Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1

Published by 6032040006, 2018-08-27 00:46:12

Description: แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1

Search

Read the Text Version

1.การส่ือสารข้อมลู (Data Communication) หมายถงึ อะไรตอบ กระบวนการถา่ ยโอนหรือแลกเปล่ียนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางส่ือสาร เช่น อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอรเ์ ป็นตวั กลางในการสง่ ขอ้ มูล เพ่ือให้ผู้ส่งและผรู้ ับเกิดความเขา้ ใจซง่ึ กนั และกัน2.การส่อื สารทางไกล (Telecommunication) หมายถงึ อะไรตอบ การติดต่อสื่อสารด้วยการรับส่งข้อมูลข่าวสารระหว่างตัวประมวลผล โดยผ่านสื่อกลางที่เชื่อมต้นทางและปลายทางที่ห่างกันโดยใชอ้ ุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกสห์ ลายรปู แบบ ตามกฎเกณฑ์ หรือระเบยี บวิธีการทีก่ าหนดขนึ้ ในแต่ละอุปกรณ์3.ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (Computer Network) หมายถึงอะไรตอบ ระบบท่ีมีคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเครื่องเชื่อมต่อกันโดยใช้ส่ือกลาง และสามารถสื่อสารข้อมูลกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งทาให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์แต่ละเคร่ืองสามารถแลกเปล่ียนข้อมูลซ่ึงกันและกันได้ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในเครือข่ายร่วมกันได้ เช่น เคร่ืองพิมพ์ สแกนเนอร์ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น การใช้ทรัพยากรเหล่านี้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก เม่ือมีการเช่ือมต่อกับเครอื ข่ายอ่ืนๆ ที่อยู่ห่างไกล เช่น ระบบอินเตอร์เน็ต ซ่ึงเป็นเครือข่ายท่ีเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ทวั่ โลก ก็ทาให้สามารถแลกเปลีย่ นขอ้ มูล ข่าวสาร ไดก้ ับคนทวั่ โลก โดยใช้แอพพลิเคชน่ั เชน่ เวบ็ อีเมลล์ เป็นตน้

4.ส่วนประกอบของระบบสอื่ สารข้อมลู ประกอบด้วยอะไรบ้างตอบ 1. ผูส้ ง่ (Sender) 2. ผู้รบั (Receiver) 3. ส่อื กลาง (Medium) หรอื ตัวกลาง 4. ขอ้ มูลข่าวสาร (Message) โดยแบง่ เปน็ 5รูปแบบ ดงั น้ี 4.1 ข้อความ (Text) 4.2 ตัวเลข (Number) 4.3 รปู ภาพ (Images) 4.4 เสยี ง (Audio) 4.5 วดิ โี อ (Video) 5. โปรโตคอล (Protocol)

5.ประโยชน์ของระบบเครอื ขา่ ยมอี ะไรบ้างตอบ 1. สามารถแชร์ข้อมูลใช้ร่วมกันได้ ข้อมูลต่างๆในแต่ละเคร่ืองภายในระบบ หากมีผู้อ่นื ต้องการใช้ คุณสามารถแชร์ใหผ้ ู้อ่ืนนาไปใชไ้ ด้ หรอื ขอ้ มลู ทเี่ ป็นสว่ นรวมก็สามารถแชรไ์ วเ้ พอื่ ใหห้ ลายๆฝ่ายนาไปใช้งานได้ ซ่ึงก็จะช่วยทาให้ประหยัดเนื้อท่ีในการจัดเก็บและชว่ ยให้การปรบั ปรุงข้อมลู ในระบบงา่ ยข้นึ และไม่เกิดความขดั แย้งของข้อมูลด้วย เพราะข้อมลู มอี ยู่ชุดเดยี ว 2. สามารถแชร์อุปกรณ์ต่างๆร่วมกันได้ เช่น เคร่ืองพิมพ์ สแกนเนอร์ ซิปไดร์ฟ เป็นต้น โดยท่ีไม่จาเป็นต้องซ้ืออุปกรณ์เหลา่ นั้นมาติดต้ังกับทุกๆเคร่ือง เช่นในบ้านคุณมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทั้งหมด 4 เคร่ือง อาจจะซ้ือเคร่ืองพมิ พ์มาเพยี งตัวเดียวและแชร์เคร่ืองพมิ พน์ ้นั เพอ่ื ใช้รว่ มกนั ได้ 3. สามารถใชโ้ ปรแกรมรว่ มกนั หลายๆเคร่ืองได้ เช่น ในหอ้ ง LAB คอมพวิ เตอร์ท่ีมีจานวน คอมพวิ เตอร์ท่ีมีจานวนเคร่ืองในระบบจานวน 30 เคร่ือง คุณสามารถซื้อโปรแกรมเพียงแค่ 1 ชุดและสามารถใช้งานร่วมกันได้ ซ่ึงจะทาให้สะดวกในการดูแลรักษาด้วย 4. การส่ือสารในระบบเครือข่ายผใู้ ชส้ ามารถเชอ่ื มกบั เครือ่ งอน่ื ๆในระบบได้ เช่น อาจจะส่งข้อความจากเคร่ืองของคุณไปยังเครื่องของคนอนื่ ๆได้ นอกจากนี้คุณยังสามารถใช้ E-Mail ส่งข้อความข่าวสารต่างๆภายในสานักงานได้อีก เช่น แจ้งกาหนดการต่างๆแจ้งขอ้ มลู ต่างๆให้ทุกๆคนทราบ โดยไมต่ ้องพิมพ์ออกทางเครอื่ งพิมพเ์ พื่อแจกจ่าย ทาให้ประหยัดคา่ ใช้จ่ายไดอ้ ีกทางหน่ึง

5. การแชร์อินเทอร์เน็ต ภายในระบบเครอื ข่ายคณุ สามารถแชร์อินเตอรเ์ นต็ เพ่อื ใชร้ ่วมกนั ได้ โดยท่ีคุณไม่จาเปน็ ต้องซอ้ืInternet Account สาหรบั ทกุ ๆเครื่องและไมจ่ าเป็นตอ้ งตดิ ตั้งโมเด็มทกุ เครอื่ ง ซง่ึ ก็จะชว่ ยให้คุณประหยัดค่าใช้จา่ ยไดม้ าก 6. เพื่อการเรยี นรู้ การท่คี ณุ ได้ทดลองใชง้ านระบบเครอื ขา่ ยจะทาให้คณุ สามารถเรียนรแู้ ละคนุ้ เคยกับระบบเครือขา่ ยมากข้นึ ทาใหค้ ุณมีประสบการณ์ในระบบเครอื ขา่ ยมากข้นึ และจะทาใหค้ ณุ รูส้ ึกวา่ มนั ไมใ่ ช่เรื่องยากเลย6. การสื่อสารข้อมลู มกี ชี่ นดิ อะไรบา้ งแต่ละชนดิ แตกตา่ งกนั อยา่ งไร?ตอบ จาแนกทสี่ าคญั 3 ประการ คือ 1. จาแนกตามกระบวนการหรือการไหลของขา่ วสาร 2. จาแนกตามภาษาสญั ลกั ษณ์ทแ่ี สดงออก 3. จาแนกตามจานวนผ้สู อื่ สาร1.จาแนกตามกระบวนการหรือการไหลของขา่ วสาร แบง่ เปน็ 2 ประเภทคือ

1.1 การสื่อสารทางเดียว (One-Way Communication) คือการ ส่อื สารที่ข่าวสารจะถกู สง่ จากผู้สง่ ไปยงั ผรู้ ับในทิศทางเดยี ว โดยไมม่ ีการตอบโตก้ ลบั จากฝ่ายผ้รู ับ เชน่ การสื่อสารผ่านสอื่วิทยุ โทรทศั น์ หนังสอื พมิ พ์ การออกคาสง่ั หรือมอบหมายงานโดย ฝ่ายผรู้ ับไม่มโี อกาสแสดงความคดิ เหน็ ซ่ึงผรู้ บั อาจไมเ่ ข้าใจข่าวสารหรอื เขา้ ใจไม่ถูกตอ้ งตามเจตนาของผู้สง่ และทางฝ่ายผู้ส่งเมื่อไมท่ ราบปฏกิ ริ ยิ าของผ้รู ับจึงไม่อาจปรับการสอ่ื สารให้เหมาะสมได้ การสือ่ สารแบบนสี้ ามารถทาได้รวดเรว็ จงึ เหมาะสาหรับการส่ือสารในเร่ืองทีเ่ ข้าใจง่าย1.2 การสือ่ สารสองทาง (Two-way Communication) คือ การส่อื สารทีม่ ีการสง่ ข่าวสารตอบกลับไปมาระหว่างผู้ส่อื สาร ดงั นัน้ ผู้ส่อื สารแต่ละฝา่ ยจึงเป็นท้ังผู้สง่ และผรู้ บั ในขณะเดียวกนั ผ้สู ือ่ สารมีโอกาสทราบปฏิกริ ยิ าตอบสนองระหว่างกนั ทาใหท้ ราบผลของการสอื่ สารวา่ บรรลจุ ดุ ประสงคห์ รอื ไม่ และช่วยใหส้ ามารถปรบั พฤตกิ รรมในการสอ่ื สารให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ ตัวอย่างการส่อื สารแบบสองทาง เช่น การพบปะพดู คุยกันการพดู โทรศัพท์ การออกคาสงั่ หรือมอบหมายงานโดยฝ่ายรบั มโี อกาสแสดงความคิดเหน็ การสือ่ สารแบบนีจ้ งึ มโี อกาสประสบผลสาเรจ็ ได้มากกวา่ แต่ถา้ เรอ่ื งราวที่จะสอ่ื สารเปน็ เรื่องงา่ ย อาจทาใหเ้ สยี เวลาโดยไมจ่ าเป็น2. จาแนกตามภาษาสญั ลักษณท์ ่แี สดงออก แบ่งเปน็ 2.1 การส่อื สารเชิงวัจนะ (Verbal Communication) หมายถึงการสื่อสารด้วยการใช้ภาษาพดู หรือเขียนเปน็ คาพูด ในการสื่อสาร

2.2 การสื่อสารเชิงอวัจนะ (Non-VerbalCommunication) หมายถึงการสือ่ สารโดยใชร้ หัสสัญญาณอย่างอ่นื เช่น ภาษาท่าทางการแสดงออกทางใบหนา้ สายตา ตลอดจนถึงนา้ เสียง ระดบั เสียง ความเรว็ ในการพูด เป็นตน้3. จาแนกตามจานวนผ้สู อื่ สารกิจกรรมตา่ งๆ ของบุคคลและสงั คม ถอื วา่ เป็นผลมาจากการสื่อสารทั้งส้ิน ดังนนั้ การส่อื สารจงึ มขี อบขา่ ยครอบคลมุ ลักษณะการสื่อสารของมนษุ ย์ 3 ลกั ษณะคอื 3.1 การสอื่ สารส่วนบุคคล (Intrapersonal Communication) 3.2 การสอ่ื สารระหว่างบุคคล (Interpersonal Communication) 3.3 การส่ือสารมวลชน (Mass Communication)7. สัญญาณมีกีป่ ระเภทอะไรบ้าง?ตอบ ข้อมูลอาจจะเปน็ ข้อความ เสยี ง หรอื ภาพเคล่อื นไหว ซงึ่ ไมส่ ามารถส่งไปในระยะทางไกลดว้ ยความเรว็ สูง ดังนั้นขอ้ มูลจะต้องถกูแปลงเปน็ สัญญาไฟฟ้าท่ีเรียกวา่ สัญญาณขอ้ มลู (data signal) ทาใหส้ ามารถสง่ ผ่านสอื่ ไปได้ในระยะทางไกลดว้ ยความเร็วสงู ขอ้ มูลจะถกู แปลงเปน็ สัญญาณข้อมลู ได้ 2 ประเภท ดงั น้ี

1.สญั ญาณแอนะล็อก สัญญาณแอนะล็อก (analog signal) สามารถเขียนแทนได้ด้วยรูปกราฟคลื่อนไซน์ (sine wave) ลักษณะเป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง อธิบายรูปกราฟคลื่นไซต์ด้วยค่าความถี่ และระดับความเข้มของสัญญาณค่าความถ่ี คือ จานวนรอบของเคลื่อนท่ีเคลื่อนท่ีใน 1 วินาที หรือในเวลา 1 วินาที คล่ืนเคลื่อนท่ีได้ก่ีรอบน่ันเอง เช่น สถานีวิทยุ hotwave กระจายเสียงท่ีความถ่ี 91.5เมกะเฮิรตซ์ (MHz) หมายความว่า เสียงดีเจจากคล่ืนวิทยุ hotwave จะถูกแปลงเป็นสัญญาณแอนะล็อก โดยใน 1 วินาที สามารถผลติ คลื่นให้มีสัญญาณ 91.5 ล้านรอบ ถ้าผ้รู ับตอ้ งการรับฟังเพลงจากสถานีวิทยุ hatwave ก็ต้องหมุนเคร่ืองรับวิทยุให้ตรงกับความถี่ท่สี ถานีส่งออกมาน่ันเอง ข้อเสียของสัญญาณแบบแอนะล็อก คือ สัญญาณถูกรบกวนได้ง่าย ทาให้เกิดข้อผิดพลาดในการรับส่งข้อมูลเมือ่ ต้องส่งขอ้ มลู ออกไปในระยะทางไกลระดบั ของสัญญาณจะออ่ นลง และมสี ัญญาณรบกวน ดังน้ันจงึ ต้องมีเครือ่ งทวนสัญญาณ เพอื่เพม่ิ ระดับสัญญาณแสงต่อไป ตัวอย่างของสัญญาณข้อมูลแบบแอนะล็อก เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์ สัญญาณเสียงท่ีส่งจากสถานวี ิทยุ เป็นตน้2.สญั ญาณดจิ ทิ ัล สัญญาณดิจิทัล (digital signal) ลักษณะเป็นกราฟส่ีเหลี่ยม (square graph) เป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเน่ือง รูปแบบของสัญญาณมีการเปลี่ยนแปลงแบบไม่ปะติดปะต่อ กล่าวคือ มีบางช่วงที่ระดับสัญญาณเป็น 0 การแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปของสัญญาณดิจิทัลต้องทาการเเปลงข้อมูลให้ข้อมูลเป็นแบบดิจิทัล นั่นคือต้องแปลงข้อมูลใหอ้ ยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง คือ 0 และ 1 แล้วทาการแปลงขอ้ มูลน้นั ให้เป็นสญั ญาณดจิ ทิ ลั ซ่งึ สามารถแปลงได้หลายรูปแบบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook