ีเหมือน กันเท่าเทียมกันภายในระบบเครือขา่ ยแต่จะมเี คร่อื งคอมพิวเตอรเ์ ครือ่ งหนึ่งทที่ าหนา้ ท่เี ปน็ เครอ่ื ง Server ทท่ี าหนา้ ทีใ่ ห้บรกิ ารทรัพยากรต่างๆให้กับเคร่ือง Clientหรือเครื่องท่ีขอใช้บริการซึ่งอาจจะต้องเป็นเคร่ืองท่ีมีประสิทธิภาพท่ีค่อนข้างสูง ถึงจะทาใหก้ ารให้บริการมีประสิทธิภาพตามไปด้วยขอ้ ดีของระบบเครอื ขา่ ย Client–Server เป็นระบบท่ีมีการรกั ษาความปลอดภัยสูงกว่าระบบแบบ PeerToPeer เพราะว่าการจัดการในด้านรกั ษาความปลอดภัยนั้นจะทากันบนเครื่อง Serverเพยี งเครื่องเดียวทาให้ดูแลรักษาง่ายและสะดวกมีการกาหนดสิทธิการเข้าใชท้ รัพยากรต่างๆใหก้ ับเครือ่ งผขู้ อใชบ้ รกิ ารหรอื เครื่องClient
3. แบง่ ตามระดบั ความปลอดภยั ของขอ้ มูลเป็นเกณฑ์ Intranet ระบบการรักษาความปลอดภยั เปน็ สง่ิ ทแ่ี ยกอินทราเน็ตออกจากอินเทอรเ์ น็ตเครือข่ายอนิ ทราเน็ตขององค์กรจะถูกปกป้องโดยไฟล์วอลล์ (Firewall) ซึ่งอาจจะเป็นได้ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ท่ีทาหน้าท่ีกรองข้อมูลท่ีแลกเปลี่ยนกันระหว่างอินทราเน็ตและอินเทอร์เน็ตเม่ือท้ังสองระบบมีการเช่ือมต่อกันดังน้ันองค์กรสามารถกาหนดนโยบายเพ่ือควบคุมการเข้าใช้งานอนิ ทราเน็ตได้อินทราเน็ตสามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ในองค์กรได้หลายอย่าง ความง่ายในการตีพิมพบ์ นเว็บทาให้เป็นที่นิยมในการประกาศข่าวสารขององค์กร เช่น ข่าวภายในองค์กรกฎ ระเบียบ และมาตรฐาน การปฏิบัติงานต่าง ๆ เป็นต้น หรือแม้กระท่ังการเข้าถงึ ฐานขอ้ มูลขององค์กรกง็ ่ายเชน่ กนั ผใู้ ช้สามารถทางานร่วมกนั ได้งา่ ยและมีประสิทธิภาพมากขึ้น Internet ความปลอดภัยของขอ้ มูล เนื่องจากทุกคนสามารถเข้าถงึ ข้อมลู ทุกอยา่ งท่ีแลกเปลี่ยนผ่านอินเทอร์เน็ตได้อินเทอร์เน็ตใชโ้ ปรโตคอลที่เรียกว่า “TCP/IP (Transport Connection Protocol/Internet Protocol)” ในการส่ือสารข้อมูลผ่านเครือข่าย ซ่ึงโปรโตคอลน้ีเป็นผลจากโครงการหน่ึงของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ โครงการนี้มีชื่อว่าARPANET (Advanced Research Projects Agency Network) ในปี ค.ศ.1975 จุดประสงค์ของโครงการน้ีเพื่อเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลกัน และภายหลังจึงได้กาหนดให้เป็นโปรโตคอลมาตรฐานในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตได้กลายเป็นเครือขา่ ยสาธารณะ ซงึ่ ไม่มผี ใู้ ดหรือองคก์ รใดองคก์ รหนึง่ เปน็ เจา้ ของอย่างแท้จริง การเชอ่ื มต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ตต้องเชอ่ื มต่อผ่านองค์กรท่ีเรียกว่า “ISP (Internet Service Provider)” ซึ่งจะทาหน้าท่ีให้บริการในการเชอื่ มต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต นั่นคือ ข้อมูลทกุ อย่างทีส่ ่งผ่านเครือข่าย ทุกคนสามารถดูได้ นอกเสียจากจะมีการเข้ารหัสลับซง่ึ ผู้ใชต้ อ้ งทาเอง
Extranet เอ็กส์ทราเน็ต (Extranet) เป็นเครือข่ายก่ึงอินเทอร์เน็ตก่ึงอินทราเน็ต กล่าวคือ เอ็กส์ทราเน็ตคือเครือข่ายที่เช่อื มต่อระหวา่ งอนิ ทราเนต็ ของสององค์กร ดังนน้ั จะมีบางส่วนของเครือข่ายท่ีเป็นเจา้ ของร่วมกันระหว่างสององค์กรหรือบริษัท การสร้างอินทราเน็ตจะไม่จากัดด้วยเทคโนโลยี แต่จะยากตรงนโยบายที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลท่ีท้ังสององค์กรจะต้องตกลงกนั เช่น องคก์ รหนึง่ อาจจะอนุญาตให้ผู้ใชข้ องอีกองค์กรหนึ่งล็อกอินเข้าระบบอินทราเน็ตของตัวเองหรือไม่ เป็นต้น การสรา้ งเอ็กส์ทราเนต็ จะเน้นทร่ี ะบบการรักษาความปลอดภัยข้อมูล รวมถึงการติดตั้งไฟล์วอลล์หรือระหว่างอนิ ทราเน็ตและการเข้ารหัสขอ้ มูลและสงิ่ ทีส่ าคญั ทส่ี ุดก็คอื นโยบายการรักษาความปลอดภัยขอ้ มูลและการบงั คับใช้
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: