ผังความรู้ วิวัฒนาการของละคร จัดทำโดย นายคณิศร พุ่มนวล ม.4/13 เลขที่ 5 นางสาววิริสา ศรีมนัสรัตน์ ม.4/13 เลขที่ 8 นางสาวไหมมุนา หมัดตะหมีน ม.4/13 เลขที่ 22 เสนอ คุณครูสุธิษา ราชสงค์
คำนำ รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชานาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องวิวัฒนาการของการละครตะวันตก วิวัฒนาการละครไทยและการชม วิจารณ์และการประเมินคุณภาพการแสดง เพื่อให้ได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์กับการเรียน ผู้จัดทำหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนำหรือข้อผิด พลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย ผู้จัดทำ วันที่ 10/2/2566
สารบัญ เนื้อหา หน้า วิวัฒนาการของการละครตะวันตก 1 ละครยุคแรก 2 ละครยุคกลาง 3 ละครยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ 4 ละครสมัยใหม่ 5 การชม วิจารณ์ และประเมินคุณภาพการแสดง 6 โครงเรื่อง 7 หลักการประเมินคุณภาพของการแสดงนาฏศิลป์ 8 และละคร วิวัฒนาการละครไทย 9 สมัยรัตนโกสินทร์ 10-11
ละครกรีก ละครโรมัน ละครศาสนา ละครฆราวาส -ละครพื้นเมือง ละครคอมเมดี (Comedy) ละครคอมเมดี (Comedy) ละครแทรเจดี (Tragedy) ละครแทรเจดี (Tragedy) -ละครฟาร์ส (Farce) ละครแพบูลาอาเทลลานา -ละครอินเทอร์ลูด (Interlude) แพนโทมายม์ (Pantomime) มายม์ (Mime) ละครยุคแรก ละครยุคกลาง วิวัฒนาการของการละครตะวันตก ละครยุคฟื้ นฟู ละครสมัยใหม่ ศิลปวิทยาการ ละครแนวสัจจนิยม (Realism) อินเตอร์เมทซี (Intermezzi) และแนวธรรมชาติ โอเปรา (Opera) นิยม(Naturalism) ละครแนวต่อต้านสัจจนิยม (Anti – realism) -ละครสัญญลักษณนิยม (Symbolism) -ละครเอ็กซ์เปรสชั่นนิสม์ (Expressionism) -ละครเพื่อสังคม 1
ละครแทรเจดี (Tragedy) ละครแทรเจดีของกรีกแสดงให้เห็นชีวิตตัวละครตัวเอก ที่ มีความน่ายกย่องสรรเสริญ แต่ต้องดิ้นรนต่อสู้กับอำนาจของชะตากรรม ซึ่งเทพเจ้าเป็นผู้ลิขิต แม้ว่าในที่สุดจะต้องพ่ายแพ้และประสบหายนะ แต่เป็น ความพ่ายแพ้ที่ดิ้นรนต่อสู้ถึงที่สุดแล้ว เรื่องราวของละครกรีกยุคแรกๆ เป็นการสรรเสริญและเล่าเรื่องราวเทพเจ้า โดยมักนำโครงเรื่องมาจากมหา กาพย์อีเลียด (Iliad) และ โอดิสซี (Odyssey) ละครคอมเมดี (Comedy) ละครคอมเมดีเป็นละครที่ให้ความรู้สึกตลกขบขัน เพราะความบกพร่องของ มนุษย์ เป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นในสมัยนั้น ซึ่งเกี่ยวกับการเมือง สงครามและสันติภาพ ทัศนะ เกี่ยวกับศิลปะในแง่ต่างๆ การโจมตีหรือเสียดสีตัวบุคคล ฯลฯ คอมเมดีเป็นเรื่องที่แต่งขึ้น ใหม่ มากกว่านำมาจากตำนานเช่นแทรเจดี ละครกรีก ละครยุคแรก ละครโรมัน ละครคอมเมดี (Comedy) ได้รับอิทธิพลจากคอมเมดีกรีก ละครแพบูลาอาเทลลานา ละครแทรเจดี (Tragedy) เป็นละครตลกสั้นๆ ใช้ตัวละครที่ไม่ลึกซึ้งและ ได้รับอิทธิพลจากตำนานกรีก ได้มีนักเขียนบทละคร มีลักษณะซ้ำกันทุกเรื่อง ใช้เรื่องราวชีวิตใน ชาวโรมัน ชื่อ เซเนกา ได้เขียนบทละครที่มีอิทธิพลต่อ ชนบทของชาวบ้านสามัญ ละครชนิดนี้ได้รับ นักเขียนบทละครยุคต่อมา คือ ยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยา ความนิยมสูงสุด (ยุคเรอเนอซองส์) ลักษณะของละครเซเนกา มายม์ (Mime) เป็นละครสั้นๆ ตลกโปกฮา มี แพนโทมายม์ (Pantomime) การใช้ผู้หญิงแสดงบทของผู้หญิง (เป็นละคร เป็นการร่ายรำที่มีความหมายโดยใช้นักแสดงคนเดียว ซึ่ง ประเภทแรกที่ใช้ผู้หญิงแสดง) ไม่มีการสวม เปลี่ยนบทบาทโดยการ “เปลี่ยนหน้ากาก” มีพวกคอรัสเป็นผู้ หน้ากาก แสดงเรื่องราวชีวิตของคนในเมือง บรรยายเรื่องราว มักเป็นเรื่องราวที่เคร่งเครียดและได้จาก ตำนานปรัมปรา มีเครื่องดนตรีประกอบหลายชิ้น เช่น ขลุ่ยและ ระยะหลังมายม์แสดงเรื่องราวที่ผิดทำนอง คลองธรรม เช่น การคบชู้สู่ชาย ความชั่วช้า เครื่องตี สามานย์ ภาษาที่หลาบโลน ทำให้เกิดการต่อต้าน จากคริสต์ศาสนิกชน 2
การละครในโรมันถึงยุคเสื่อม เป็นเวลากว่า 300 ปี จน ละครศาสนา กระทั่งประมาณ พ.ศ.1400 เป็นละครที่แสดงในวัด เพื่อประกอบพิธีทางศาสนา เมื่อ ละครมาแสดงนอกวัด ก็ยังคงใช้เรื่องราวในพระคัมภีร์ คริสตจักรทำให้ละครกลับมาฟื้ นตัวอีกครั้งหนึ่ง ด้วยการ เริ่มจัดการแสดงเป็นฉากสั้นๆ ประกอบเรื่องราวจากพระ ไบเบิล เรียกว่ามิสตรี เพลย์(Mystery Play) คัมภีร์ไบเบิล การแสดงจะจัดขึ้นในโบสถ์ เรื่องราวที่แสดง นอกจากนั้น ยังมีละครมิระเคิล เพลย์ (Miracle Play)ที่ แสดงเรื่องราวชีวิตของนักบุญและผู้พลีชีพเพื่อศาสนา และ เกี่ยวกับพระเยซู และเรื่องราวในคัมภีร์ไบเบิล เช่น วัน ละครมอแรลลิตี เพลย์ (Morality Play) ที่แสดงเรื่อง คริสต์มาส เป็นต้น ราวของคนธรรมดาสามัญที่ต้องต่อสู้กับทางเลือกระหว่าง ความดีและความชั่ว ละครยุคกลาง ละครฆราวาส ละครพื้นเมือง แสดงเรื่องราวการผจญภัยของวีรบุรุษที่มีชื่อเสียง เช่น โรบินฮูด เป็นต้น ความสนุกสนานอยู่ที่การต่อสู้ การแสดงฟันดาบ ระบำสวยๆ การเข่นฆ่ากัน ฯลฯ ละครพื้น เมืองใช้นักแสดงสมัครเล่น แสดงในเทศกาลใหญ่ๆ ละครฟาร์ส (Farce) เป็นละครตลกที่ไม่เกี่ยวกับศาสนาและไม่ได้มุ่งผลทางการสั่งสอนศีล ธรรม แสดงให้เห็นสันดานดิบของมนุษย์ ที่มีความเห็นแก่ได้ โดยแสดงออกในลักษณะที่ ขบขัน เป็นการเล่ห์เหลี่ยมไหวพริบให้เข้ากับประโยชน์ของตน ละครอินเทอร์ลูด (Interlude) ละครที่แสดงคั่นระหว่างงานเลี้ยงฉลอง มีทั้งเรื่องน่าเศร้า และเรื่องตลก แต่ไม่เกี่ยวกับศาสนาและการสอนศีลธรรม 3
ยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีหรือ ยุคเรอเนซองส์ อินเตอร์เมทซี (Intermezzi) (Renaissance) เป็นยุคที่มีผลกระทบโดยตรงต่อลักษณะ เป็นการแสดงสลับฉาก มักเป็นเรื่องราวจากตำนานกรีก การสร้างโรงละคร การวางรูปเวที การจัดวางฉาก การประพันธ์ และโรมัน ซึ่งมีปรากฏการณ์ที่ต้องใช้เทคนิคพิเศษเข้า บท และการจัดการแสดงละคร รูปแบบละครในยุคเรอเนเซองส์นี้ ช่วย เช่น เฮอร์คิวลิสเดินทางไปในนรก หรือ เปอร์ซิอุสขี่ ส่วนใหญ่จัดการแสดงเพียงฉากเดียว แต่เป็นฉากที่ใหญ่โต ม้าเหาะไปต่อสู้กับปีศาจทะเล เป็นต้น มีการใช้ดนตรีและ มโหฬาร วิจิตรพิสดาร การแต่งกายหรูหรา มีขบวนแห่ที่ยิ่งใหญ่ ระบำเป็นส่วนประกอบสำคัญ การแสดงสลับฉากนี้อาจ และมีเหตุการณ์มหัศจรรย์เกิดขึ้น อยู่เป็นเอกเทศ ไม่เกี่ยวกับละครที่แสดงอยู่ก็ได้ ละครยุคฟื้นฟู ศิลปวิทยาการ โอเปรา (Opera) คือ การรวมเอาดนตรี การขับร้อง และระบำ เข้ามาไว้ ในเรื่องราวที่ผูกขึ้นเป็นละคร โอเปรานั้นนิยมใช้การจัดฉากหรูหรา เหตุการณ์มหัศจรรย์ ที่ต้องใช้เทคนิคพิเศษอยู่ด้วย รูปแบบใหม่นี้ เป็น ที่นิยมทั่วอิตาลี และแพร่สะพัดไปทั่วยุโรปอย่างรวดเร็ว 4
ละครแนวสัจจนิยม (Realism) และแนวธรรมชาตินิยม(Naturalism) ละครสมัยใหม่ ที่เรียกกันว่าแนวสัจจนิยมหรือแนวสมจริง (Realism) และแนวธรรมชาตินิยม (Naturalism) ให้ความสำคัญมากแก่คนธรรมดาสามัญยิ่งกว่ายุคที่ผ่านมา ก่อนหน้านั้นตัวละครที่เป็นสามัญ ชนจะเข้ามามีบทบาทก็เพียงตัวประกอบ ตัวคนใช้ ปราศจากความสำคัญ ส่วนตัวเอกจะเป็นคนฐานะร่ำรวย สมบูรณ์พร้อมด้วยฐานันดรศักดิ์ทุกประการ แต่ละครสมัยใหม่เปลี่ยนแปลงรูปโฉมดังกล่าวเสียสิ้น ละครสมัยใหม่ ละครแนวต่อต้านสัจจนิยม (Anti – realism) ละครสัญญลักษณนิยม (Symbolism) เป็นละครที่ใช้วัตถุหรือการกระทำที่เป็นสัญลักษณ์ ซึ่งจะกระตุ้นและโยงความรู้สึก นึกคิดของคนดูเข้ากับญาณพิเศษที่นักเขียนรู้สึกเกี่ยวกับความเป็นจริง ละครชนิดนี้ พยายามมองให้ลึกลงไปถึง สัจธรรมที่ ไม่อาจจับต้องได้ เช่น ความหมายของชีวิตและความตาย จึงมักดูลึกลับ ลางเลือน และสร้างปมปริศนาไว้ให้ขบคิด ละครเอ็กซ์เปรสชั่นนิสม์ (Expressionism) ศิลปะช่วงประมาณปี พ.ศ.2400 ที่มุ่งแสดงความรู้สึกมากกว่าแสดงให้เหมือน จริง) เป็นละครที่เสนอความเป็นจริงตามความคิดของตัวละคร ซึ่งอาจไม่ตรงกับความเป็นจริงที่ปรากฏแก่สายตาคนทั่วไป โดยใช้ฉากที่มีสภาพไม่เหมือนจริง ใช้คำพูดที่ไม่เป็นเหตุเป็นผลนัก หรือใช้ข้อความสั้นๆ ห้วนๆ ฉากแบบเอ็กซ์เปรสชั่นนิสม์ มี ลักษณะพิเศษที่สะท้อนความรู้สึกภายในของตัวละคร เน้นรูปลักษณะภายนอก สีสัน และขนาดที่ผิดปกติไป ละครเพื่อสังคม (Theatre for Social Action) หรือละครเอพิค (Epic Theatre) เป็นละครที่กระตุ้นความสำนึกทาง สังคม นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงแก้ไขสังคมให้ดีขึ้น โดยไม่คำนึงถึงความเป็นกลางแบบธรรมชาติ หรือการบันทึกความเป็น จริงแบบตรงไปตรงมา แต่นักเขียนบทละครอาจโน้มเอียงมีอคติจนเห็นได้ชัด จุดสำคัญ คือ ต้องการให้ผู้ชม ชมอย่าง ไตร่ตรองมากกว่าจะให้เห็นคล้อยตามเรื่องไป ผู้ชมจะถูกทำให้ตระหนักอยู่ทุกขณะที่กำลังชมละครว่า นั่นคือการแสดงทั้งสิ้น เป็นเสนอออกมาให้ได้รู้ได้เห็นเท่านั้น หาใช่ความเป็นจริงไม่ ผู้ชมจะต้องคิดพิจารณาตาม ด้วยวิจารณญาณที่รอบคอบ 5
•ศึกษาหาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับรูปแบบ ประเภท และชนิดของ • มีจิตใจผ่อนคลาย มีสมาธิในการชม การแสดงที่ชม การแสดง ไม่กังวลต่อสิ่งใดๆทั้งสิ้น •ศึกษาเอกสารและข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับการแสดงตลอดจน • มีปฏิกิริยาโต้ตอบด้วยการแสดงออก สถานภาพของผู้มาชม ทางอารมณ์ มีอารมณ์คล้อยตามไปกับ •เมื่อการแสดงจบลง ผู้ชมควรให้เกียรติผู้แสดงด้วยการปรบมือ บทบาทของผู้แสดง •มีความสามารถในการรับสาร คือ เป็นผู้ชมที่ดูเป็นฟังเป็น • มีมารยาทในขณะชมการแสดงโดย สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์เรื่องที่ชมได้อย่างสร้างสรรค์ ปิดเครื่องมือสื่อสาร ไม่ส่งเสียงดัง รบกวนผู้ชมคนอื่ นงดรับประทาอาหาร และเครื่องดื่มทุกชนิด หลักการชมการแสดง นาฏศิลป์และละคร การชม วิจารณ์ และ ประเมินคุณภาพการแสดง หลักการวิจารณ์การแสดง นาฏศิลป์และละคร การบรรยาย • ความเป็นเอกภาพ มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน • เป็นกํารพูด หรือเขียนถึงกํารรับรู้สิ่งที่เห็นและรู้สึก กํารรับรู้ • ความงดงามของการร่ายรำ และองค์ประกอบอื่นๆ ได้แก่ ความ คุณสมบัติต่ํางๆ ของกํารแสดง • บรรยําย หรือแจกแจงส่วนประกอบต่างๆ ถูกต้องตามแบบแผนท่ารำ แม่ท่าลีลาท่าเชื่อมความคิดริเริ่ม • การวิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆ ในผลงานการแสดงนาฏศิลป์ ไทย สร้างสรรค์ • รูปแบบของนาฏศิลป์ ไทย ศึกษาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ ทั้งนาฏศิลป์ แบบมาตรฐาน และนาฏศิลป์พื้นบ้าน 6
การวิจารณ์โครงเรื่อง มีข้อที่ควรพิจารณา • เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในละครชัดเจน หรือไม่ • เหตุการณ์ที่จะนำไปสู่จุดวิกฤตเข้มข้น เพียงพอหรือไม่ เร้าอารมณ์ผู้ชมได้มาก น้อยแค่ไหน • การจบของเรื่องเหมาะสมหรือไม่ • ละครเรื่องนี้น่าสนใจชวนติดตามตลอด เรื่องหรือไม่ • สิ่งใดที่ท าให้เรื่องมีความน่าสนใจมาก ที่สุด เช่น โครงเรื่อง ตัวละครหรือ บทบาทของตัวละคร เป็นต้น โครงเรื่อง โครงเรื่องแบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ • ตอนต้น เป็นการปูพื้นให้ผู้ชมทราบ เกี่ยวกับวัน เวลาสถานที่การกระทำ ของตัวละคร • ตอนกลาง มีการสร้างอุปสรรค ความขัดแย้ง ทำให้ตัวละครเอก เกิด ปัญหาจนถึงจุดวิกฤตดำเนินต่อไป จนถึงขั้นแตกหัก • ตอนอวสาน เรื่องค่อยๆ คลี่คลาย ปัญหาในตอนปลายของเรื่อง 7
หลักเกณฑ์ที่ควรนำมาใช้ในการประเมินคุณภาพของ การแสดง • ลักษณะการแสดงมีความงามทั้งในระดับพื้นฐาน และมาตรฐาน • การนำเสนอการแสดงต้องชัดเจนในเรื่องประเภท • ผู้แสดงมีเอกลักษณ์ในกํารเคลื่อนไหวร่างกาย คุณภาพด้านการแสดง หลักการประเมินคุณภาพของ การแสดงนาฏศิลป์และละคร คุณภาพด้านองค์ประกอบ การแสดง • เครื่องประกอบการแสดงบนเวที เช่น อุปกรณ์ประกอบฉาก อุปกรณ์ประกอบการแสดงเครื่องใช้ส่วนตัวเครื่องประดับ ถูกต้องตามแบบแผน ตามยุคสมัย เป็นต้น • เครื่องแต่งกาย การแต่งหน้า ถูกต้องตามยุคสมัย เครื่อง แต่งกายสมฐานและบทบาทของตัวละคร • ระบบเสียง และอุปกรณ์เสียง ระบบเสียงชัดเจน ไม่มีเสียง สะท้อนหรือเสียงก้อง 8
ละครนอก ละครเร่จะแสดงตามพื้นที่ว่างโดยไม่ต้องมี ละครใน โรงละคร เรียกว่าละครชาตรีละครชาตรี ต่อ ชาวบ้านจะแสดงใช้ผู้ชายล้วน มาได้วิวัฒนาการเป็นละครรำ เรียกว่าละครใน พระราชวังจะใช้ผู้หญิงล้วน ห้ามไม่ให้ ดำเนินเรื่องอย่างรวดเร็ว ชาวบ้านเล่นเรื่องที่นิยมมากแสดง ละครนอก โดยปรับปรุงให้การแต่งกาย มี3เรื่องคือ อิเหนา,รามเกียรติ์,อุณ ที่ประณีตงดงามมากขึ้น มีดนตรีและบทร้อง รุท และมีการสร้างโรงแสดง สมัยอยุธยา มีนิยายเรื่องนามาโนห์ราคือ วรรณคดีไทย รับวัฒนธรรมของอินเดียผสมผสานกับ เรื่องพระสุธน-มโนราห์ ตอนพรานบุญจับ วัฒนธรรมไทย มีการบัญญัติศัพท์ขึ้นใหม่ นางมโนราห์ ก่อนหน้านี้คือ การแสดงจำพวก เพื่อนใช้เรียกศิลปะการแสดงของไทยว่า ระบำ เช่นระบำหมวก ระบำนกยุง โขน,ละคร, ฟ้อนรำ สมัยสุโขทัย สมัยน่านเจ้า วิวัฒนาการละครไทย สมัยกรุงธนบุรี สมัยรัตนโกสินทร์ บทละครในสมัยอยุธยาได้สูญหายไป 1. พระบาทสมเด็จพระพุ ทธยอดฟ้าจุฬาโลก สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรง มหาราช(รัชกาลที่1) รวบรวมศิลปิน บทละครที่เหลือมาทรง พระราชนิพนธ์บทละคร เเละยังทรงฝึก 2. พระบาทสมเด็จพระพุ ทธเลิศหล้านภาลัย(รัชกาลที่2) ซ้อมด้วยพระองค์เอง เรื่องรามเกียรติ์ 3. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่3) 4. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่4) อีก5ตอน 5. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่5) 6. พระบาทสมเด็จพระมงกฎุเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่6) 1. ตอนอนุมานเกี้ยวนางวานริน 7. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว(ราชกาลที่7) 2. ตอนท้าวมาลีวราชว่าความ 8. พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท 3. ตอนทศกันฐ์ตั้งพิธีทรายกรด 4. ตอนพระลักษมณ์ถูกหอกกบิลพัท มหิดล(รัชกาลที่8) 5. ตอนปล่อยม้าอุปการ 9. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมูิพลอดุลยเดช มหาราช(รัชกาลที่9) 10.พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินท รเทพยวรางกูร (รัชกาลที่10) 9
ได้ให้ยกเลิกละครหลวง พระบรมวงศานุวงศ์ จึงพากันฝึกโขนละคร คณะละครที่มีแบบแผน ในฝึกหัดและแสดงโขนละครถือเป็นแบบแผน ในการปฏิบัติสืบต่อมาถึงปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า ได้เปลี่ยนแปลงการแต่งกายให้เป็นการแต่งยืน อยู่หัว(รัชกาลที่3) เครื่องแบบละครใน ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องอิเหนาได้รับการ ได้ฟื้ นฟูและรวบรวมสิ่งที่สูญหายให้สมบูรณ์ ยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของบทละคร มากขึ้น รวบรวมตำราการฟ้อนรำเป็นหลักฐาน รำ คือแสดงครบองค์5คือ ตัวละครงาม,รำงาม,ร้อง ที่สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์ เเละพัฒนาโขน เพราะ,พิณพาทย์เพราะและกลอนเพราะเมื่อ โดยผู้แสดงเปิดหน้าและสวมชฏา ทรงพระราช ปีพ.ศ.2511 ยูเนสโกได้ถวายพระเกียรติคุณแด่ นิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ พระองค์ในฐานะบุคคลสำคัญที่ผลงานดีเด่นทาง วัฒนธรรมระดับโลก ปราบนนทก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ า นภาลัย(รัชกาลที่2) จุฬาโลกมหาราช(รัชกาลที่1) สมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า อยู่หัว(รัชกาลที่4) เจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่5) ได้ฟื้ นฟูละครหลวงขึ้นใหม่อนุญาตให้ราษฎร สภาพบ้านเมืองมีความเจริญก้าวหน้าและ ฝึกละครในได้ จึงมีการบัญญัติข้อห้ามในการ ขยายตัวอย่างรวดเร็ว เพราะได้รับวัฒนธรรม จากตะวันตกทำให้ศิลปะการแสดงละครได้มี แสดงละครที่มิใช่ละครหลวง วิวัฒนาการขึ้นอีกรูปแบบ 1. ห้ามฉุดบุตรชาย-หญิงผู้อื่นมาฝึกละคร หนึ่งคือ การกำเนิดละครดึกดำบรรพ์และละคร 2. ห้ามใช้รัดเกล้ายอดเป็นเครื่องประดับ พันทาง เเละส่งเสริมให้เอกชนตั้งคณะละคร อย่างแพร่หลายแล้ว ละครคณะใดที่มีชื่อเสียง ศีรษะ แสดงได้ดีพระองค์ทรงเสด็จมาทอดพระเนตร 3. ห้ามใช้เครื่องประกอบการแสดงที่เป็น และโปรดเกล้าฯให้แสดงในพระราชฐานเพื่อ พานทอง,หีบทอง เป็นการต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง 4. ห้ามเป่าแตรสังข์ 5. หัวช้างที่เป็นอุปกรณ์ในการแสดงห้ามใช้สี 10 เผือก ยกเว้นช้างเอราวัณ
การแสดงนาฎศิลป์,โขน,ละคร จัดอยู่ใน หลวงวิจิตรวาทการอธิบดีคนแรกของกรม การดูแลของกรมศิลปากร ได้เกิดละครรูป ศิลปากรได้ฟื้ นฟูเปลี่ยนแปลงการแสดงโขน แบบใหม่เรียกว่า ละครหลวงวิจิตรวาทการ ละครในรูปแบบใหม่ โดยจัดตั้งโรงเรียนนาฏ เป็นละครที่มีแนวคิดปลุกใจให้รักชาติ บาง ดุริยางคศาสตร์ขึ้น เพื่อให้การศึกษาทั้งด้าน ศิลปะและสามัญยกระดับศิลปินให้ทัดเทียมกัน เรื่องเป็นละครพูด นานาประเทศ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา ประสมภาวะเศรษฐกิจตกต่ำการเมืองเกิดการ อานันทมหิดล(รัชกาลที่8) คับขันจึงได้ปรับปรุงระบบบริหารราชการ กระทรวงวังครั้งใหญ่ การช่างจึงย้ายไปใน พระองค์เป็นราชาแห่งศิลปิน มีประสบการณ์ สังกัดของกรมศิลปากร โขนกรมมหรสพ ด้านละครพูดแบบตะวันตก แต่ทรงมีพระราช กระทรวงวังจึงกลายเป็นโขนกรมศิลปากร ปณิธานอันแรงกล้าที่จะทรงไว้ซึ่ง\"ความเป็น สมัยนี้มีละครแนวใหม่เกิดขึ้นเรียกว่า ละครจัน ไทย\"และดนตรีปี่ พาทย์ ทรงพระราชทาน ทโรภาส บรรดาศักดิ์ให้แก่ศิลปินโขนที่มีฝีมือให้เป็น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้า ขุนนาง อยู่หัว(ราชกาลที่7) พระบาทสมเด็จพระมงกฎุเกล้า เจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่6) สมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมูิ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหา พลอดุลยเดชมหาราช(รัชกาลที่9) วชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีการปลูกฝังจิตสำนึกในการ (รัชกาลที่10) อนุรักษ์,สืบสาน,สืบทอดและพัฒนาศิลปะการ แสดงของชาติผ่านการเรียนการสอนในระดับ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้จัดการแสดง การศึกษาทุกระดับ มีสถาบันเปิดสอนวิชาการ นาฏศิลป์,โขน,ละคร,ระบำ ,รำ,ฟ้อน เพื่อ ละครเพิ่มขึ้นทั้งของรัฐและเอกชน มีรูปแบบใน เป็นการสืบสานพระราชปณิธานในพระราชบิดา การแสดงละครไทยที่หลากหลายให้เลือกชม และพระราชมารดาที่ทรงส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรมของประเทศชาติและเพื่อให้ พระองค์โปรดเกล้ าฯให้บันทึกภาพยนตร์สี ประชาชนชาวไทยได้รับความสุข สนุกสนาน ส่วนพระองค์ บันทึกท่ารำเพลงหน้าพาทย์องค์ พระพิราพท่ารำเพลงหน้าพาทย์ของพระนาง เนื่องในโอกาสต่างๆ ยักษ์ลิง โปรดเกล้าฯให้จัดพิธีไหว้ครู 11
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: