โครงการปันความรู้จากพสี่ ู่น้องการใช้โปรแกรมวาดภาพ (paint) และโปรแกรมประมวลผลคา (Microsoft Word 2007)กรณศี ึกษา : โรงเรียนบ้านดอนสูง ต.ประณตี อ.เขาสมงิ จ.ตราด นางสาวธยพร เอย่ี มบวร นางสาวอกั ษร เคนมีโครงการนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของวชิ าโครงการ รหัสวชิ า 3204-6001 หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูง สาขาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ สาขาการพฒั นาเวบ็ เพจ วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี ปี การศึกษา 2558
หัวข้อโครงการ : โครงการปันความรู้จากพสี่ ู่นอ้ ง ( เรื่องการใชโ้ ปรแกรมวาดภาพโดย Paint 2007 และ โปรแกรมประมวลผลคา Microsoft Word 2007 )โดยครูทปี่ รึกษา : นางสาวธยพร เอ่ียมบวรสาขาวชิ าสาขางาน : นางสาวอกั ษร เคนมีดย :ปี การศึกษา : นางจิรวรรณ มะลาไสย : คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ : การพฒั นาเวบ็ เพจ : 2558 บทคัดย่อกกกกกกกกโครงการ \"ปันความรู้จากพี่สู่นอ้ ง\" ( เรื่อง การใชโ้ ปรแกรมวาดภาพ Paint 2007 และโปรแกรมประมวลผลคา Microsoft Word 2007 ) มีจุดมุ่งหมายเพื่อการนาความรู้ท่ีไดร้ ับจากการศึกษาไปเผยแพร่ โดยจดั ทาโครงการสอนโปรแกรมวาดภาพ และโปรแกรมประมวลผลคาใหก้ บั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 4 โรงเรียนบา้ นดอนสูง เพ่ือให้นกั เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจในการใช้โปรแกรมวาดภาพและโปรแกรมประมวลผลคา ซ่ึงเป็ นโปรแกรมพ้ืนฐานท่ีใช้ในการศึกษาสามารถที่จะนาความรู้ท่ีไดร้ ับไปใช้ในชีวิตประจาวนั ในการทางานท่ีเก่ียวขอ้ งกบั โปรแกรมและยงัสามารถนาไปใชใ้ นการศึกษา ในระดบั ช้นั ท่ีสูงข้ึนได้
Diploma thesis topic : Sharing the Knowledge about Painting 2007By Program and Microsoft Word 2007 Program ProjectConsultant Teacher : Miss Thayaphon AiambawornMajorYear : Miss Ankson Kanmee : : Mrs. Jirawan Malasai : Web Page Development : 2015 AbstractกกกกกกกกSharing the knowledgeabout painting 2007 program and Microsoft Word 2007program projectaims to bring knowledge gained from the studies conducted by the project of theprogram. Drawing and word processors to students in grade 4 at bandonsoogSchool give thestudents to understanding how to use drawing program and a word processor. This basic programused to study were able to apply the knowledge gained to use in everyday life. In work-relatedapplications, and can also be used in the study a higher level.
ใบรับรองโครงการกกกกกกโครงการปันความรู้จากพส่ี ู่นอ้ ง (เรื่องการใชโ้ ปรแกรมวาดภาพ Paint 2007 และโปรแกรมประมวลผลคา Microsoft Word 2007) กรณีศึกษา : โรงเรียนบา้ นดอนสูงโดย นางสาวธยพร เอ่ียมบวร นางสาวอกั ษร เคนมีครูท่ีปรึกษา นางจิรวรรณ มะลาไสยสาขาวชิ า คอมพวิ เตอร์ธุรกิจสาขางาน การพฒั นาเวบ็ เพจปี การศึกษา 2558กกกกกกกกไดร้ ับอนุมตั ิใหน้ บั โครงการน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของวชิ าโครงการ รหสั วชิ า 3204-6001หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาช้ันสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขางานพฒั นาเว็บเพจวทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี หวั หนา้ แผนกคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ (นางพรี ญา ดุนขนุ ทด)คณะกรรมการสอบโครงการ ................................................. ประธานกรรมการ (นางจิรวรรณ มะลาไสย) ............................................... ............................. ..กรรมการ .................... กรรมการ (นางสาวสุดาจิต มณีโชติ) (นายเสถียร ไตเ่ มฆ) (นายวเิ ชียร ประเสริฐสกลุ ) (นายจิระพงษ์ จนั ทร์ประเสริฐ) รองผอู้ านวยการฝ่ ายวชิ าการ ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรีวนั ที่.........../............../............... วนั ท่ี.........../............../...............
สารบญั หนา้เร่ือง ก คบทคดั ยอ่ ฉกิตติกรรมประกาศ ชสารบญั ตารางสารบญั ภาพ 1บทที่ 1 บทนา 2 2 1.1ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา 3 1.2วตั ถุประสงค์ 1.3ขอบเขตขอบการทางาน 4 1.4ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 8บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง 9 2.1ความหมาย ประเภท ประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน 10 2.2ความหมายของส่ือการเรียนการสอน 12 2.3เทคนิคการสอนคอมพิวเตอร์ 2.4แนวการจดั การเรียนการสอน 15 2.5งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง 17บทที่ 3วธิ ีการดาเนินงาน 17 3.1วเิ คราะห์เน้ือหาเร่ืองการใชโ้ ปรแกรม 20 3.2กาหนดกลุ่มผเู้ รียนท่ีจะใหเ้ รียน 3.3การสร้างโครงการสอน 21 3.4เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 21บทท่ี 4ผลของการสอน 22 4.1ส่ือที่ใชใ้ นการสอน 23 4.2หวั ขอ้ การสอนวชิ าโปรแกรมวาดภาพ (Paint 2007) 4.3หวั ขอ้ การสอนวชิ าโปรแกรมประมวลผลคา (Microsoft Word 2007) 4.4การวเิ คราะห์หาประสิทธิภาพเพอื่ การสอน สารบัญ (ต่อ) ข
เร่ือง หนา้บทที่ 5สรุปผลและขอ้ เสนอแนะ 26 5.1สรุปผล 26 5.2 ขอ้ เสนอแนะ 27บรรณานุกรม 29ภาคผนวกประวตั ิผจู้ ดั ทาโครงการ ข
สารบัญตาราง หน้า 24ตารางที่ 24 4_1กกแสดงร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามจาแนกขอ้ มลู ตามเพศ 24 25กก4_2กกแสดงร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามจาแนกขอ้ มลู ตามสถานะกก4_3กกแสดงร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามจาแนกขอ้ มูลตามระดบั ช้นักก2_1กกแสดงค่าเฉล่ียของความพงึ พอใจในการดาเนินโครงการฉ
สารบญั ภาพ หน้า 6ภาพท่ี 6กก2-1กกเปิ ดโปรแกรมวาดภาพ 7กก2-2กกหนา้ ตา่ งของโปรแกรมวาดภาพ 8กก2-3กกส่วนประกอบของหนา้ ตา่ งการใชโ้ ปรแกรม Paint 9กก2-4กกแนะนาแถบเครื่องมือส่วนประกอบตา่ ง ๆ 9กก2-5กกแถบรายการเลือก (Menu Bar) 10กก2-6กกแถบรายการเลือกและคาสง่ั 10กก2-7กกคาส่งั สร้างแฟ้ มภาพข้ึนใหม่และยกเลิกภาพสุดทา้ ยที่คา้ งอยู่ 11กก2-8กกคาส่ัง Open ใชส้ าหรับเปิ ดแฟ้ มท่ีบนั ทึกไวก้ ่อนนา 12กก2-9กกคาสงั่ Edit 13กก2-10กกคาสัง่ View 13กก2-11กกคาสง่ั Image 14กก2-12กกแมส่ ีในโปรแกรม 15กก2-13กกกล่องเครื่องมือ (Tool Box) 16กก2-14กกกล่องสี (Colors Box) 16กก2-15กกการวาดภาพเส้นตรง 17กก2-16กกเปิ ดโปรแกรม paint 17กก2-17กกคลิกเลือกสีและขนาดเส้น 18กก2-18กกการวาดภาพดว้ ยเส้นโคง้ 18กก2-19กกวาดภาพโดยใชเ้ คร่ืองมือเลขาคณิต 19กก2-20กกคาสั่งสร้างกรอบ 19กก2-21กกสร้างกรอบในบริเวณที่ตอ้ งการ 20กก2-22กกกาหนดรูปแบบและตวั อกั ษรและลกั ษณะตา่ งๆ 20กก2-23กกText Tool Bar หนา้ ต่างกาหนดรูปแบบ 21กก2-25กกพิมพข์ อ้ ความ 22กก2-26กกการลบภาพกก2-27กกการยดื และบิดภาพ ช
สารบญั ภาพ (ต่อ) หน้า 22ภาพท่ี 23กก2-28กกภาพยดื หดภาพ 23กก2-29กกวาดภาพ สร้างกรอบลอ้ มรอบภาพท่ีตอ้ งการ 24กก2-30กกคลิกเมาส์คา้ ง แลว้ ลากภาพ 25กก2-31กกการโอนยา้ ยโดยใชค้ าสั่งในแถบรายการเลือก 25กก2-32กกการคดั ลอกและการโอนยา้ ยโดยใชเ้ มาส์ 26กก2-33กกคลิกเลือกเมนู File 26กก2-34กกการบนั ทึกชิ้นงาน (Save As) 27 27 2-35กกดบั เบิลในช่องชื่อไฟล์ (File Name) 28กก2-36กกชื่อไฟลช์ ิ้นงาน แลว้ คลิก Save 28กก2-37กกจดั หนา้ กระดาษ 29กก2-38กกเลือกขนาดกระดาษท่ีจะใช้ 29กก2-39กกแนวกระดาษที่ตอ้ งการพิมพ์ 30กก2-40กกตรวจความถูกตอ้ ง 31กก2-41กกสง่ั พมิ พเ์ อกสารงานเรียบร้อย 31กก2-42กกส่วนประกอบของหนา้ จอโปรแกรม 33กก2-43กกแถบ Ribbon เป็นแถบที่รวบรวมคาสง่ั หรือทลู บาร์ต่างๆ 33กก2-44กกแถบ Ribbon เป็นแถบท่ีรวบรวมคาสั่งหรือทูลบาร์ต่างๆ 34กก2-45กกการบนั ทึกเอกสาร 34กก2-46กกการเกบ็ บนั ทึกเอกสารเป็นชื่อไฟลอ์ ่ืนหรือไดร์ฟอ่ืน 35กก2-47กก5 การปิ ด-เปิ ด เอกสารและปิ ดโปรแกรม 35กก2-48กกการเปิ ดแฟ้ มงานใน disk 36กก2-49กกการตกแต่งขอ้ ความ 37กก2-50กกคลิกป่ ุมเคร่ืองมือบนทลู บาร์ 38กก2-51กกไดอะลอ็ กบอ็ กซ์ของ Font ใหก้ าหนดรายละเอียดเพม่ิ เติมกก2-52กกกาหนดระยะห่างระหวา่ งตวั อกั ษรกก2-53กกการสร้างงานพิมพแ์ บบคอลมั น์ ซ
สารบญั ภาพ (ต่อ) หน้า 42ภาพที่ 44กก3-1กกข้นั ตอนการวเิ คราะห์หลกั สูตรวชิ า 46กก3-2กกข้นั ตอนการสร้างเคร่ืองมือในการสอน 112กก3-3กกข้นั ตอนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 112กกค-1กกผลงานนกั เรียนคนที่กก1 113กกค-2กกผลงานนกั เรียนคนที่กก2 114กกค-3กกผลงานนกั เรียนคนท่ีกก3 115กกค-4กกผลงานนกั เรียนคนที่กก4 116กกค-5กกผลงานนกั เรียนคนท่ีกก5 116กกค-6กกผลงานนกั เรียนคนท่ีกก6 117กกค-7กกผลงานนกั เรียนคนท่ีกก7 117กกค-8กกผลงานนกั เรียนคนที่กก8 119กกค-9กกผลงานนกั เรียนคนที่กก9 119กกง-1กกภาพการสอน 1 120กกง-2กกภาพการสอน 2 120กกง-3กกภาพการสอน 3 121กกง-4กกภาพการสอน 4 121กกง-5กกภาพการสอน 5 122กกง-6กกภาพการสอน 6 122กกง-7กกภาพการนิเทศการสอน 1 123กกง-8กกภาพการนิเทศการสอน 2 123กกง-9กกภาพนกั เรียนตอบคาถามถูกแลว้ ออกไปรับรางวลั 1 124กกง-10กกภาพนกั เรียนตอบคาถามถูกแลว้ ออกไปรับรางวลั 2กกง-11กกภาพถ่ายรูปรวมกบั คุณครูและนกั เรียน ฒ
บทที่ 1 บทนากกกกกกกกปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทในการดารงชีวิตเป็ นอย่างมากท้ังในด้านการศึกษา การประกอบอาชีพ ความบนั เทิง และอ่ืน ๆ อีกมากมาย อีกท้งั ยงั จะช่วยอานวยความสะดวกสบายในหลาย ๆ ด้าน ในปัจจุบนั จะเห็นได้ว่ามีการนาเอาวิชาคอมพิวเตอร์เข้ามาเป็ นหลกั สูตรการเรียนการสอนท้งั ในระดบั ช้นั ประถมศึกษา ช้นั มธั ยมศึกษา และระดบั ที่สูงข้ึนไปอีกดว้ ย นอกจากน้ีในปัจจุบนั ยงั มีความกา้ วหนา้ ในดา้ นเทคโนโลยเี ป็ นอยา่ งมาก จึงมีความจาเป็ นอยา่ งยิ่งในการศึกษาค้นควา้ เรียนรู้เก่ียวกับการใช้คอมพิวเตอร์ข้นั พ้ืนฐาน เพ่ือท่ีจะได้นาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ไป1.1กกความเป็ นมาและความสาคญั ของปัญหากกกกกกกกในปัจจุบนั เทคโนโลยีมีการเจริญก้าวหน้าเป็ นอยา่ งมาก เทคโนโลยีคือส่ิงที่มนุษยไ์ ด้พฒั นาข้ึน เพ่ือช่วยในการทางานหรือแก้ไขปัญหาต่างๆได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เช่น อุปกรณ์เคร่ืองมือเครื่องจกั รวสั ดุ หรือแมก้ ระท้งั สิ่งของท่ีจบั ตอ้ งไม่ได้ เช่น กระบวนการณ์ต่าง ๆ เทคโนโลยีมีบทบาทต่อการดาเนินชีวิตของมนุษยเ์ พราะมนุษยไ์ ดใ้ ชเ้ ทคโนโลยี เขา้ มาเกี่ยวขอ้ งในการพฒั นางานดา้ นต่าง ๆ เพื่อการดาเนินชีวติ ที่ดี โดยเฉพาะคอมพวิ เตอร์ที่ไดร้ ับความนิยมและมีความจาเป็ นท่ีต้องใช้การในทางานต่าง ๆ แทบท้งั สิ้นไม่ว่าจะเป็ น การจดั เก็บข้อมูลเอกสารการคานวณการออกแบบ เป็ นต้น รวมถึงงานด้านต่าง ๆ ในทุกสาขาอาชีพในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็ น วิศวกรนกั วทิ ยาศาสตร์นกั ธุรกิจงานธนาคารการแพทยร์ าชการ เป็นตน้กกกกกกกกจะเห็นไดว้ า่ ปัจจุบนั ทุกสาขาอาชีพตอ้ งอาศยั คอมพิวเตอร์ ในการทางานท้งั สิ้น รวมถึงสถานศึกษาท่ีใชค้ อมพิวเตอร์ในส่ือการเรียนการสอนเพิ่มมากข้ึน ซ่ึงปัจจุบนั การเรียนการสอนมีความทนั สมยั มากข้ึนการศึกษาเรียนรู้การใชค้ อมพิวเตอร์ข้นั พ้ืนฐานอยา่ ง Microsoft office เพ่ือที่จะไดน้ าความรู้ความสามารถไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ซ่ึงเป็ นท่ีนิยมแพร่หลายอยา่ งมากในสานกั งานรวมถึงงานต่าง ๆ ในทุกสาขาอาชีพกกกกกกกกโดยการจดั ทาโครงการ “ปันความรู้จากพี่สู่นอ้ ง” โครงการน้ีให้นกั เรียนไดเ้ รียนรู้การใช้โปรแกรมวาดภาพ (Paint 2007) และโปรแกรมประมวลผลคา (Microsoft Word 2007) ให้แก่นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนบา้ นดอนสูง เพื่อให้นกั เรียนมีความรู้มีความเขา้ ใจ สามารถนาความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ในการศึกษาและการประกอบอาชีพต่อไปในอนาคต
1.2กกวตั ถุประสงค์ 1.2.1กกเพ่ือสร้างทกั ษะและกระบวนการจดั การเรียนรู้นอกสถานที่ 1.2.2 เพ่ือนาความรู้ในการใช้โปรแกรมเรื่องการใช้โปรแกรมวาดภาพ และโปรแกรมประมวลผลคาไปเผยแพร่ในการเรียนการสอน 1.2.3กกเพ่อื นาความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ โดยการนาความรู้ไปเผยแพร่แก่นอ้ งๆ โรงเรียนบา้ นดอนสูงต.ประณีต อ.เขาสมิง จ.ตราด1.3กกขอบเขตขอบการทางานกกกกกกกกการสอนในเรื่องการใชโ้ ปรแกรมวาดภาพ และโปรแกรมประมวลผลคา จะทาการสอนสาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 4โรงเรียนบา้ นดอนสูง ต.ประณีต อ.เขาสมิง จ.ตราด โดยมีองคป์ ระกอบของการสอนดงั น้ีกกกกกกกก1.3.1กกออกแบบและสร้างการสอนภาคทฤษฎีเรื่องโปรแกรมวาดภาพ และโปรแกรมประมวลผลคาMicrosoft Word 2007โดยมีส่วนประกอบดงั น้ี 1.3.1.1กกคูม่ ือสาหรับผสู้ อน 1)กกโครงการสอน 2)กกใบเน้ือหา 3)กกแบบฝึ กหดั 4)กกแบบทดสอบ 1.3.1.2กกสื่อการสอน 1)กกใบงานที่มอบใหฝ้ ึกปฏิบตั ิ 2)กกตวั อยา่ งชิ้นงาน 3) ใบงานที่มอบหมายใหฝ้ ึกปฏิบตั ิ 1.3.2กกในการสอนวชิ าโปรแกรมวาดภาพ(Pint) มีหวั ขอ้ ดงั น้ี 1.3.2.1กกเรื่องความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์และรู้จกั กบั โปรแกรมวาดภาพ 1.3.2.2กกเรื่องการวาดภาพและการใส่ขอ้ ความและแกไ้ ข 1.3.2.3กกเรื่องการแกไ้ ข ปรับแต่งภาพ การคดั ลอก การโอนยา้ ย และการบนั ทึกกก 1.3.2.4กกในการสอนโปรแกรมประมวลผลคาMicrosoft Word 2007 มีหวั ขอ้ ดงั น้ี
1.3.2.5กกเรื่องความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์และรู้จกั เกี่ยวกบั โปรแกรม ประมวลผลคา Microsoft Word 2007 1.3.3.6กกเร่ืองเครื่องมือพ้ืนฐานของโปรแกรมประมวลผลคาMicrosoft Word 2007 1.3.3.7กกเร่ืองการจดั รูปแบบเอกสาร 1.3.3.8กกเร่ืองการสร้างแผน่ พบั1.4กกประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับกกกก1.4.1กกสามารถใชโ้ ปรแกรม Microsoft Word 2007 เบ้ืองตน้กกกก1.4.2กกสามารถพิมพแ์ ละแกไ้ ขขอ้ ความได้กกกก1.4.3กกไดน้ าความรู้ไปประยกุ ตใ์ นชีวติ ประจาวนักกกก1.4.4กกสามารถจดั รูปแบบและตวั อกั ษรได้
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้องกกกกกกกกในการจดั ทาโครงการ “ปันความรู้จากพี่สู่นอ้ ง” (เร่ืองโปรแกรมวาดภาพ Paint 2007และโปรแกรมประมวลผลคา Microsoft Word 2007) คร้ังน้ี เพ่ือใหส้ ามารถจดั ทาโครงการไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และเป็นไปไดด้ ว้ ยดี โดยทาการศึกษาคน้ ควา้ เอกสารและทฤษฏีท่ีเกี่ยวขอ้ งดงั น้ี 2.1ความหมายของสื่อการเรียนการสอน 2.2ประเภท และประโยชนข์ องส่ือการเรียนการสอน 2.3เทคนิคการสอนคอมพวิ เตอร์ 2.4แนวทางการจดั การเรียนการสอน 2.5งานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง2.1 ความหมายของสื่อการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอนเป็ นตวั กลางซ่ึงมีความสาคญั ในกระบวนการเรียนการสอนมีหนา้ ที่เป็ นตัวนาความต้องการของครูไปสู่นักเรี ยนอย่างถูกต้องและรวดเร็ว เป็ นผลให้นักเรี ยนเปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปตามจุดมุ่งหมายการเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม ส่ือการสอนไดน้ าไปใชใ้ นการเรียนการสอนตลอด ดงั น้ี 2.1.1กกสื่อการสอน ช่วยสร้างรากฐานท่ีเป็ นรูปธรรมข้ึนในความคิดของผูเ้ รียน การฟังเพียงอย่างเดียวน้ัน ผูเ้ รียนจะตอ้ งใช้จินตนาการเขา้ ช่วยดว้ ย เพื่อให้ส่ิงที่เป็ นนามธรรมเกิดเป็ นรูปธรรมข้ึนในความคิด แต่สาหรับสิ่งท่ียุง่ ยากซบั ซอ้ น ผูเ้ รียนยอ่ มไม่มีความสามารถจะทาได้ การใชอ้ ุปกรณ์เขา้ ช่วยจะทาใหผ้ เู้ รียนมีความเขา้ ใจและสร้างรูปธรรมข้ึนในใจได้ 2.1.2กกส่ือการสอน ช่วยเร้าความสนใจของผูเ้ รียน เพราะผูเ้ รียนสามารถใช้ประสาทสัมผสั ไดด้ ว้ ยตา หู และการเคล่ือนไหวจบั ตอ้ งไดแ้ ทนการฟังหรือดูเพยี งอยา่ งเดียว 2.1.3กกเป็ นรากฐานในการพฒั นาการเรียนรู้และช่วยความทรงจาอย่างถาวร ผเู้ รียนจะสามารถนาประสบการณ์เดิมไปสมั พนั ธ์กบั ประสบการณ์ใหม่ ๆ ได้ เมื่อมีพ้ืนฐานประสบการณ์เดิมที่ดีอยแู่ ลว้ 2.1.4กกช่วยให้ผเู้ รียนไดม้ ีพฒั นาการทางความคิด ซ่ึงต่อเนื่องเป็ นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั ทาใหเ้ ห็นความสัมพนั ธ์เก่ียวขอ้ งกบั ส่ิงต่าง ๆ เช่น เวลา สถานที่ วฏั จกั รของส่ิงมีชีวติ 2.1.5กกช่วยเพม่ิ ทกั ษะในการอ่านและเสริมสร้างความเขา้ ใจในความหมายของคาใหม่ ๆใหม้ ากข้ึน ผเู้ รียนที่อา่ นหนงั สือชา้ ก็จะสามารถอา่ นไดท้ นั พวกที่อ่านเร็วได้ เพราะไดย้ ินเสียงและได้เห็นภาพ
ตอ่ ผเู้ รียน 2.1.6กกช่วยใหค้ ุณภาพการเรียนรู้ดีข้ึน เพราะมีความจริงจงั และมีความหมายชดั เจนสอน 2.1.7กกช่วยใหน้ กั เรียนรู้ไดใ้ นปริมาณมากข้ึนในเวลาที่กาหนดไวจ้ านวนหน่ึง 2.1.8กกช่วยให้ผูเ้ รียนสนใจและมีส่วนร่วมอย่างแข็งขนั ในกระบวนการเรียนการ 2.1.9กกช่วยใหผ้ เู้ รียนจา ประทบั ความรู้สึก และทาอะไรเป็นเร็วข้ึนและดีข้ึน 2.1.10กช่วยส่งเสริมการคิดและการแกป้ ัญหาในขบวนการเรียนรู้ของนกั เรียน 2.1.11ช่วยใหส้ ามารถเรียนรู้ในสิ่งที่เรียนไดล้ าบากโดยการช่วยแกป้ ัญหา2.2ก ประเภท และประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอนน้ัน หมายถึง ตวั กลางหรือช่องทางถ่ายทอดองค์ความรู้ ทกั ษะประสบการณ์ จากแหล่งความรู้ไปสู่ผเู้ รียน และทาให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสื่อการเรียนกน็ บั ไดว้ า่ เป็นเคร่ืองมือที่ช่วยใหผ้ เู้ รียนผสู้ อนไดแ้ สดงบทบาท และเกิดความเขา้ ใจ ในวชิ าท่ีเรียนท่ีสอนกนั ไดม้ ากข้ึนส่ือนบั เป็นสิ่งที่มีบทบาทสาคญั อยา่ งมากในการสอนต้งั แต่ในอดีตจนถึงปัจจุบนั เนื่องจากเป็ นตัวกลางท่ีช่วยให้การส่ือสารระหว่างผูส้ อนและผูเ้ รียนดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้ผเู้ รียนเขา้ ใจความหมายของเน้ือหาบทเรียนให้ตรงกบั ผสู้ อนตอ้ งการ ไม่ว่าส่ือน้นั จะอยใู่ นรูปแบบใดก็ตามลว้ นแต่เป็ นทรัพยากรที่สามารถอานวยความสะดวกในการเรียนรู้ไดท้ ้งั สิ้น 2.2.1 การจาแนกตามประสบการณ์ตา่ งๆ 2.2.1.1กกประสบการณ์ตรงและมีความมุ่งหมาย ประสบการณ์ข้นั น้ี เป็ นรากฐานสาคญั ของการศึกษาท้งั ปวง เป็ นประสบการณ์ท่ีผูเ้ รียนได้รับมาจากความเป็ นจริงและด้วยตวั เองโดยตรง ผรู้ ับประสบการณ์น้ีจะไดเ้ ห็น ไดจ้ บั ไดท้ า ไดร้ ู้สึก และไดด้ มกลิ่นจากของจริง ดงั น้นั สื่อกาสอนท่ีไห้ประสบการณ์การเรียนรู้ในข้นั น้ีก็คือของจริงหรือความเป็ นจริงในชีวิตของคนเรานน่ั เอง 2.2.1.2กกประสบการณ์จาลอง เป็ นที่ยอมรับกนั วา่ ศาสตร์ต่างๆ ในโลก มีมากเกินกวา่ ที่จะเรียนรู้ไดห้ มดสิ้นจากประสบการณ์ตรงในชีวิต บางกรณีก็อยู่ในอดีต หรือซบั ซอ้ นเร้นลบัหรือเป็นอนั ตรายไม่สะดวกต่อการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง จึงไดม้ ีการจาลองส่ิงต่าง ๆ เหล่าน้นัมาเพื่อการศึกษา ของจาลองบางอยา่ งอาจจะเรียนไดง้ ่ายกวา่ และสะดวกกวา่ 2.2.1.3กกประสบการณ์จาลอง เป็ นที่ยอมรับกนั วา่ ศาสตร์ต่างๆ ในโลก มีมากเกินกวา่ ที่จะเรียนรู้ไดห้ มดสิ้นจากประสบการณ์ตรงในชีวิต บางกรณีก็อย่ใู นอดีต หรือซบั ซอ้ นเร้นลบั
หรือเป็นอนั ตรายไม่สะดวกต่อการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง จึงไดม้ ีการจาลองสิ่งต่าง ๆ เหล่าน้นัมาเพือ่ การศึกษา ของจาลองบางอยา่ งอาจจะเรียนไดง้ ่ายกวา่ และสะดวกกวา่ 2.2.1.4การสาธิต คือ การอธิบายถึงขอ้ เทจ็ จริงหรือแบ่งความคิดการ ผฟู้ ังแลเห็นไปดว้ ย เช่น ครูวิทยาศาสตร์เตรียมก๊าซออกซิเจนให้นกั เรียนดู ก็เป็ นการสาธิต การสาธิตก็เหมือนกบันาฏการ หรือการศึกษานอกสถานที่ เราถือเป็ นสื่อการสอนอยา่ งหน่ึง ซ่ึงในการสาธิตน้ีอาจรวมเอาส่ิงของท่ีใชป้ ระกอบหลายอยา่ ง นบั ต้งั แต่ของจริงไปจนถึงตวั หนงั สือ หรือคาพดู เขา้ ไวด้ ว้ ย แต่เราไม่เพ่งเล็งถึงสิ่งเหล่าน้ี เราจะให้ความสาคญั กบั กระบวนการท้งั หมดที่ผูเ้ รียนจะตอ้ งเฝ้ าสังเกตอยู่โดยตลอด 2.2.1.5 การศึกษานอกสถานท่ี การพานกั เรียนไปศึกษานอกสถานที่ เป็ นการสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตเพื่อให้นักเรียนไดเ้ รียนจากแหล่งขอ้ มูล แหล่งความรู้ท่ีมีอยจู่ ริงภายนอกหอ้ งเรียน ดงั น้นั การศึกษานอกสถานท่ีจึงเป็นวธิ ีการหน่ึงที่เป็ นส่ือกลางใหน้ กั เรียนไดเ้ รียนจากของจริง 2.2.1.6 นิทรรศการ นิทรรศการมีความหมายท่ีกวา้ งขวาง เพราะหมายถึง การจดัแสดงสิ่งต่างๆเพ่ือใหค้ วามรู้แก่ผชู้ ม ดงั น้นั นิทรรศการจึงเป็ นการรวมสื่อต่าง ๆ มากมายหลายชนิดการจดั นิทรรศการที่ใหผ้ เู้ รียนมามีส่วนร่วมในการจดั จะส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีโอกาสคิดสร้างสรรค์มีส่วนร่วม และไดร้ ับขอ้ มลู ยอ้ นกลบั ดว้ ยตวั ของเขาเอง 2.2.1.7 โทรทศั น์เป็นสื่อการสอนที่มีบทบาทมากในปัจจุบนั เพราะไดเ้ ห็นท้งั ภาพและไดย้ ินเสียงในเวลาเดียวกนั และยงั สามารถแพร่และถ่ายทอดเหตุการณ์ท่ีกาลงั เกิดข้ึนไดด้ ว้ ยนอกจากน้นั โทรทศั น์ยงั มีหลายรูปแบบ เช่น โทรทศั น์วงจรปิ ด ซ่ึงโรงเรียนสามารถนามาใชใ้ นการเรียนการสอนไดเ้ ป็ นอย่างดี นอกจากน้ียงั มีโทรทศั น์วงจรปิ ด ที่เอ้ือประโยชน์ต่อการศึกษาอย่างกวา้ งขวาง ภาพยนตร์เป็ นสื่อที่จาลองเหตุการณ์มาใหผ้ ชู้ มหรือผเู้ รียนไดด้ ูและไดฟ้ ัง อยา่ งใกลเ้ คียงกบั ความจริง แต่ไม่สามารถถ่ายทอดเหตุการณ์ท่ีกาลงั เกิดข้ึนได้ ถึงอย่างไรก็ตามภาพยนตร์ก็ยงันบั วา่ เป็นส่ือท่ีมีบทบาทมากในการเรียนการสอน เช่นเดียวกนั กบั โทรทศั น์ 2.2.1.8 ภาพนิ่ง การบนั ทึกเสียง และวทิ ยุ ภาพนิ่ง ไดแ้ ก่ ภาพถ่าย ภาพวาดซ่ึงมีท้งัภาพทึบแสงและโปร่งแสง ภาพทึบแสงคือรูปถ่าย ภาพวาด หรือภาพในสิ่งพิมพต์ ่าง ๆ ส่วนภาพน่ิงโปร่งใสหมายถึงสไลด์ ฟิ ล์มสตริป ภาพโปร่งใสท่ีใช้กบั เครื่องฉายวสั ดุโปร่งใส เป็ นตน้ ภาพน่ิงสามารถจาลองความเป็ นจริงมาให้เราศึกษาบนจอได้ การบนั ทึกเสียง ไดแ้ ก่ แผ่นเสียงและเครื่องเล่นแผ่นเสียง เทปและเครื่องบนั ทึกเสียง และเครื่องขยายเสียงตลอดจนอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวกบัเสียงซ่ึงนอกจากจะสามารถนามาใชอ้ ยา่ งอิสระในการเรียนการสอนดว้ ย แลว้ ยงั ใชก้ บั รายการวทิ ยุและกิจกรรมการศึกษาอื่น ๆ ไดด้ ว้ ย ส่วนวทิ ยนุ ้นั ปัจจุบนั ที่ยอมรับกนั แลว้ วา่ ช่วยการศึกษาและการ
เรียนการสอนไดม้ าก ซ่ึงไม่จากดั อยแู่ ต่เพียงวิทยุโรงเรียนเท่าน้นั แต่ยงั หมายรวมถึงวิทยุทวั่ ไปอีกดว้ ย 2.2.1.9ทศั นสัญลกั ษณ์ ส่ือการสอนประเภททศั นสัญญลกั ษณ์น้ี มีมากมายหลายชนิด เช่น แผนภูมิแผนภาพ แผนท่ี แผนผงั ภาพโฆษณา การ์ตูน เป็ นตน้ ส่ือเหล่าน้ีเป็ นสื่อที่มีลกั ษณะเป็นสญั ลกั ษณ์สาหรับถ่ายทอดความหมายใหเ้ ขา้ ใจไดร้ วดเร็วข้ึน 2.2.1.10วจนสัญลกั ษณ์ ส่ือข้นั น้ีเป็ นสื่อที่จดั ว่า เป็ นข้นั ที่เป็ นนามธรรมมากที่สุดซ่ึงได้แก่ตัวหนังสือหรืออกั ษร สัญลักษณ์ทางคาพูดท่ีเป็ นเสียงพูด ความเป็ นรูปธรรมของส่ือประเภทน้ีจะไม่คงเหลืออยูเ่ ลย อย่างไรก็ดี ถึงแมส้ ื่อประเภทน้ีจะมีลกั ษณะที่เป็ นนามธรรมที่สุดก็ตามเราก็ใชป้ ระโยชน์ จากส่ือประเภทน้ีมาก เพราะตอ้ งใชใ้ นการส่ือความหมายอยตู่ ลอดเวลา 2.2.2 ส่ือการเรียนการสอนจาแนกตามคุณสมบตั ิWilbure Young ไดจ้ ดั แบง่ ไวด้ งั น้ี 2.2.2.1 ทศั นวสั ดุ (Visual Materials) เช่น กระดานดา กระดานผา้ สาลี) แผนภูมิรูปภาพ ฟิ ลม์ สตริป สไลด์ ฯลฯ 2.2.2.2 โสตวสั ดุ (Audio Materisls ) เช่น เคร่ืองบนั ทึกเสียง (Tape Recorder)เครื่องรับวทิ ยุ หอ้ งปฏิบตั ิการทางภาษา ระบบขยายเสียง ฯลฯ 2.2.2.3โสตทศั นวสั ดุ (Audio Visual Materials) เช่น ภาพยนตร์ โทรทศั น์ ฯลฯ 2.2.2.4เครื่องมือหรืออุปกรณ์ (Equipments) เช่น เคร่ืองฉายภาพยนตร์ เครื่องฉายฟิ ลม์ สตริปเครื่องฉายสไลด์ 2.2.2.5กิจกรรมต่าง ๆ (Activities )เช่น นิทรรศการ การสาธิต ทศั นศึกษา ฯลฯ 2.2.3 สื่อการเรียนการสอนจาแนกตามรูปแบบ(Form)Louis Shores ไดแ้ บ่งประเภทส่ือการสอนตามแบบไว้ ดงั น้ี 2.2.3.1ส่ิงตีพมิ พ์ (Printed Materials) เช่น หนงั สือแบบเรียน เอกสารการสอน ฯลฯ 2.2.3.2วสั ดุกกราฟิ ก เช่น แผนภูมิ ( Charts) แผนสถิติ (Graph) แผนภาพ(Diagram) ฯลฯ 2.2.3.3วสั ดุฉายและเคร่ืองฉาย (Projected Materials and Equipment) เช่นภาพยนตร์ สไลด์ ฯลฯ 2.2.3.4 วสั ดุถ่ายทอดเสียง (Transmission) เช่น วทิ ยุ เครื่องบนั ทึกเสียง 2.2.4ส่ือการเรียนการสอนตามลกั ษณะและการใช้ 2.2.4.1เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ (Hardware) 2.2.4.2 วสั ดุ (Software) 2.2.4.3. เทคนิคหรือวธิ ีการ (Techinques or Methods)
2.2.5 คุณคา่ และประโยชน์ของส่ือการเรียนการสอน 2.2.5.1ช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 2.2.5.2เรียนรู้ไดด้ ีข้ึนจากประสบการณ์ท่ีมีความหมายในรูปแบบต่างๆ 2.2.5.3 เรียนรู้ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.2.5.4เรียนรู้ไดง้ ่ายและเขา้ ใจไดช้ ดั เจน 2.2.5.5 เรียนรู้ไดม้ ากข้ึน 2.2.5.6 เรียนรู้ไดใ้ นเวลาท่ีจากดั 2.2.6ช่วยใหส้ ามารถเอาชนะขอ้ จากดั ต่าง ๆ ในการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ 2.2.6.1 ทาส่ิงนามธรรมใหเ้ ป็นรูปธรรมมากข้ึน 2.2.6.2 ทาสิ่งซบั ซอ้ นใหง้ ่ายข้ึน 2.2.6.3 ทาส่ิงเคลื่อนไหวชา้ ใหเ้ ร็วข้ึน 2.2.6.4 ทาสิ่งเคลื่อนไหวเร็วใหช้ า้ ลง 2.2.6.5 ทาส่ิงเลก็ ใหใ้ หญ่ข้ึน 2.2.6.6 ทาสิ่งใหญใ่ หเ้ ล็กลง 2.2.6.7 นาส่ิงท่ีอยไู่ กลมาศึกษาได้ 2.2.6.8 นาส่ิงท่ีเกิดในอดีตมาศึกษาไดช้ ่วยกระตุน้ ความสนใจของผู้ 2.2.6.9 ช่วยใหจ้ ดจาไดน้ าน เกิดความประทบั ใจและมนั่ ใจในการเรียน 2.2.6.10 ช่วยใหผ้ เู้ รียนไดค้ ิดและแกป้ ัญหา 2.2.6.11 ช่วยแกป้ ัญหาเร่ืองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล 2.2.7 คุณคา่ ของสื่อการเรียนการสอนการเรียนการสอน 2.2.7.1 สื่อการเรียนการสอนสามารถเอาชนะขอ้ จากดั เรื่องความแตกต่างกนั ของประสบการณ์ด้งั เดิมของผเู้ รียน คือเม่ือใชส้ ่ือการเรียนการสอนแลว้ จะช่วยใหเ้ ด็กซ่ึงมีประสบการณ์เดิมต่างกนั เขา้ ใจไดใ้ กลเ้ คียงกนั 2.2.7.2ขจดั ปัญหาเกี่ยวกบั เรื่องสถานที่ ประสบการณ์ตรงบางอยา่ ง หรือการเรียนรู้ 2.2.7.3ทาใหเ้ ด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรงจากสิ่งแวดลอ้ มและสังคม 2.2.7.4ส่ือการเรียนการสอนทาใหเ้ ด็กมีความคิดรวบยอดเป็นอยา่ งเดียวกนั 2.2.7.5ทาใหเ้ ด็กมีมโนภาพเริ่มแรกอยา่ งถูกตอ้ งและสมบรู ณ์ 2.2.7.6ทาใหเ้ ดก็ มีความสนใจและตอ้ งการเรียนในเร่ืองต่าง ๆ มากข้ึน เช่นการอ่านความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ ทศั นคติ การแกป้ ัญหา ฯลฯ 2.2.7.7เป็นการสร้างแรงจงู ใจและเร้าความสนใจ
2.2.7.8ช่วยใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีประสบการณ์จากรูปธรรมสู่นามธรรม2.3 เทคนิคการสอนคอมพวิ เตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์จดั ได้ว่าเป็ นวิชาการที่ค่อนขา้ งใหม่ เมื่อเปรียบเทียบกับวิชาอ่ืน ๆ ที่ปรากฎในหลกั สูตรการเรียนการสอนในแทบทุกระดบั ช้นั ดงั น้นั วิชาคอมพิวเตอร์จึงเป็ นวิชาท่ียงัขาดกระบวนวิธีในการสอนเป็ นการเฉพาะ ในขณะท่ีวชิ าอื่น ๆ จะมีวิธีสอนเฉพาะของตนเอง เช่นวิธีการสอนวิชาคณิตศาสตร์ วิธีการสอนวิชาภาษาไทย หรือวิธีการสอนวิชาสังคมศึกษา เป็ นตน้ถึงแมใ้ นปัจจุบนั จะมีผพู้ ฒั นาทรัยากรช่วยสอนวิชาคอมพิวเตอร์ออกมามากมาย อาทิเช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นตน้ แต่ถึงกระน้นั กระบวนการสอนที่เป็นวธิ ีการ (Activity) ก็ยงั ไม่ค่อยมีใครพฒั นาข้ึนมา จากการสืบคน้ ขอ้ มูลเก่ียวกบั การสอนคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะพบว่ามีเว็บเพจที่พูดถึงวิธีสอนวิชาคอมพิวเตอร์น้อยมาก ผู้เขียนจึงเห็นว่าพวกเรา(ครูสอนคอมพิวเตอร์) ท้งั หลายน่าจะมาช่วยกนั นาเสนอแนวคิดและเทคนิควิธีสอนจากประสบการณ์ของตนเอง เพ่ือเป็นการแลกเปล่ียนซ่ึงกนั และกนั อนั จะนามาซ่ึงพฒั นาการในการสอนวชิ าคอมพิวเตอร์ในประเทศไทยตอ่ ไป การสอนวชิ าคอมพวิ เตอร์น้นั สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 หมวดใหญ่ ๆ ดว้ ยกนั คือ 2.3.1ddการสอนวิชาเชิงทฤษฎีคอมพิวเตอร์ เช่น วิชาพ้ืนฐานคอมพิวเตอร์ วิชาระบบฐานขอ้ มลู หรือ วชิ าการวเิ คราะห์และออกแบบระบบ 2.3.2ddการสอนวิชาการเขียนโปรแกรม เช่น การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาต่าง ๆ หรือการสร้างโปรแกรมดว้ ยเครื่องมือก่ึงสาเร็จรูป ( Middle Ware) ท้งั หลาย เช่น โปรแกรม Visual Basic, Delphi หรือAuthorwareเป็นตน้ 2.3.3ddการสอนวชิ าการใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูป เช่น วชิ าการใชโ้ ปรแกรมประมวลผลคาหรือวชิ าการใชโ้ ปรแกรมวาดและตบแต่งรูปภาพ เป็ นตน้ ในบทความน้ีจะขอกล่าวถึงเทคนิควธิ ีสอนวชิ าการใชโ้ ปรแกรมประมวลผลคา ซ่ึงจดั อยใู่ นกลุ่มท่ี 3 โดยจะเนน้ เฉพาะเทคนิคการนาเขา้ สู่บทเรียนจากการที่ผเู้ ขียนไดพ้ จิ ารณาการสอนของตนเอง และเพอื่ นครูดว้ ยกนั มกั พบวา่ครูจะมีวธิ ีนาเขา้ สู่บทเรียน (การเริ่มตน้ ฝึกใชโ้ ปรแกรม) อยู่ 2 รูปแบบดว้ ยกนั คือ 2.3.3.1เร่ิมสอนโดยการแนะนาให้นกั เรียนรู้จกั หน้าตาและเมนู รวมท้งั แนะนาเครื่องมือ (Toolbar) ต่าง ๆ บนโปรแกรมที่ปรากฏอยบู่ นหนา้ จอใหค้ รบถว้ นก่อนแลว้ จึงเร่ิมตน้ สอนข้นั ต่อไป ซ่ึงผเู้ ขียนขอเรียกวธิ ีสอนแบบน้ีวา่ เทคนิคการนาเขา้ สู่บทเรียนแบบแนะนา (Introductionmethod)
2.3.3.2ครูเริ่มสอนโดยการให้ผูเ้ รียนลองพิมพข์ อ้ ความส้ัน ๆ ซัก 1 ประโยค ซ่ึงส่วนใหญ่ผูเ้ รียนมกั ชอบพิมพช์ ื่อของตนเองก่อน แลว้ จึงสอนให้ผูเ้ รียนลองใช้คาสั่งในเมนูและเคร่ืองมือในแถบเครื่องมือมาบูรณาการ ปรับแต่งขอ้ ความท่ีตนเองพิมพ์ลงไปให้สวยงามถูกใจผเู้ ขียนเรียกวิธีสอนแบบน้ีวา่ เทคนิคการนาเขา้ สู่บทเรียนแบบสร้างผลผลิต (Production Method)จากประสบการณ์การสอนของผเู้ ขียน พบวา่ วธิ ีที่ 2 (Production Method) จะเป็ นวธิ ีท่ีกระตุน้ และเร่งเร้าความสนใจของผเู้ รียนไดด้ ีกวา่ วิธีที่ 1 (Introduction Method) ท้งั น้ีเนื่องจากวิธีการสอนแบบสร้างผลผลิตน้นั นกั เรียนจะไดเ้ รียนรู้และฝึ กฝนในสิ่งท่ีมีความหมาย (Meaningfull Learning) ซ่ึงหมายถึงการพิมพข์ อ้ ความท่ีอ่านออกมีความหมาย และสามารถใช้คาส่ังตบแต่งปรับปรุงขอ้ ความน้นั ไดต้ ามท่ีตอ้ งการเม่ือเริ่มหดั ใชโ้ ปรแกรม ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ทางการศึกษาหลาย ๆ เรื่องที่กล่าวถึงวิธีสอนที่มีความหมาย จะไดผ้ ลสัมฤทธ์ิสูงกว่าวิธีสอนท่ีไม่มีความหมาย และดว้ ยการถูกกระตุน้ อยา่ งมีความหมายเช่นน้ี จึงทาให้นกั เรียนเกิดความสนใจท่ีจะเรียนรู้ต่อไปอีก ซ่ึงทาให้ช้นัเรียนวิชาการใชโ้ ปรแกรมประมวลผลคามีชีวิตชีวาข้ึนมาได้ ส่วนวิธีนาเขา้ สู่บทเรียนแบบแนะนาน้นั ผเู้ ขียนพบวา่ มกั จะทาใหน้ กั เรียนเบื่อหน่าย เนื่องจากตอ้ งนงั่ ดูและฟังเฉย ๆ จนกวา่ ครูจะแนะนาส่วนต่าง ๆ ของโปรแกรมได้หมด นอกจากจะเป็ นการเสียเวลาเปล่าแลว้ ยงั ทาให้ช้ันเรียนเกิดสภาวะเฉ่ือยชา และบนั่ ทอนความสนใจของนกั เรียนลงไปในที่สุด2.4 แนวทางการจัดการเรียนการสอน 2.4.1ครูมีหน้าท่ีในการศึกษาหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานให้มีความเขา้ ใจอยา่ งถี่ถว้ น เน่ืองจากหลกั สูตรน้นั เปรียบเสมือนแสงเทียนนาทางสาหรับครูในการจดั การเรียนรู้ ในหลกั สูตรแกนกลางฉบบั ปัจจุบนั น้นั ประกอบไปดว้ ยรายละเอียดที่มีความจาเป็ นและสาคญั อาทิตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะท่ีสาคญั เป็ นตน้ การท่ีครูเขา้ ใจและรู้รายละเอียดดังกล่าวท้ังหมดอย่างเข้าใจจะส่งผลให้ครูสามารถจัดการเรี ยนรู้ให้บรรลุตามเป้ าประสงคท์ ี่หลกั สูตรวางไวไ้ ดแ้ ละการจดั การเรียนรู้น้นั จะเป็ นสิ่งท่ีตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของสังคม 2.4.2 ครูควรวางแผนการจดั การเรียนรู้อย่างมีระบบและลาดบั ข้นั อย่างชดั เจน ดร.สุรินชุมสาย ณ อยุธยา ไดก้ ล่าวไวใ้ นหนงั สือการเขียนแผนการจดั การเรียนรู้ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551ว่า ครูที่ดีต้องมีการวางแผนการจดั การเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ดีตอ้ งมีการนาไปปฏิบตั ิ การปฏิบตั ิท่ีดีตอ้ งเป็ นไปตามแผนการจดั การเรียนรู้ที่วางไว้ซ่ึงสามารถเข้าใจได้ว่า การวางแผนการจดั การเรียนรู้น้ันถือเป็ นเรื่องจาเป็ นอย่างยิ่งในบรรดากระบวนการท้งั หมด ครูจาเป็ นตอ้ งลาดบั ข้นั ให้ชดั เจนวา่ จะสอนอะไรก่อน สอนอะไรหลงั แต่ถึงกระน้นั แผนการจดั การเรียนรู้ควรมีความยืดหยุน่ เปลี่ยนแปลงไดต้ ามโอกาสและสถานการณ์จริง
ครูจึงควรมีความมนั่ ใจท่ีจะเผชิญสถานการณ์ในช้นั เรียนไดท้ ุกรูปแบบที่เกิดข้ึนนอกเหนือความคาดหวงั และแผนการจดั การเรียนรู้ท่ีเตรียมไว้ การปรับแผนน้นั ก็เพื่อใหม้ ีความเหมาะสม เนื่องจากวิธี การที่แตกต่างน้ ันอาจช่วยให้นักเรี ยนบางคนสามารถเรี ยนรู้ และเข้าใจในเน้ื อหาได้ดี ยิ่งข้ ึ นนอกจากประเด็นขา้ งตน้ สิ่งท่ีครูตอ้ งคานึง คือเร่ืองของเน้ือหาที่เตรียมมาในแต่ละคร้ังของแผนการจดั การเรียนรู้น้นั ตอ้ งเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั เวลา มีความต่อเนื่อง เป็ นเอกภาพไปตลอดเวลาของการจดั การเรียนรู้ ครูผูส้ อนต้องสามารถปฏิบตั ิกิจกรรมในแผนน้ันได้อย่างครบถ้วน หากครูผสู้ อนใชเ้ น้ือหามาก แต่เวลานอ้ ย ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีไม่สัมพนั ธ์กนั นกั เรียนจะเรียนแบบหนกั และไม่ได้ฝึกปฏิบตั ิดว้ ยตนเองเท่าที่ควร จึงอาจส่งผลใหผ้ ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่ากวา่ เป้ าประสงคท์ ่ีไดต้ ้งั ไว้ 2.4.3ครูควรเลือกใชว้ ิธีการจดั การเรียนรู้ท่ีแปลกใหม่และเนน้ ผเู้ รียนเป็ นสาคญั ดงั น้นั ครูควรใชก้ ลยทุ ธ์ที่แตกต่างกนั ออกไปในการจดั การเรียนรู้แต่ละคร้ังและควรสอนใหน้ กั เรียนสามารถเช่ือมโยงความรู้ในช้นั เรียนกบั ชีวิตประจาวนั เขา้ ดว้ ยกนั ไดอ้ ย่างสมดุล และฝึ กให้นกั เรียนพฒั นาทกั ษกระบวนการคิดทุกรูปแบบ ตามแนวคิดเก่ียวกบั การศึกษาและการจดั การเรียนการสอนของดร.วิชัย ตนั ศิริ กล่าวไวว้ ่า กระบวนการเรียนการสอน ควรมุ่งเน้นการแสดงความคิด การฝึ กให้ผเู้ รียนไดม้ องกวา้ งและมองไกล มีความเขา้ ใจในระดบั มหพั ภาคและสามารถวิเคราะห์แยกแยะได้ในระดบั จุลภาค ยงิ่ ไปกวา่ น้นั ครูใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจวา่ ความรู้ไม่ไดจ้ ากดั อยแู่ ต่ในเฉพาะหนงั สือหรือในช้นั เรียนเพียงเท่าน้นั ดงั น้ันครูควรเช่ือมช่องวา่ งระหว่างทฤษฎีและการปฏิบตั ิ ทาให้นกั เรียนเกิดความชานาญในเรื่องที่นกั เรียนสนใจ และสามารถนาไปใชไ้ ดจ้ ริงในชีวิต สาหรับการจดั การเรียนรู้แบบผเู้ รียนเป็ นสาคญั นักเรียนตอ้ งไดร้ ับโอกาสในการเรียนรู้จากการไดป้ ฏิบตั ิจริง ลงมือทาจริงดว้ ยตนเอง ดงั น้นั ครูผูส้ อนจึงมีหน้าที่สร้างความกระตือรือร้น และแรงจูงใจในการเรียนรู้ คอยกระตุน้ แนะนาในส่ิงท่ีนกั เรียนสงสยั ตอ้ งสร้างความใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน พร้อมกนั น้นั ก็ฝึ กฝนนกั เรียนให้มีสมรรถนะที่สาคญั ตามหลกั สูตร อนั ไดแ้ ก่ ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคิดความสามารถในการแก้ปัญหาความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ 2.4.4 ครูควรใช้หลักจิตวิทยาแรงจูงใจให้เป็ นและมีประสิทธิภาพสูงสุด เน่ืองจากแรงจูงใจน้นั จะนาไปสู่กิจกรรมการเรียนรู้ของนกั เรียน สิ่งท่ีครูจะตอ้ งทาในฐานผนู้ าแนวทางการเรียนการสอน คือ การกระตุน้ ให้เด็กๆ รู้สึกถึงความตอ้ งการของตน เพราะความตอ้ งการจะนาให้นกั เรียนน้ันสนใจและใส่ใจกบั บทเรียน จึงสามารถกล่าวไดว้ ่าแรงจูงใจที่เหมาะสมจึงเป็ นกุญแจสาคญั ในการจดั การเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ สาหรับครูประถมศึกษาน้นั การสร้างแรงจูงใจถือเป็ นสิ่งสาคญั เพราะดว้ ยพฒั นาการทางสังคมและอารมณ์ของนักเรียนในระดบั น้ีน้ันยงั ไม่ได้รับการพฒั นาอยา่ งสมบูรณ์ การท่ีนกั เรียนจะจดจ่อส่ิงใดส่ิงหน่ึงเป็ นระยะเวลานานๆน้นั เป็ นเรื่องยาก ซ่ึง
ส่ิงน้ีอาจเป็ นปัญหาของครูผูส้ อนทุกคน แนวทางที่ดีทางหน่ึงคือให้ผเู้ รียนจะสร้างเป้ าหมายใหม่ๆร่วมกนั อยา่ งตอ่ เนื่องเพ่ือดึงใหเ้ ขาเห็นความสาคญั ของสิ่งที่เขาจะไดเ้ รียนรู้ การสร้าแรงจูงใจในการเรียนที่ดีอีกวิธีการหน่ึงคือ อารมณ์ขนั ในช้นั เรียนน้นั ครูควรเล่าเร่ืองตลกใหน้ กั เรียนฟังบา้ ง การมีอารมณ์ขนั จะช่วยทลายกาแพงระหวา่ งครูกบั นกั เรียนไดแ้ ละเป็นการสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ที่ดีอีกดว้ ย2.5 งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้อง วเิ ชียร ไชยบงั (2544) ไดศ้ ึกษาการวิเคราะห์องคป์ ระกอบประสิทธิภาพการสอนตามการรับรู้ของครูประถมศึกษาจงั หวดั กาฬสินธุ์ กลุ่มตวั อย่างเป็ นครู จานวน 367 คน ผลการวิจยั พบว่าองค์ประกอบประสิทธิภาพการสอนตามการรับรู้ของครูประถมศึกษาจังหวดั กาฬสินธุ์ มี 3องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบด้านทกั ษะความเป็ นครู องค์ประกอบด้านภูมิหลังของครู และองคป์ ระกอบดา้ นบรรยากาศในการเรียนการสอน เจริญศรี สิดิ (2545 : 86-88) ไดท้ าการวิจยั เรื่อง สมรรถภาพการสอนของครูมธั ยมศึกษาตอนปลายในเขตการศึกษา 2 ตามประเมินของนกั เรียน กลุ่มตวั อยา่ ง คือ ครูช้นั มธั ยมศึกษา จานวน500 คน โดยใชน้ กั เรียน 7 คนเป็ นผปู้ ระเมินครู 1 คน เครื่องมือท่ีใชเ้ ป็ นแบบประเมินสมรรถภาพการสอนของครู ผลการวจิ ยั พบวา่ สมรรถภาพการสอนของครูมีองคป์ ระกอบ 4 องคป์ ระกอบ คือองคป์ ระกอบท่ี 1 ความรู้ความสามารถและคุณลกั ษณะของการเป็ นครู ประกอบดว้ ยตวั แปร 24 ตวัองคป์ ระกอบท่ี 2 ความพยายามในการพฒั นานกั เรียน ประกอบดว้ ยตวั แปร 12 ตวั องคป์ ระกอบท่ี3 ความสามารถในการจดั กระบวนการเรียนการสอน ประกอบดว้ ยตวั แปร 9 ตัว องคป์ ระกอบที่ 4ความสามารถในการจงู ใจนกั เรียนใหส้ นใจการเรียน ประกอบดว้ ยตวั แปร 5 ตวั สุรศกั ด์ิ หอมอ่อน (2546 ) ไดศ้ ึกษาการวเิ คราะห์องคป์ ระกอบประสิทธิภาพการสอนของครูคณิตศาสตร์ในโรงเรียนมธั ยมศึกษา สังกดั กรมสามญั ศึกษา จงั หวดั นครพนม กลุ่มตวั อยา่ งที่ใช้ในการวจิ ยั แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ ครูคณิตศาสตร์จานวน 143 คน นกั เรียนจานวน 731 คน ผลการวจิ ยัพบว่า องค์ประกอบประสิทธิภาพการสอนของครูคณิตศาสตร์โดยรวมมี 2 องค์ประกอบคือองคป์ ระกอบท่ี 1 ดา้ นพ้ืนฐานความเป็ นครูประกอบดว้ ย การวดั และการประเมินผลของครู เจตคติต่อการสอนคณิตศาสตร์ของครู ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน ความรู้ในเน้ือหาวิชาคณิตศาสตร์และบุคลิกลกั ษณะของครู องคป์ ระกอบที่ 2 ดา้ นทกั ษะความเป็ นครู ประกอบดว้ ย การใชภ้ าษาในการสื่อสารของครู การให้การเสริมแรงแก่นกั เรียน ปริมาณงานอื่นที่ครูไดร้ ับมอบหมายการเตรียมการสอนของครู บรรยากาศในการเรียนการสอน เจตคติต่อการสอนวชิ าคณิตศาสตร์ของครู การใชส้ ่ือสารการสอนของครู และขวญั และกาลงั ใจของครู
เฉลิมภาค ทองอาจ (2550) ได้ศึกษาผลของการใช้รูปแบบการสอนมโนทศั น์ที่มีต่อผลสมั ฤทธ์ิการเรียนรู้หลกั การใชภ้ าษาไทยและความสามารถในการคิดเชิงมโมทศั น์ของนกั เรียนช้นัมธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 และเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิการเรียนรู้หลกั การ ใชภ้ าษาไทยและความสามารถในการคิดเชิงมโนทศั น์ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 2 ท่ีไดร้ ับการจดั การเรียนรู้โดยใชร้ ูปแบบการสอบมโนทศั น์กบั การจดั การเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตวั อย่าง คือ นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 2 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ฝ่ ายมธั ยม จานวน 71 คน แบ่งเป็ นกลุ่มทดลองซ่ึงจดั การเรียนรู้โดยใชร้ ูปแบบการสอนมโนทศั น์ จานวน 36 คน และกลุ่มควบคุมซ่ึงจดั การเรียนรู้แบบปกติ จานวน 35 คน เครื่องที่ใช้ในการวจิ ยั แบ่งเป็ น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล คือ แบบสอบผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้หลกั การใช้ภาษาไทยและแบบวดัความสามารถในการคิดเชิงมโนทศั น์ และเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการทดลอง คือ แผนการจดั การเรียนรู้หลกั การใชภ้ าษาไทย ใช้เวลาดาเนินการทดลอง 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 คาบ รวมท้งั สิ้น 16 คาบวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยหาค่าเฉลี่ยมชั ฌิมาเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่า และการวเิ คราะห์ความแปรปรวนร่วม (ANCOVA) ผลการวจิ ยั พบวา่ (i) นกั เรียนที่ไดร้ ับการจดั การเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนมโนทศั น์มีผลสัมฤทธ์ิ การเรียนรู้หลกั การใช้ภาษาไทยสูงกวา่ นกั เรียนที่ไดร้ ับการจดั การเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดับ .05 (2) นักเรียนที่ได้รับการจดั การเรียนรู้โดยใชร้ ูปแบบการสอนมโนทศั น์มีความสามารถในการคิดเชิงมโนทศั น์สูงกว่าก่อนการทดลองอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 และ (3 ) นกั เรียนที่ไดร้ ับการจดั การเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนมโนทศั นม์ ีความสามารถ ในการคิดเชิงมโนทศั นส์ ูงกวา่ นกั เรียนท่ีไดร้ ับการจดั การเรียนรู้แบบปกติ อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 ศศิพิมพ์ นิตโย (2554) ไดศ้ ึกษาการวิเคราะห์องคป์ ระกอบประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4 MAT กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ( ภาษาองั กฤษ ) เร่ือง Prepositions ของนักเรียน ระดับช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนอสั สัมชญั แผนกประถม ผลการศึกษาพบว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4MAT กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) เรื่องPrepositions ของนกั เรียน ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 2 มีประสิทธิภาพ 85.11 / 84.95 ซ่ึงเป็ นไปตามสมมติฐานที่ต้งั ไว้
บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินงานกกกกกกกกในการจดั ทาโครงการ “ปันความรู้จากพ่ีสู่นอ้ ง” (เร่ืองการใชโ้ ปรแกรมวาดภาพ Paint2007 และการใชโ้ ปรแกรมประมวลผลคา Microsoft Word 2007) ผสู้ อนไดด้ าเนินการตามลาดบัข้นั ตอนดาเนินการตา่ ง ๆ ตามลาดบั ข้นั ตอน ดงั น้ีกกกกกกกก3.1กวเิ คราะห์เน้ือหาเร่ืองการใชโ้ ปรแกรมวาดภาพ และการใชโ้ ปรแกรมประมวลผลคากกกกกกกก3.2กกาหนดกลุ่มผเู้ รียนท่ีจะใหเ้ รียนกกกกกกกก3.3กการสร้างโครงการสอนกกกกกกกก3.4กเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลในการสอน3.1กกวเิ คราะห์เนือ้ หาเร่ืองการใช้โปรแกรมวาดภาพกกกกกกกกผูส้ อนไดท้ าการศึกษาขอ้ มูลเก่ียวกบั โปรแกรมวาดภาพและโปรแกรมประมวลผลคาMicrosoft Word 2007 โดยศึกษาจากหนงั สือและเวบ็ ไซตต์ ่าง ๆ เพ่ือให้ไดม้ าซ่ึงหวั ขอ้ เรื่อง เน้ือหาย่อย และวตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม โดยมีความสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ของหลดั สูตร การวเิ คราะห์หลกั สูตรรายวชิ าจะแสดงในภาพที่ 3_1 สามารถอธิบายรายละเอียดดงั น้ี เร่ิมตน้ วเิ คราะห์การใชโ้ ปรแกรมวาดภาพ, โปรแกรมประมวลผลคา รวบรวมและประเมินความสาคญั ของหวั เร่ือง วเิ คราะห์เน้ือหาของหวั เรื่อง ประเมินความสาคญั รายละเอียดเน้ือหาของหวั ขอ้ 1 ภาพท่ี 3_1กกข้นั ตอนการวเิ คราะห์หลกั สูตรวชิ า
1กาหนดวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมท่ีปรึกษาพจิ ารณา ไมผ่ า่ น ปรับปรุงผบู้ ริหารพจิ ารณา ไมผ่ า่ น ปรับปรุงไดว้ ตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมที่สอดคลอ้ งกบั รายวชิ า จบการทางาน ภาพท่ี 3_1กกข้นั ตอนการวเิ คราะห์หลกั สูตรวชิ า (ตอ่ )กกกกกกกก3.1.1กกศึกษารายละเอียดรายการใชโ้ ปรแกรมวาดภาพ และโปรแกรมประมวลผลคาจากการศึกษารายวิชาพบวา่ คาอธิบายรายวิชาที่เขียนไวใ้ นหนงั สือมีเพียงจุดประสงคร์ ายวิชา ไม่มีรายละเอียดเก่ียวกบั วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม และหวั ขอ้ เรื่องยอ่ ยกกกกกกกก3.1.2กกรวบรวมและประเมินความสาคญั ของหวั เร่ือง ผสู้ อนไดแ้ บ่งหวั ขอ้ เรื่อง การใช้โปรแกรมวาดภาพ ออกเป็ น 2 หวั ขอ้ เร่ืองและการใชโ้ ปรแกรมประมวลผลคา ออกเป็ น 3 หวั เร่ืองโดยคานึงถึงความเกี่ยวขอ้ งของเน้ือหา ประเภทของเน้ือหาที่เกี่ยวกบั วิชาการใชโ้ ปรแกรมวาดภาพประกอบดว้ ยหวั ขอ้ เร่ือง ไดแ้ ก่ รู้จกั กบั การใช้โปรแกรมวาดภาพ การวาดภาพและการใส่ขอ้ ความและแก้ไข และการแก้ไข ปรับแต่งภาพการคดั ลอก การโอนยา้ ย การบนั ทึกและการพิมพ์งานประเภทของเน้ือหาท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั โปรแกรมประมวลผลคา ประกอบดว้ ยหัวขอ้ เร่ือง เครื่องมือพ้ืนฐานของโปรแกรมประมวลผลคา การจดั รูปแบบเอกสารและการสร้างแผน่ พบั โดยอาศยั ขอ้ มูลจากแหล่งตา่ ง ๆ คือ เอกสาร หนงั สือต่าง ๆ อินเทอร์เน็ตและอาจารยท์ ี่ปรึกษา รวมถึงประสบการณ์
ของผสู้ อน หลงั จากน้นั ผสู้ อนจึงทาการประเมินความสาคญั ของหวั เรื่องแต่ละหวั ขอ้ โดยมีเกณฑใ์ นการพจิ ารณา คือ ในแตล่ ะหวั ขอ้ มีประโยชนช์ ่วยส่งเสริมความสามารถในการแห้ปัญหาในการเรียนการทางานร่วมกนั ของนกั เรียน ช่วยส่งเสริมทกั ษะการทางานให้ถูกตอ้ งสมบูรณ์ และช่วยส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมีเจตคติที่ดีกกกกกกกก3.1.3กกวิเคราะห์เน้ือหาสาคญั ของแต่ละหัวเรื่อง หลงั จากประเมินความสาคญั ของหวั ขอ้ เรื่องแลว้ ผูส้ อนไดท้ าการวิเคราะห์เน้ือหาสาคญั ของหวั ขอ้ เรื่องวา่ ประกอบดว้ ยเน้ือหาสาคญัใดบา้ ง ซ้ึงผสู้ อนไดร้ ายละเอียดเน้ือหาจากแหล่งขอ้ มูล คือ เอกสารหนงั สือ ขอ้ มูลจากอินเทอร์เน็ตและอาจารยท์ ่ีปรึกษากกกกกกกก3.1.4กกประเมินความสาคญั รายละเอียดเน้ือหาของหวั เรื่อง เม่ือไดร้ ายละเอียดเน้ือหาจากแหล่งขอ้ มูลตา่ ง ๆ แลว้ ผสู้ อนไดท้ าการประเมินความสาคญั รายละเอียดเน้ือหาของหวั เรื่อง โดยใชเ้ กณฑเ์ ดียวกบั การประเมินความสาคญั ของหวั เร่ืองกกกกกกกก3.1.5กกกาหนดวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เมื่อไดร้ ายละเอียดของเน้ือหาการสอนท่ีมีการประเมินความสาคญั เรียบร้อยแลว้ ทาการเขียนวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม โดยผสู้ อนพิจารณาวา่ ตอ้ งการให้ผูเ้ รียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลงั จากผา่ นการเรียนการสอนในหัวเรื่องน้นั แลว้ ซ่ึงระดบั พฤติกรรมท่ีวดั ไดม้ ีดงั น้ี คือ ระดบั ฟ้ื นคืนความรู้ (R) ระดบั การประยกุ ตค์ วามรู้ (A) และระดบัส่งถ่ายความรู้ (T) โดยท้งั 6 หน่วยเรียน มีวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมท้งั หมดท่ีตอ้ งการกกกกกกกก3.1.6กกวตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรมท่ีสอดคล้องกบั รายวิชา จากการประเมินความสอดคลอ้ งของอาจารยท์ ี่ปรึกษา สรุปว่ามีความสอดคลอ้ ง แสดงว่าวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมที่กาหนดมีความสอดคลอ้ งกบั รายวชิ าที่สอน และสามารถนาไปใชใ้ นการกาหนดเน้ือหา ออกขอ้ สอบและสร้างสื่อการเรียนการสอนตอ่ ไป3.2กกกาหนดกลุ่มผู้เรียนทจ่ี ะให้เรียนกกกกกกกกกลุ่มผูเ้ รียนท่ีจะเลือกไปสอนในคร้ังน้ี คือ นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 4โรงเรียนบา้ นดอนสูง ต.ประณีต อ.เขาสมิง จ.ตราด3.3กกการสร้างโครงการสอนกกกกกกกกเครื่องมือท่ีใชใ้ นการสอนคร้ังน้ี เป็ นโครงการสอนวชิ าการใช้โปรแกรมวาดภาพ และการใชโ้ ปรแกรมประมวลผลคา ซ่ึงผสู้ อนสร้างข้ึนโดยมีข้นั ตอนดงั ภาพที่ 3_2
เริ่มตน้ใบเน้ือหา วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม แบบฝึกหดั ,แบบทดสอบ สื่อการเรียนการสอน ที่ปรึกษาพิจารณา ไม่ผา่ น ผา่ น ปรับปรุง ผบู้ ริหารพิจารณา ผา่ น ไม่ผา่ น ไดช้ ุดการสอนนาไปใชจ้ ริง ปรับปรุง สิ้นสุด ภาพที่ 3_2กกข้นั ตอนการสร้างเคร่ืองมือในการสอนกกกกกกกกกรายละเอียดแตล่ ะข้นั ตอน มีดงั ตอ่ ไปน้ีกกกกกกกก3.3.1กกวตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม หลังจากผ่านการวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชารวบรวมหวั เร่ือง ประเมินความสาคญั ของหวั เรื่อง วิเคราะห์เน้ือหาสาคญั ของหัวเร่ืองแลว้ จะได้วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมกกกกกกกก3.3.2กกสร้างโครงการสอนวิชาการใช้โปรแกรมวาดภาพ และวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคา ขอ้ มลู ดงั มีรายละเอียดขอ้ มูลดงั น้ี
กกกกกกกกกกกก 3.3.2.1กใบเน้ือหา นาวตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรมมากาหนดเน้ือหาวิชาในรายวชิ าการใชโ้ ปรแกรมวาดภาพ แบ่งเป็ นเน้ือหาในส่วนวชิ า เป็ น 6 หน่วยเรียน โดยมีรายละเอียดดงั น้ี หน่วยท่ี 1กกความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับคอมพิวเตอร์และรู้จักกับโปรแกรมวาดภาพ หน่วยที่ 2กกการวาดภาพและการใส่ขอ้ ความและแกไ้ ขหน่วยท่ี 3 การแกไ้ ข ปรับแตง่ ภาพ การคดั ลอก การโอนยา้ ย การบนั ทึกและการพมิ พง์ าน วชิ าการใชโ้ ปรแกรมประมวลผลคา แบ่งเป็นเน้ือหาส่วนของ วชิ าเป็น 4 หน่วยเรียนโดยมีรายละเอียดดงั น้ี หน่วยท่ี1กกความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์และรู้จกั เก่ียวกบัโปรแกรมประมวลผลคา หน่วยท่ี2กกเครื่องมือพ้ืนฐานของโปรแกรมประมวลคา หน่วยท่ี3กกการทาประวตั ิส่วนตวั หน่วยที่ 4กกการทานามบตั ร หน่วยท่ี 5กกการสร้างการ์ดวนั แม่ หน่วยที่ 6กกการจดั รูปแบบเอกสาร 3.3.2.2กกแบบทดสอบ ผสู้ อนไดส้ ร้างแบบทดสอบหลงั เรียนแบบปรนยั จานวน10 ขอ้ เพือ่ วดั ความรู้ความเขา้ ใจแก่นกั เรียน 3.3.2.3กกส่ือการเรียนการสอน การสร้างส่ือการเรียนการสอนควรพิจารณาจากวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมและใบเน้ือหาเป็ นหลกั เพื่อให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้มากท่ีสุด ซ่ึงส่ือการเรียนการสอนประกอบด้วย ใบความรู้ประจาหน่วยการเรียนรู้ ตวั อย่างชิ้นงาน การวาดภาพด้วยโปรแกรมวาดภาพและใบงานที่มอบให้ฝึ กปฏิบัติงานโปรแกรมประมวลคา เน่ืองจากผเู้ รียนจะได้สัมผสั จากประสบการณ์จริง ไดท้ อดสอบปฏิบตั ิจริงและเพิ่มความสะดวกในการสอนเพ่ือวามเขา้ ใจง่าย โดยการสร้างส่ือการเรียน มีข้นั ตอนดงั น้ี 1)กก การสร้างส่ือพิจารณาจากวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมและเน้ือหาเป็นสาคญั โดยใหม้ ีความสอดคลอ้ งกบั เน้ือหารายวชิ า 2)กก ออกแบบส่ิงพิมพ์ ในรูปแบบออกสารต่าง โดยเน้นความชดั เจนและขนาดของขอ้ ความ ออกแบบภาพวาดใหเ้ กิดจินตนาการสวยงามน่าสนใจ
3.4กกการเกบ็ รวบรวมข้อมูลกกกกผสู้ อนไดด้ าเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูลเพ่ือหาคาตอบตามจุดมุ่งหมายของการวจิ ยั คร้ังน้ี โดยกาหนดเป็นข้นั ตอน ดงั ภาพที่ 3_3 ซ่ึงรายละเอียดดงั น้ีกกกก3.4.1กกช้ีแจงวตั ถุประสงคก์ ารสอนกกกก3.4.2กกทาการสอน โดยทาการสอน สัปดาห์ละ 1 วนั วนั ละ 1-3 ชว่ั โมง ใชเ้ วลาสอนท้งั สิ้น 9สัปดาห์กกกก3.4.3กกทดสอบหลงั เรียน เม่ือนักเรียนผ่านการเรียนการสอนครบทุกหน่วยการเรียนแลว้ผสู้ อนทาการทดสอบหลงั เรียนกบั นกั เรียน เริ่มตน้ ช้ีแจงรายละเอียดและวตั ถุประสงคแ์ ก่กลุ่มนกั เรียน ทาการสอน ใบงาน,แบบทดสอบ สิ้นสุด ภาพที่ 3_3กกข้นั ตอนการเก็บรวบรวมขอ้ มลูกกกกกกกกเม่ือเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากนักเรียนซ่ึงประกอบดว้ ยใบงานและแบบทดสอบไดค้ รบผสู้ อนไดน้ าไปวเิ คราะห์ตามข้นั ตอนดงั น้ี
บทท่ี 4 ผลของการสอนกกกกกกกการสอนคร้ังน้ี ผสู้ อนสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอนภาคทฤษฎีวิชาโปรแกรมวาดภาพ Paint 2007 และประมวลผลคา Microsoft Word 2007โดยมีผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลแสดงเป็นลาดบั น้ีกกกกกกก4.1กกสื่อท่ีใชใ้ นการสอนกกกกกกก4.2กกหวั ขอ้ การสอนวชิ าโปรแกรมวาดภาพ (Paint 2007)กกกกกกก4.3กกหวั ขอ้ การสอนวชิ าโปรแกรมประมวลผลคา (Microsoft Word 2007)กกกกกกก4.4กกการวเิ คราะห์หาประสิทธิภาพของการสอน4.1กกสื่อทใ่ี ช้ในการสอนกกกกกกกสื่อการเรียน หมายถึง เคร่ืองมือ ตลอดจนเทคนิคต่าง ๆ ที่จะมาสนบั สนุนการเรียนการสอน เร้าความสนใจผเู้ รียนรู้ใหเ้ กิดการเรียนรู้ เกิดความเขา้ ใจดีข้ึน อยา่ งรวดเร็วกกกก 4.1.1สื่อท่ีใช้ในการสอน ได้แก่ คอมพิวเตอร์โปรแกรมวาดภาพ (Paint 2007) และโปรแกรมประมวลผลคา (Microsoft Word 2007)กก 4.1.2วธิ ีการสอน คือการบรรยายอธิบายและสอนแบบยกตวั อยา่ งให้ผเู้ รียนดูผา่ นหนา้ จอของตนเอง เพ่ือให้ผูเ้ รียนได้ทาความเขา้ ใจในข้นั ตอนการใช้โปรแกรมวาดภาพ และโปรแกรมประมวลผลคา4.2กกหวั ข้อการสอนวชิ าโปรแกรมวาดภาพ สรุปผลการสอนโปรแกรมวาดภาพนกั เรียนสามารถเรียนรู้ดว้ ยตวั เอง และทาการทดลองทา หลายๆคร้ังใหร้ ู้จริง และเขา้ ใจ (ตวั อยา่ งในภาคผนวกผลงานของนกั เรียนหนา้ 83)กกกก 4.2.1กหน่วยท่ี 1 ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์และรู้จกั กบั โปรแกรมวาดภาพ(Paint 2007) 4.2.1.1กกส่วนประกอบของคอมพวิ เตอร์ 4.2.1.2กกวธิ ีการเขา้ สู่โปรแกรม 4.2.1.3กกแนะนาแถบเครื่องมือส่วนประกอบต่างๆ 4.2.1.4กกกล่องเครื่องมอและกล่องสี 4.2.2กหน่วยที่ 2 การวาดภาพและการใส่ขอ้ ความและแกไ้ ข
4.2.2.1กกการวาดภาพอิสระ 4.2.2.2กกการวาดภาพเส้นตรง 4.2.2.3กกการวาดภาพเส้นโคง้ 4.2.2.4กกการวาดภาพเครื่องมือเลขาคณิต 4.2.2.5กกการเพ่ิมขอ้ ความลงในภาพ 4.2.2.6กกแกไ้ ข และเปล่ียนแปลงภาพ 4.2.3กหน่วยที่ 3 การแกไ้ ข ปรับแต่งภาพการคดั ลอก การโอนยา้ ย การบนั ทึกและการพิมพ์งาน 4.2.3.1กกการยดื ภาพ บิดภาพ ซอ้ นภาพ 4.2.3.2กกการยา้ ยตาแหน่งและเปล่ียนแปลงภาพ 4.2.3.3กกการคดั ลอกและการโอนยา้ ยโดยใช้คาสั่งในแถบรายการเลือกและการใช้เมาส์ 4.2.3.4กกการบนั ทึกชิ้นงาน 4.2.3.5กกการพิมพง์ านออกทางเครื่องพมิ พ์4.3กกหัวข้อการสอนวชิ าโปรแกรมประมวลผลคา สารามารถสร้างเอกสารท่ีนกั เรียนตอ้ งการสร้างข้ึนมา ในการพมิ พเ์ อกสารไดอ้ ยา่ งง่ายดายเพมิ่ ตาราง กราฟิ ก ในเอกสารไดอ้ ยา่ งง่าย นกั เรียนสามารถทาตามท่ีสอนได้ (ตวั อยา่ งในภาคผนวกผลงานนกั เรียนหนา้ 84-86) 4.3.1กหน่วยที่ 1 ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับคอมพิวเตอร์และรู้จักเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคา 4.3.1.1กกส่วนประกอบของคอมพวิ เตอร์ 4.3.1.2กกความสาคญั ของการเรียนโปรแกรมประมวลผลคา 4.3.1.3กกคุณลกั ษณะการทางานของโปรแกรมประมวลผลคา 4.3.1.4กกการใชง้ านพ้ืนฐานหลกั ของโปรแกรมประมวลผลคา 4.3.2กหน่วยที่ 2 เครื่องมือพ้นื ฐานของโปรแกรมประมวลผลคา 4.3.2.1กกแนะนาแถบเครื่องมือส่วนประกอบต่าง ๆ 4.3.2.2กกการพิมพข์ อ้ ความ 4.3.2.3กกการเลื่อนเคอร์เซอร์หรือจุดแทรกในเอกสาร (โดยใชเ้ มาส์,แป้ นพิมพ)์ 4.3.2.4กกการเลือกขอ้ ความ
4.3.2.5กกการคดั ลอกขอ้ ความและการลบขอ้ ความ 4.3.2.6กกการบนั ทึกเอกสาร 4.3.2.7กกการปิ ด-เปิ ด เอกสารและปิ ดโปรแกรม 4.3.3กหน่วยท่ี 3 การจดั รูปแบบเอกสาร 4.3.3.1กกเครื่องมือในการจดั รูปแบบอกั ษร (Font) และการปรับระยะห่างตวั อกั ษร 4.3.3.2กกการแทรกสัญญาณลกั ษณ์ใหเ้ อกสารและการตีกรอบและแรเงาเอกสาร 4.3.3.3กกการเติมเลขลาดบั และบุตเลตและการกาหนดระยะขอบใหเ้ อกสาร 4.3.3.4กกการต้งั ขนาดกระดาษและการแบ่งคอลมั นใ์ นเอกสาร 4.3.3.5กกการแทรกตาราง 4.3.3.6กกการจดั รูแบบและตกแตง่ ตาราง 4.3.4กหน่วยท่ี 4การทานมบตั ร 4.3.4.1 การต้งั คา่ หนา้ กะดาษ 4.3.4.2 การสร้างตาราง 4.3.4.3 การจดั รูปแบบของแผน่ ผบั 4.3.4.4 การตกแต่งนามบตั ร 4.3.5กหน่วยท่ี 5 การสร้างการ์ดวนั แม่ 4.3.4.1กกการต้งั คา่ หนา้ กระดาษ 4.3.4.2กกการจดั รูปแบบการ์ด 4.3.4.3กกการตกแตง่ การ์ดวนั แม่ 4.3.5กหน่วยที่ 6 การจดั รูปแบบเอกสาร 4.3.4.1กกการต้งั คา่ หนา้ กระดาษ 4.3.4.2กกการจดั รูปแบบของแผน่ พบั 4.3.4.3กกการตกแตง่ แผน่ พบั4.4กกการวเิ คราะห์หาประสิทธิภาพเพอื่ การสอนกกกก การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของการสอนทฤษฎี วชิ าโปรแกรมวาดภาพ วิชาโปรแกรมประมวลผลคา โดยใชก้ บั กลุ่มตวั อยา่ ง ซ่ึงเป็ นนกั เรียนระดบั ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 4 จานวน 20 คนโรงเรียนบา้ นดอนสูง ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2558รวมจานวนท้งั สิ้น 20 คน เป็ นค่าวิเคราะห์ที่ได้จากการทาแบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน จานวน 1 ชุด
4.4.1 แสดงให้เห็นผลการทาแบบทดสอบ วิชาโปรแกรมวาดภาพและโปรแกรมประมวลผลคา นกั เรียนระดบั ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 4 จานวน20 คน พบวา่ นกั เรียนทาคะแนนสอบก่อนเรียนไมค่ ่อยดีแตพ่ อไดล้ งมือทาโปรแกรมวาดภาพและประมวลผลคานกั เรียนทาการสอบหลงัเรียนไดด้ ีข้ึน 4.4.2 การประเมินความพึงพอใจและขอ้ คิดเห็น ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม 1.1กกเพศตารางท่ี 4_1แสดงร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามจาแนกขอ้ มลู ตามเพศ เพศ จานวน ร้อยละ ชาย 9 54.05 หญิง 11 55.5 รวม 20 100กกกกกกกกจากตารางที่ 4_1 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีเพศชาย ร้อยละ 54.17 และเพศหญิง ร้อยละ 45.83 1.2กกสถานะตารางที่ 4_2แสดงร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามจาแนกขอ้ มูลตามสถานะสถานะ จานวน ร้อยละนกั เรียน 20 100คุณครู 1 100รวม 21 100กกกกกกกกจากตารางท่ี 4_2พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีสถานะเป็นนกั เรียน ร้อยละ 100 1.3กกระดบั ช้นัตารางท่ี 4_3แสดงร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามจาแนกขอ้ มลู ตามระดบั ช้นัระดบั ช้นั จานวน ร้อยละป.4 20 100รวม 20 100กกกกกกกกจากตารางท่ี 4_3พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยใู่ นระดบั ช้นั ป.4 ร้อยละ 100
ตอนท่ี 2 ผลประเมินความพึงพอใจในการดาเนินโครงการ2.1กกความพึงพอใจในการดาเนินโครงการตารางที่ 2_1แสดงคา่ เฉล่ียของความพงึ พอใจในการดาเนินโครงการรายการ จานวน คา่ เฉล่ีย ความหมาย มาก1. บอกวตั ถุประสงคก์ ารเรียนใหน้ กั เรียนรู้ 21 4.662. มีการนาเขา้ สู่บทเรียนที่เหมาะสมกบั เวลา 21 4.61 มาก3. มีการเตรียมการสอนเป็นอยา่ งดี 21 4.80 มากที่สุด4. ใหค้ วามสนใจ ดูแล เอาใจใส่นกั เรียนอยา่ งทว่ั ถึง 21 4.76 มากท่ีสุด5. ผสู้ อนมีความเป็ นกนั เองกบั ผเู้ รียน 21 4.85 มากที่สุด6. ผเู้ รียนมีความตรงต่อเวลาและความรับผดิ ชอบตอ่ การ 21 4.80 มากท่ีสุดสอน 21 4.76 มากที่สุด7. มีความพร้อมและกระตือรือร้น ในการสอน8. ผสู้ อนสามารถถ่ายทอดความรู้ใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจได้ 21 4.85 มากท่ีสุด9. ผเู้ รียนสามารถใชโ้ ปรแกรมท่ีเรียนได้ 21 4.57 มาก10. การแตง่ กายมีความเหมาะสม 21 4.80 มากท่ีสุด รวม 4.74ก จากผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากตารางที่ 2_1 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นความพึงพอใจในการดาเนินโครงการ เฉลี่ยรวมกบั ในระดบั มากท่ีสุด (ค่าเฉลี่ย= 4.85) เมื่อพิจารณาเป็ นรายขอ้ พบวา่ จะอยรู่ ะดบั มากที่สุด7 ขอ้ เรียงตามลาดบั ความเฉล่ียสูงสุดลงมาไดแ้ ก่มีความเป็ นกนั เองกบั ผเู้ รียน(คา่ เฉล่ีย = 4.85)มีความพร้อมและกระตือรือร้น ในการสอน(ค่าเฉลี่ย = 4.76)ผเู้ รียนมีความตรงต่อเวลาและความรับผดิ ชอบต่อการสอน(ค่าเฉลี่ย=4.80)มีการเตรียมการสอนเป็ นอยา่ งดี(ค่าเฉล่ีย= 4.80 )ให้ความสนใจ ดูแล เอาใจใส่นกั เรียนอย่างทว่ั ถึง(ค่าเฉล่ีย= 4.76)ผสู้ อนสามารถถ่ายทอดความรู้ใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจได(้ ค่าเฉล่ีย = 4.85) การแต่งกายมีความเหมาะสม(ค่าเฉลี่ย=4.80)และจะอยรู่ ะดบั มาก3 ขอ้ มีบอกวตั ถุประสงคก์ ารเรียนให้นกั เรียนรู้(ค่าเฉลี่ย= 4.66)มีการนาเขา้ สู่บทเรียนท่ีเหมาะสมกบั เวลา(ค่าเฉล่ีย= 4.61) และผูเ้ รียนสามารถใชโ้ ปรแกรมที่เรียนได้(ค่าเฉล่ีย=4.57)
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ5.1กกสรุปผลกกกกกกกกการสอนคร้ังน้ีเป็นการสอนเพื่อสร้างทกั ษะและกระบวนการจดั การเรียนรู้นอกสถานท่ีเพอื่ นาความรู้ในการใชโ้ ปรแกรมเรื่องการใชโ้ ปรแกรมประมวลผลคา (Microsoft Word 2007) และโปรแกรมวาดภาพ (Paint 2007) ไปเผยแพร่ในการเรียนการสอนเพ่ือให้ความรู้ที่มีในการใช้โปรแกรมเร่ืองการใช้โปรแกรมประมวลผลคา และ โปรแกรมวาดภาพ ให้เกิดประโยชน์ ในระดบั ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 4 โดยต้งั สมมติฐานไวว้ ่าการสอนคร้ังน้ีจะสามารถทอดความรู้ไปให้นกั เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่ากบั หรือมากกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนด หลังจากที่ทาการสอนแล้วผูเ้ รียนจะมีผลการเรียนที่ดีกว่าเดิม โดยกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการสอนคร้ังน้ีเป็ นนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนบา้ นดอนสูง ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2558 จานวน 20 คน โดยจดั ทาเน้ือหาประกอบการสอนวิชาโปรแกรมวาดภาพ 4หน่วย และวิชาโปรแกรมประมวลผลคา 4หน่วย หลกั จากน้นั ผสู้ อนจะนาเน้ือหาท่ีจดั ทาไปใหอ้ าจารยท์ ี่ปรึกษาตรวจสอบและประเมินคุณภาพของเน้ือหา เมื่อจดั ทาแผนการสอนเสร็จแลว้ ผสู้ อนไดน้ าเน้ือหาการสอนภาพทฤษฎีไปสอนกบั กลุ่มตวั อย่าง ซ่ึงผสู้ อนทาการสอนดว้ ยตนเองและให้ผเู้ รียนทาใบงาน ซ่ึงเน้ือหาเกี่ยวขอ้ งกบั เน้ือหาที่เพิ่งสอนไปเพ่ือใหน้ กั เรียนไดม้ ีทกั ษะมากข้ึนและนาความรู้ที่ไดส้ อนไปใชใ้ นคร้ังต่อไปกกกกกกกกสรุปไดว้ า่ การดาเนินโครงการสอนผสู้ อนสามารถถ่ายทอดความรู้ใหก้ บั ผเู้ รียนเขา้ ใจได้ผเู้ รียนสามารถใชโ้ ปแกรมท่ีเรียนไดเ้ ป็นอยา่ งดี5.2กกข้อเสนอแนะกกกกประสิทธิภาพของการสอน ไมไ่ ดข้ ้ึนอยกู่ บั ส่ือการสอนเพียงอยา่ งเดียวแต่หากข้ึนอยกู่ บั ผสู้ อนและนกั เรียนดว้ ย โดยผูส้ อนจะตอ้ งศึกษาแผนการสอนให้เขา้ ใจและการใชส้ ่ือการสอนเป็ นอย่างดีส่วนนกั เรียนจะตอ้ งมีความต้งั ใจและใฝ่ รู้ในการเรียนในการสอนแต่ละคร้ัง ผสู้ อนจะตอ้ งเตรียมการสอนใหพ้ ร้อมท้งั ดา้ นเน้ือหา ส่ือการเรียนการสอนท้งั หมด ท้งั น้ีเพื่อให้การสอนเป็ นไปตามแผนการสอนที่กาหนดไว้
บรรณานุกรมวารุณีกกถีระแกว้ .เอกสารประกอบการสอน วชิ าคอมพวิ เตอร์ โปรแกรม Paint. [ออนไลน]์ .กกกกกกกกเขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=กกกกกกกกweb&cd=4&cad=rja&uact=8&ved=0CC4QFjAD&url=http%3A%2F%2Fwww.กกกกกกกกvarunee-raikhing.com%2Fupload%2Fjournal%2F16-04-09-17-59-03- f.doc&กกกกกกกก ei=U6WjU6yvFoqyuASAmoGQDA&usg=AFQjCNFBux6xKuGxvzjOeZI_CYRtnyYกกกกกกกกEOQ&bvm=bv.69411363,d.c2E (วนั ที่คน้ ขอ้ มูล : 28 มิถุนายน 2557)วทิ ลู ยก์ กงามขา.แผนการจดั การเรียนรู้. [ออนไลน]์ .เขา้ ถึงไดจ้ าก :กกกกกกhttp://www.pbps.ac.th/e_learning/vb6/b1.htmlกกกกกกก(วนั ที่คน้ หาขอ้ มลู วนั ท่ี 30 มิถุนายน 2557).สลกั กฤช โพธิไทร.คู่มือการใชง้ านโปรแกรม Microsoft office Word 2007. [ออนไลน์].เขา้ ถึงได้กกกกกกกกจาก: http://www.sahavicha.com/?name=media&file=readmedia&id=1720 กก กกกกกก กกกก(วนั ท่ีคน้ หาขอ้ มูลวนั ท่ี 29 มิถุนายน 2557).กกกกกกhttp://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6728/9/Chapter2.pdfกกกกกกhttp://www.acp.ac.th/pdf/research/sasipim_54.pdfเจริญศรี สิดิ.สมรรถภาพการสอนของครูมธั ยมศึกษาตอนปลายในเขตการศึกษา 2. [ออนไลน์].กกกกกกกกเขา้ ถึงไดจ้ าก http://crd.grad.swu.ac.th/thesis_curriculum.html (วนั ที่คน้ ขอ้ มลู : 28 มิถุนายน 2557)สุรศกั ด์ิ หอมออ่ น.การวิเคราะห์องคป์ ระกอบประสิทธิภาพการสอนของครูคณิตศาสตร์ในโรงเรียนมธั ยมศึกษา .[ออนไลน์].เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://news.msu.ac.th/web/advsearching.php?&searchdb%5Bsu%5D=%A4%B3%D4% B5%C8%D2%CA%B5%C3%EC%20%A1%D2%C3%C8%D6%A1%C9%D2%E1%C 5%D0%A1%D2%C3%CA%CD%B9&searchdb%5Bsu%5D=%A4%B3%D4%B5%C8 %D2%CA%B5%C3%EC%20%A1%D2%C3%C8%D6%A1%C9%D2%E1%C5%D0 %A1%D2%C3%CA%CD%B9&startrow=612(วนั ที่คน้ หาขอ้ มูลวนั ท่ี 30มิถุนาย2558).เฉลิมภาค ทองอาจ .การใชร้ ูปแบบการสอนมโนทศั นท์ ี่มีตอ่ ผลสมั ฤทธ์ิการเรียนรู้หลกั การใช้ ภาษาไทยและความสามารถในการคิดเชิงมโมทศั น์ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 2. [ออนไลน]์ .เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://www.oknation.net/mblog/entry.php?id=856315กก กกกกกก (วนั ท่ีคน้ หาขอ้ มลู วนั ที่ 29 มิถุนายน 2558).กกกกกก
ศศิพิมพ์ นิตโย .สาระการ เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ.[ออนไลน์].เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://acp.assumption.ac.th/research.htmlวเิ ชียร ไชยบงั .การวิเคราะห์องคป์ ระกอบประสิทธิภาพการสอนตามการรับรู้ของครูประถมศึกษา จงั หวดั กาฬสินธุ์.[ออนไลน์].เขา้ ถึงได้ จาก:http://202.29.80.68/ULIB6//dublin.php?ID=46249#.Vh9ZDNLhDGg
ตัวอย่างผลงานของนักเรียน ภาพที่ ข_1 ผลงานนกั เรียนคนท่ีกก1ภาพท่ีกกข_2กกผลงานนกั เรียนคนที่กก2
ภาพที่กกข_3กกผลงานนกั เรียนคนที่กก3ภาพที่กกข_4กกผลงานนกั เรียนคนที่กก4
ภาพท่ีกกข_5กกผลงานนกั เรียนคนท่ีกก5
ภาพท่ีกกข_6กกผลงานนกั เรียนคนท่ีกก6
ตัวอย่างผลงานของนักเรียน ภาพที่ ข_1 ผลงานนกั เรียนคนท่ีกก1ภาพท่ีกกข_2กกผลงานนกั เรียนคนที่กก2
ภาพที่กกข_3กกผลงานนกั เรียนคนที่กก3ภาพที่กกข_4กกผลงานนกั เรียนคนที่กก4
ภาพท่ีกกข_5กกผลงานนกั เรียนคนท่ีกก5
ภาพท่ีกกข_6กกผลงานนกั เรียนคนท่ีกก6
ภาพที่ ค_1 ภาพการสอน 1ภาพที่ ค_2 ภาพการสอน 2
ภาพที่ ค_3 ภาพการสอน 3ภาพที่ ค_4 ภาพการสอน 4
ภาพที่ ค_5 ภาพการสอน 5ภาพที่ ค_6 ภาพการสอน 6
ภาพที่ ค_7 ภาพการนิเทศการสอน 1ภาพที่ ค_8 ภาพการนิเทศการสอน 2
ภาพท่ี ค_9 ภาพนกั เรียนตอบคาถามถูกแลว้ ออกไปรับรางวลั 1ภาพที่ ค_10 ภาพนกั เรียนตอบคาถามถูกแลว้ ออกไปรับรางวลั 2
Search