Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2L4E Model

2L4E Model

Published by น้ำมนต์ ค้าธัญญะ, 2021-09-14 03:42:35

Description: 2L4E Model

Search

Read the Text Version

การจัดการเรียนรู้เพื่อพฒั นาทกั ษะและกระบ1วนการ ทางคณติ ศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL ประเภทผู้สมคั ร : ครูผู้สอน ประเภทนวตั กรรม : นวตั กรรมด้านการจัดการเรียนรู้แบบทั่วไป (ครูผู้สอน) นวตั กรรมด้านการจดั การเรียนรู้แบบออนไลน์ (ครูผู้สอน) นางสาวนา้ มนต์ ค้าธัญญะ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนเนินขามรัฐประชานุเคราะห์ ตาบลเนินขาม อาเภอเนินขาม สังกดั สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาอทุ ัยธานี ชัยนาท

ก คำนำ เอกสารฉบับน้ีได้จดั ทาข้นึ เพื่อเป็นการนาเสนอผลงานหรือนวตั กรรม วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านท่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) วชิ า คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ซ่ึงไดน้ าเสนอถึง ความสาคัญ ของผลงานหรือนวตั กรรม จุดประสงคแ์ ละเป้าหมายของการดาเนนิ งาน การจดั การเรียนร้เู พือ่ พฒั นา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL อันประกอบไปด้วย ขัน้ ตอนท่ี 1 : L1 (Link) ข้ันตอนท่ี 2 : L2 (Learning) ขนั้ ตอนที่ 3 : E1 (Exchange) ข้นั ตอนท่ี 4 : E2 (Extract) ขนั้ ตอนที่ 5 : E3 (Exam) และขน้ั ตอนที่ 6 : E4 (Export) รวมทั้งได้นาเสนอผลการดาเนนิ งาน ปจั จยั ความสาเร็จ บทเรียนทีไ่ ด้รับ และการเผยแพร่ เพื่อเป็นเอกสารประกอบการคัดเลือกผลงานหรือ นวัตกรรม วิธกี ารปฏบิ ัติทเี่ ป็นเลศิ ผ้นู าเสนอหวงั เปน็ อยา่ งยิ่งว่า เอกสารฉบบั น้ีคงจะช่วยอานวยความ สะดวกให้กบั คณะกรรมการประเมินผลงานหรือนวตั กรรม วิธีการปฏบิ ัตทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) ได้ เปน็ อยา่ งดี น้ามนต์ คา้ ธัญญะ

สำรบญั ข เรื่อง หนำ้ ก คานา ข สารบัญ 2 1. ความสาคัญของนวัตกรรม/วิธีปฏบิ ตั ิที่เปน็ เลิศ 2 2. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน 3 3. ขั้นตอนการดาเนนิ งานพฒั นานวตั กรรม 6 4. ผลการดาเนินงาน/ประโยชนท์ ่ีได้รบั 6 5. ปจั จัยความสาเร็จ 7 6. บทเรียนที่ไดร้ บั 8 7. การเผยแพร/่ การได้รบั การยอมรับ 9 ภาคผนวก เอกสารอา้ งอิง

1 รำยงำนกำรประกวดนวตั กรรม/วิธปี ฏิบตั ิทเ่ี ปน็ เลิศ(Best Practices) เพื่อสง่ เสริมกำรพัฒนำศกั ยภำพผู้เรยี นในโลกศตวรรษที่ 21 (Chainat Innovation Awards) ปีกำรศึกษำ 2564 ...................................... ชอ่ื ผลงำน การจดั การเรียนรูเ้ พอ่ื พัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL ชอ่ื ผเู้ สนอผลงำน นางสาวนา้ มนต์ ค้าธัญญะ ครผู ู้ช่วย ตาแหนง่ เนนิ ขามรัฐประชานุเคราะห์ โรงเรียน 093 - 5681133 หมายเลขโทรศัพท์ [email protected] E-Mail ประเภทผสู้ มัคร  สถานศึกษา  ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา  รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา  ครูผู้สอน ประเภทนวัตกรรม  นวตั กรรมดา้ นการบริหารจัดการ (สถานศึกษา/ผู้อานวยสถานศกึ ษา/รองฯ)  นวัตกรรมด้านการจดั การเรยี นรู้แบบท่วั ไป (ครผู ู้สอน)  นวัตกรรมด้านการจดั การเรียนรูแ้ บบออนไลน์ (ครผู ู้สอน)

2 1. ควำมสำคญั ของนวัตกรรม/วิธปี ฏิบัตทิ ีเ่ ปน็ เลิศ คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งต่อความสาเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากคณิตศาสตร์ ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบ แผน สามารถวิเคราะหป์ ัญหา หรอื สถานการณ์ไดอ้ ยา่ งรอบคอบและถถ่ี ้วน ช่วยใหค้ าดการณ์ วางแผน ตดั สินใจ แก้ปญั หา ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และสามารถนาไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือ ในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อ่ืน ๆ อันเป็นรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติให้มีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ใหท้ ดั เทียมกับนานาชาติ ความมุ่งหมายหนึ่งของการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) คือการพัฒนา ผู้เรียนให้เกิดทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ การแก้ปัญหา การสื่อสารและ การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ การเชื่อมโยง การให้เหตุผล และการคิดสร้างสรรค์ ซ่ึงเป็น ความสามารถของผู้เรียนท่ีจะนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เพ่ือให้ได้มาซึ่งความรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทักษะการเช่ือมโยงทาง คณิตศาสตร์ ท้ังน้ีเนื่องจากผู้เรียนที่มองเห็นการเช่ือมโยงทางคณิตศาสตร์ จะมองเห็นความสัมพันธ์ ของเนื้อหาต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดทางคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ ผู้เรียนจะเข้าใจเนอื้ หาทางคณิตศาสตรไ์ ด้อย่างลกึ ซึ้ง และมีความคงทนในการเรียนรู้ ตลอดจนเห็นว่า คณิตศาสตร์มีคณุ คา่ น่าสนใจ และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงได้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จึงมุ่งจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิด ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพือ่ ให้ผู้เรยี นเขา้ ใจเนื้อหาทางคณติ ศาสตร์ได้อยา่ งลกึ ซึ้งและ ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจรงิ ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ตลอดจนสนองความมงุ่ หมายหน่ึงของการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตอ่ ไป 2. วัตถุประสงค์และเปำ้ หมำยของกำรดำเนินงำน 2.1 วัตถุประสงค์ของกำรดำเนนิ งำน 1) เพอื่ ให้ผู้เรยี นมที ักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 2) เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นเขา้ ใจเนือ้ หาทางคณติ ศาสตร์ได้อยา่ งลึกซึ้ง 3) เพ่อื ให้ผู้เรียนนาความรไู้ ปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

3 2.2 เป้ำหมำยของกำรดำเนนิ งำน 1) ผู้เรียนมที กั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ เขา้ ใจเนือ้ หาทางคณิตศาสตร์ ไดอ้ ยา่ งลกึ ซ้งึ และนาความรู้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจริงได้ 2) ครไู ดก้ ระบวนการมาพัฒนาในการจัดการเรียนการสอนและเกิดการพัฒนาใน วชิ าชพี 3) ผู้บรหิ ารได้แนวทางในการพัฒนากลยุทธน์ ามาบริหารสถานศกึ ษา 4) สถานศึกษาไดร้ บั การยอมรบั จากชมุ ชน และเปน็ แนวทางให้สถานศึกษาอนื่ ๆ 3. ขนั้ ตอนกำรดำเนินงำนพฒั นำนวัตกรรม การจัดการเรียนร้เู พ่อื พัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL โดยมขี ้นั ตอนการดาเนนิ งานดังนี้ ภำพที่ 1 แสดงกำรใช้นวัตกรรมเพือ่ กำรพัฒนำคณุ ภำพผเู้ รียน

4 2L4E MODEL ข้ันตอนท่ี 1 L1 : Link : การเชอ่ื มโยงคณติ ศาสตร์ท่พี บเหน็ ในชีวิตจริง เพื่อชน้ี าเหตุผล ในการเรียนรู้ ขั้นตอนท่ี 2 L2 : Learning : ครอู อกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ก่อให้เกดิ ทักษะ การแก้ปัญหา และการให้เหตุผล ขน้ั ตอนที่ 3 E1 : Exchange : การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ อันได้แก่ ครูสนทนากับผ้เู รียน และผู้เรียนสนทนากบั ผเู้ รียน เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจของตวั ผูเ้ รียนเอง กอ่ ใหเ้ กิดทักษะการส่อื สาร และการส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์ ขน้ั ตอนท่ี 4 E2 : Extract : ผเู้ รยี นสรปุ ความรู้ตามความเขา้ ใจของตนเอง โดย พจิ ารณาจากการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ และการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ก่อให้เกิดทักษะการคิดสรา้ งสรรค์ ขน้ั ตอนที่ 5 E3 : Exam : การสอบเพอ่ื วดั และประเมินผล ขน้ั ตอนท่ี 6 E4 : Export : การเช่อื มโยงความรกู้ ลบั ไปสูช่ วี ิตจริง กอ่ ใหเ้ กดิ ทักษะการ เชื่อมโยง ขนั้ ตอนของกำรวำงแผน (Plan) ได้แก่ 1) วเิ คราะหผ์ ูเ้ รียนเปน็ รายบคุ คลในวชิ าคณิตศาสตร์ 2) ศึกษาหลักสตู รสถานศึกษา 3) จัดทาแผนการจดั การเรียนรแู้ ละออกแบบกิจกรรม 4) พัฒนาส่อื ที่ใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน 5) จดั เตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ ขั้นตอนดำเนินงำน (Do) การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL มีขั้นตอนการดาเนินการภายใต้รูปแบบหรือแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาของโรงเรียน เนนิ ขามรฐั ประชานุเคราะห์ 5T MODEL ดงั น้ี

5 ภำพที่ 2 แสดงกำรใชน้ วตั กรรมจัดกำรเรยี นกำรสอน โดยใช้ 2L4E MODEL ภำยใต้รปู แบบหรอื แนวทำงกำรพัฒนำสถำนศกึ ษำ 5T MODEL ขน้ั ตอนตรวจสอบ (Check) ได้แก่ 1) การนิเทศ กากับ ติดตาม วัดและประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน 2) จัดทาเอกสารสรปุ รายงานผลการจดั การเรียนการสอน 3) การจัดนทิ รรศการผลงานของผ้เู รยี นในโอกาสต่าง ๆ

6 ข้ันตอนกำรปรับปรุงและพัฒนำ (Act) ได้แก่ ผู้เรียนสามารถนาความรู้มา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และสามารถแลกเปล่ียนเรียนรู้กับผู้เรียนต่างห้องเรียน ต่างช้ันเรียน และต่าง สถาบัน การสร้างเครอื ข่ายกบั โรงเรียนเครือข่าย 4. ผลกำรดำเนนิ งำน/ประโยชน์ทไี่ ดร้ บั ในการนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดย ใช้ 2L4E MODEL ส่งผลให้ผู้เรยี น ครู ผูบ้ รหิ าร และสถานศึกษา เกดิ ภาพความสาเรจ็ ดังน้ี 1) ผู้เรียนเกิดทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หลังจากดาเนินการตาม แผนการจดั การเรียนรู้ โดยใช้ 2L4E MODEL 2) ครูมีแนวทางการจัดการเรียนรเู้ พ่ือพฒั นาทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 3) ผู้บริหาร และสถานศึกษามีนวัตกรรมในการพัฒนาทักษะและกระบวนการทาง คณติ ศาสตร์ของผเู้ รยี น 5. ปัจจยั ควำมสำเร็จ ในการจัดการเรียนร้เู พื่อพฒั นาทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL ไดม้ ุง่ เน้นการมสี ว่ นรว่ มของบุคคลที่เก่ยี วขอ้ งดังน้ี 1) ผู้เรียนมีความพร้อมในการเรียนรู้ รักการเรียนรู้ รู้จักการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง นาไปสูก่ ารสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ใหค้ วามร่วมมือในการพัฒนานวัตกรรม รว่ มกิจกรรมท่ี โรงเรยี นจดั ข้ึนด้วยความเตม็ ใจ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่จัดพฒั นาตนเอง 2) ครมู คี วามรู้ความเข้าใจในการพฒั นาคุณภาพผ้เู รียนร่วมใจกนั อยา่ งเต็มท่ีและเต็มใจ นาความรู้มาพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนและการออกแบบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณภาพยิ่งขึ้น อุทิศตนเพื่อการพัฒนาผู้เรียนท้ังในวันราชการและวันหยุด เสียสละงบประมาณ บางส่วนในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดกับผู้เรียน รักการเรียนรู้ รู้จักการปรับเปลี่ยนการ จัดการเรียนการสอน มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้ผู้เรียนการการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยใหค้ วามร่วมมือในการพฒั นานวัตกรรม 3) ผู้บริหารสถานศึกษาให้การสนับสนุน ส่งเสริม นิเทศ กากับติดตามและให้ขวัญ กาลังใจอย่างเต็มท่ี ให้คาปรึกษาอย่างต่อเน่ือง ร่วมประชุมเพื่อรับฟังความก้าวหน้าในการพัฒนา ผู้เรียน จัดหางบประมาณและส่ือการเรียนการสอนในการสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมการพัฒนา แหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาและภายนอกสถานศึกษา ประสานชุมชนในการ จดั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนอย่างตอ่ เนือ่ ง

7 4) ผู้ปกครอง ชุมชน เช่ือมั่นและศรัทธา ให้การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนมี ส่วนร่วมในการให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนานวัตกรรม ร่วมสนับสนุนงบประมาณในการ ดาเนินกจิ กรรม 5) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้การสนับสนุน ส่งเสริม มีส่วนร่วมในการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องมีส่วนร่วมในการวางแผน การดาเนินงาน การประเมินผลและการสรุปผล ให้ขอ เสนอแนะในการพัฒนางาน 6) ชุมชน หนว่ ยงานภาครฐั และภาคเอกชน การประเมินผลและการสรุปผล ให้ขอ เสนอแนะในการพัฒนางาน 6. บทเรียนที่ไดร้ บั การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL อย่างต่อเน่ืองส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายท่รี ะบุไดค้ รบถ้วนดังน้ี บทเรียนท่ีได้รบั (Lesson Learned) การจัดการเรยี นรูเ้ พอ่ื พัฒนาทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL สรปุ สิ่งท่ีเรยี นรู้และพัฒนานวัตกรรมให้ดีขึน้ ดงั น้ี 1) จากการที่ผู้บริหาร ครู และผู้เรียน ให้ความสาคัญเร่ืองการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ 2L4E MODEL ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์อย่างชัดเจน ครูและ ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ เอาใจใส่ในนวัตกรรม “การจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL” มากข้ึน ส่งผลให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาทาง คณิตศาสตร์ได้อย่างลึกซึ้ง และประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครูได้กระบวนการมา พัฒนาในการจัดการเรียนการสอน เกิดการพัฒนาในวิชาชพี สถานศึกษา ได้รับการยอมรับจากชมุ ชน เป็นแนวทางใหก้ บั สถานศกึ ษาอ่ืนๆ 2) ความสาเร็จของนวัตกรรม “การจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL” นอกจากจะต้องมีระบบการบริหารจัดการท่ีดีแล้ว ยังขึ้นอยู่กับ วสิ ยั ทัศน์และความทุ่มเทของผู้บรหิ ารและครอู ย่างจริงจังจงึ จะประสบความสาเรจ็ ได้อย่างยงั่ ยืน

8 7. กำรเผยแพร่/กำรไดร้ ับกำรยอมรับ กำรเผยแพร่ 1) ประชาสัมพันธ์นวัตกรรม “การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL”เพื่อสรา้ งเครือขา่ ย 2) จัดนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการของโรงเรียน และเผยแพร่นวัตกรรม “การ จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL” ให้เป็น กิจกรรมส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ทางคณติ ศาสตร์อย่างสรา้ งสรรค์ 3) เผยแพร่นวัตกรรม “การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL” ผา่ นทางเว็บไซต์ของโรงเรยี น และ ทาง Facebook กำรได้รบั กำรยอมรบั การจัดการเรยี นรู้เพือ่ พัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL ได้รับการนเิ ทศการจัดการเรียนร้จู ากครผู ู้ทรงคุณวุฒิ หวั หน้าฝา่ ย และผบู้ ริหารสถานศกึ ษา และได้รับขอ้ เสนอแนะ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาตอ่ ไป ขอรบั รองวา่ รายงานนวัตกรรม/วิธีปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลศิ (Best Practices) เร่อื ง การจัดการเรียนรเู้ พ่ือ พัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL ของนางสาวนา้ มนต์ ค้าธัญญะ สังกดั สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอุทยั ธานี ชยั นาทฉบบั นี้ เปน็ ผลงานที่เกิดจากการปฏบิ ัติงาน ในหนา้ ท่ี ไมเ่ ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาเพอื่ รับปรญิ ญาใด ๆ หรอื เปน็ ผลงานทางวชิ าการเพ่อื ขอมหี รือเล่ือน วิทยฐานะ และเป็นผลงานที่ดาเนนิ การมาแลว้ ในปีการศึกษา 2563 ถงึ 2564 และไมเ่ คยไดร้ ับรางวลั ใน ระดบั ประเทศหรือเทยี บเท่ามาก่อน ลงช่ือ ....................................... ผสู้ มัคร (นางสาวนา้ มนต์ ค้าธัญญะ) ตาแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย วันท่ี 25 เดอื น สิงหาคม 2564

9 ภำคผนวก - ตวั อยา่ งแผนการจัดการเรียนรู้แบบทวั่ ไปเพ่ือพฒั นาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL - ตวั อย่างแผนการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์เพอ่ื พฒั นาทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL

10 ตัวอยำ่ งแผนกำรจัดกำรเรียนรู้แบบท่วั ไปเพอื่ พัฒนำทกั ษะและกระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL

11 แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี 1 โรงเรยี นเนนิ ขำมรัฐประชำนุเครำะห์ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ คณติ ศำสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษำปที ี่ 5 วิชำคณติ ศำสตร์เพ่ิมเติม รหสั วิชำ ค 32201 ภำคเรยี นที่ 1 ปกี ำรศึกษำ 2564 เวลำ 3 คำบ หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ 1 ฟังกช์ ันตรีโกณมติ ิ เรื่อง กำรหำคำ่ sin Ө cos Ө และ tan Ө โดยใช้กฎมือซำ้ ย ผ้สู อน : นำงสำวนำ้ มนต์ ค้ำธญั ญะ วนั ที่สอน 16 - 18 มิถนุ ำยน 2564 1. สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระที่ 1 สำระจำนวนและพีชคณติ 2. มำตรฐำน/ตัวช้วี ัด/ผลกำรเรยี นรู้ มำตรฐำน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะหแ์ บบรูป ความสมั พันธ์ ฟงั กช์ ัน ลาดับและอนุกรม และ นาไปใช้ ผลกำรเรียนรู้ ม.5/1 เข้าใจฟงั กช์ นั ตรโี กณมติ ิและลกั ษณะกราฟของฟงั ก์ชนั ตรีโกณมติ ิ และ นาไปใช้ในการแกป้ ัญหา 3. สำระสำคัญ/ ควำมคิดรวบยอด

12 4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 4.1 ความสามารถในการสอื่ สาร 4.2 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทักษะการคิดเป็นระบบ 4.3 ความสามารถในการแก้ปญั หา 5. ทกั ษะและกระบวนกำรทำงคณติ ศำสตร์ 5.1 การแกป้ ัญหา 5.2 การสอ่ื สารและการส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ 5.3 การเช่ือมโยง 5.4 การใหเ้ หตุผล 5.5 การคิดสร้างสรรค์ 6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 6.1 ความมวี ินัย 6.2 ความใฝ่เรยี นรู้ 6.3 ความมุ่งมน่ั ในการทางาน 7. จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 7.1 ควำมรู้ (K) - นกั เรียนสามารถระบุคา่ sin Ө cos Ө และ tan Ө จากการใชก้ ฎมือซา้ ยได้

13 7.2 กระบวนกำร (P) - นักเรยี นสามารถอธบิ ายวิธีการหาคา่ sin Ө cos Ө และ tan Ө จากการใชก้ ฎมือซ้ายได้ 7.3 คณุ ธรรม จริยธรรม / คำ่ นยิ มอันพึงประสงค์ (A) - นักเรยี นสามารถทางานได้ดว้ ยตนเอง - นกั เรยี นสามารถทางานเสร็จตามเวลาท่ีกาหนด 8. กิจกรรมกำรเรยี นรู้ 8.1 ขนั้ กำหนดเปำ้ หมำย (T1 = Target) ครูตง้ั เปา้ หมายทจ่ี ะเกดิ จากการเรยี นรู้ โดยกาหนดเป็นจุดประสงค์การเรยี นรู้ 8.2 ขัน้ กำรวเิ ครำะหร์ ำยวิชำ (T2 = Tasks of Students analysis) ครวู เิ คราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ และวิเคราะหค์ วามสามารถผเู้ รยี น ครกู าหนดรปู แบบการ สอนทเี่ หมาะสม คือ การจัดการเรยี นการสอนแบบกิจกรรม 8.3 ขนั้ กำรสอน (T3 = Teaching) 8.3.1 ขนั้ ตอนท่ี 1 : L1 (Link) ครูกาหนดตวั อย่างในชวี ิตจริง ดังนี้ สมมตใิ ห้นักเรียนยนื อยู่หา่ งจากเสาธง 12 เมตร นกั เรียนมองไปยังยอดเสาธงทามมุ 45 องศา กบั ระดบั สายตา ถา้ นกั เรยี นสงู 1.5 เมตร เสาธงสงู เทา่ ใด จากโจทย์ ครูอธิบายว่า “นักเรียนสามารถทราบความสงู ของเสาธงได้ โดยไมต่ ้องข้ึนไปวัดความสงู ด้วย ตนเอง เพียงเราใชค้ วามรู้เก่ียวกบั ตรีโกณมติ ิมาชว่ ยในการหา ซึ่งค่าทนี่ ักเรยี นจาเปน็ ต้องรจู้ กั ได้แก่ ค่า sin Ө cos Ө และ tan Ө โดยมวี ิธกี ารหาดังตอ่ ไปนี้”

14 8.3.2 ขนั้ ตอนท่ี 2 : L2 (Learning) 1. นกั เรียนดูคลปิ วดิ โี อ เรื่อง การหาค่า sin Ө cos Ө และ tan Ө โดยใช้กฎมอื ซ้าย 2. นักเรยี นและครรู ่วมกันหาค่า sin Ө cos Ө และ tan Ө โดยใช้กฎมอื ซา้ ย 8.3.3 ขน้ั ตอนท่ี 3 : E1 (Exchange) 1. นักเรยี นจบั กลมุ่ 3 คน ทบทวนวธิ กี ารหาคา่ sin Ө cos Ө และ tan Ө 2. ครกู าหนด sin Ө cos Ө และ tan Ө บนกระดาน และสุ่มนกั เรียนบอกคา่ sin Ө cos Ө และ tan Ө แตล่ ะข้อ อธิบายข้อสงสัย และใหข้ ้อเสนอแนะเพิ่มเติมแกน่ ักเรียน 8.4 ขัน้ กำรตวิ เพื่อเตรยี มสอบ (T4 = Tutoring) 8.4.1 ขน้ั ตอนที่ 4 : E2 (Extract) นักเรียนสรุปความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับการหาคา่ sin Ө cos Ө และ tan Ө โดยใช้กฎมอื ซ้าย เปน็ ของตนเอง 8.5 ขน้ั กำรทดสอบ (T5 = Test) 8.5.1 ขน้ั ตอนที่ 5 : E3 (Exam) กาหนดเวลา 20 นาที นกั เรียนทาแบบทดสอบออนไลน์ด้วยตนเองในห้องเรยี น 8.5.2 ขั้นตอนที่ 6 : E4 (Export) นักเรียนและครนู าความรูเ้ กย่ี วกับการหาคา่ sin Ө cos Ө และ tan Ө โดยใชก้ ฎมอื ซ้าย มาประยุกตใ์ ช้กับโจทย์ปัญหาเดมิ ดงั น้ี สมมติให้นักเรียนยืนอยู่หา่ งจากเสาธง 12 เมตร นักเรียนมองไปยังยอดเสาธงทามุม 45 องศา กับระดับสายตา ถา้ นกั เรยี นสงู 1.5 เมตร เสาธงสงู เท่าใด วธิ ีทา จาก tan 45 = ความยาวด้านตรงข้ามมมุ 45 ความยาวด้านประกอบมมุ 45

15 กาหนดให้ x แทน ความยาวด้านตรงขา้ มมุม 45 องศา จาก ความสูงของเสาธง = x + ความสงู ของนกั เรยี น หาคา่ x ; tan 45 = ������ 1= ระยะหา่ งระหวา่ งนกั เรียนกบั เสาธง x= ������ 12 12 ดงั นั้น เสาธงสูง 12 + 1.5 = 13.5 เมตร 9. สอ่ื /แหล่งกำรเรียนรู้ - หนงั สอื เรยี นรายวิชาคณิตศาสตรเ์ พมิ่ เติม ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 เล่ม 1 - คลปิ วดิ ีโอ เรอ่ื ง การหาค่า sin Ө cos Ө และ tan Ө โดยใช้กฎมอื ซ้าย 10. ช้นิ งำน/ภำระงำน - แบบทดสอบ 11. กำรวัดและประเมนิ ผล วิธีกำรวัด เครื่องมอื ตวั ช้วี ัด/เกณฑ์ ควำมรู้ (K) แบบทดสอบ ผำ่ น นกั เรยี นไดค้ ะแนนตงั้ แต่ 5 ถงึ 10 คะแนน กระบวนกำร (P) ไมผ่ ่ำน นกั เรยี นได้คะแนนน้อยกว่า 5 คะแนน คณุ ธรรม การสังเกต 1 คะแนน นกั เรียนสามารถทางานไดด้ ้วยตนเองอยา่ งน้อยรอ้ ยละ 80 จรยิ ธรรม / 0 คะแนน นักเรียนสามารถทางานได้ดว้ ยตนเองน้อยกว่าร้อยละ 80 ค่ำนยิ มอันพึง ประสงค์ (A) 1 คะแนน นักเรยี นสามารถทางานเสร็จตามเวลาทกี่ าหนด 0 คะแนน นกั เรยี นไมส่ ามารถทางานเสรจ็ ตามเวลาที่กาหนด ระดบั คุณภำพ ผำ่ น นักเรียนได้ 2 คะแนน ไม่ผ่ำน นกั เรยี นได้ 0 - 1 คะแนน

16 โรงเรยี นเนนิ ขำมรฐั ประชำนุเครำะห์ แบบนเิ ทศกำกับติดตำมกำรจดั กำรเรียนรู้ ---------------------------------------------------------------------------- รำยวิชำทีส่ อน คณติ ศาสตร์เพม่ิ เติม ระดบั ช้ัน มัธยมศึกษาปที ี่ 5 วนั ท่ีสอน 16 - 18 มถิ นุ ายน 2564 (จานวน 3 คาบเรียน) ตัวช้ีวัด/ผลกำรเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะหแ์ บบรปู ความสมั พนั ธ์ ฟังกช์ ัน ลาดับและอนุกรม และ นาไปใช้ ผลการเรียนรู้ ม.5/1 เขา้ ใจฟังกช์ นั ตรีโกณมิติและลักษณะกราฟของฟังก์ชันตรโี กณมิติ และ นาไปใช้ในการแก้ปัญหา 1. ผลกำรสอน ☑สอนไดต้ ามแผนการจดั การเรยี นรู้ มีจุดประสงค์ K P A ☑มีการบูรณาการ คุณธรรม / การต้านการทุจรติ / หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ☐สอนไม่ได้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้ เนอ่ื งจาก …………………………………………. 2. ผลกำรเรยี นของนักเรยี น ☑จานวนนักเรียนทผ่ี ่านการประเมิน 27 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ☐จานวนนักเรียนทไี่ มผ่ ่านการประเมนิ 0 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0 3. ปัญหำและอุปสรรค ☐กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้ ไม่เหมาะสมกบั เวลา ☑มีนักเรียนทางาน/แบบทดสอบไม่ทนั ตามกาหนดเวลา ☑มนี กั เรยี นที่ไมส่ นใจเรียน 4. ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข ☐ควรนาแผนไปปรับปรุง เรอ่ื ง ............................................................................. ☑แนวทางแก้ไขนักเรียนท่ีไม่ผา่ นการประเมิน/ไมส่ นใจเรียน ไดแ้ ก่ ครสู ุ่มถามนักเรยี น เป็นระยะ ๆ เพ่อื กระตุ้นความสนใจ และขยายเวลาการส่งแบบทดสอบ ลงชื่อ ........................................... ผ้บู ันทกึ (นางสาวน้ามนต์ คา้ ธัญญะ) 18 / มิ.ย. / 2564

17 ภำพบรรยำกำศกำรจัดกำรเรยี นรใู้ นหอ้ งเรยี นแบบท่วั ไป

18 ภำพบรรยำกำศกำรจัดกำรเรยี นรใู้ นหอ้ งเรยี นแบบท่วั ไป

19 ตัวอยำ่ งแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้แบบออนไลน์เพื่อพัฒนำทักษะและกระบวนกำรทำง คณิตศำสตร์ โดยใช้ 2L4E MODEL

20 แผนกำรจัดกำรเรียนรทู้ ี่ 7 โรงเรยี นเนนิ ขำมรฐั ประชำนุเครำะห์ กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้ คณติ ศำสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษำปที ี่ 5 วชิ ำคณิตศำสตร์เพ่ิมเติม รหสั วิชำ ค 32201 ภำคเรยี นท่ี 1 ปีกำรศึกษำ 2564 เวลำ 7 คำบ หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ี่ 2 เมทรกิ ซ์ เร่ือง กำรหำคำตอบของระบบสมกำรเชิงเส้นโดยใชเ้ มทรกิ ซผ์ กผนั และกำรดำเนินกำรตำมแถว ผสู้ อน : นำงสำวน้ำมนต์ ค้ำธญั ญะ วนั ทีส่ อน 19 - 24 สงิ หำคม 2564 1. สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง สำระท่ี 1 สำระจำนวนและพีชคณิต 2. มำตรฐำน/ตัวชว้ี ดั /ผลกำรเรียนรู้ มำตรฐำน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสมั พนั ธ์หรอื ชว่ ย แกป้ ัญหาท่ีกาหนดให้ ผลกำรเรยี นรู้ ม.5/4 หาเมทริกซ์ผกผันของเมทริกซ์ 2 x 2 ผลกำรเรยี นรู้ ม.5/5 แก้ระบบสมการเชงิ เส้นโดยใช้เมทริกซ์ผกผันและการดาเนนิ การตาม แถว 3. สำระสำคัญ/ ควำมคิดรวบยอด กำรหำเมทริกซ์ผกผันของเมทรกิ ซ์

21 กำรแกร้ ะบบสมกำรเชิงเสน้ โดยใชเ้ มทรกิ ซผ์ กผัน

22 กำรแกร้ ะบบสมกำรเชิงเสน้ โดยใช้กำรดำเนินกำรตำมแถว 4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ - ทกั ษะการคดิ เปน็ ระบบ 4.3 ความสามารถในการแก้ปญั หา 5. ทักษะและกระบวนกำรทำงคณติ ศำสตร์ 5.1 การแก้ปัญหา 5.2 การสอ่ื สารและการส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์ 5.3 การเชอ่ื มโยง 5.4 การให้เหตุผล 5.5 การคิดสรา้ งสรรค์ 6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 6.1 ความมีวินัย 6.2 ความใฝ่เรียนรู้

23 6.3 ความมงุ่ ม่นั ในการทางาน 7. จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 7.1 ควำมรู้ (K) - นกั เรียนสามารถระบเุ ซตคาตอบของระบบสมการเชงิ เส้นได้ 7.2 กระบวนกำร (P) - นกั เรียนสามารถเขยี นแสดงวธิ กี ารหาเซตคาตอบของระบบสมการเชงิ เส้นได้ 7.3 คุณธรรม จริยธรรม / ค่ำนิยมอันพงึ ประสงค์ (A) - นักเรียนสามารถทางานได้ด้วยตนเอง - นกั เรยี นสามารถทางานเสรจ็ ตามเวลาทก่ี าหนด 8. กิจกรรมกำรเรยี นรู้ 8.1 ข้นั กำหนดเปำ้ หมำย (T1 = TARGET) ครตู ัง้ เป้าหมายที่จะเกิดจากการเรยี นรู้ โดยกาหนดเปน็ จุดประสงค์การเรียนรู้ 8.2 ข้ันกำรวเิ ครำะหร์ ำยวิชำ (T2 = Tasks of Students analysis) ครวู เิ คราะหจ์ ดุ ประสงค์การเรียนรู้ และวิเคราะหค์ วามสามารถผเู้ รียน ครกู าหนดรปู แบบการ สอนท่ีเหมาะสม คือ การจัดการเรียนการสอนแบบสาธิต 8.3 ข้ันกำรสอน (T3 = Teaching) 8.3.1 ข้ันตอนท่ี 1 : L1 (Link) 1. ครูยกตวั อยา่ งระบบสมการเชงิ เสน้ สองตวั แปร นักเรยี นและครูรว่ มกันหาคาตอบของ ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยวธิ กี าจัดตัวแปร ผา่ นทาง Google meet 2. ครูกาหนดระบบสมการเชงิ เสน้ สามตัวแปร และถามนักเรยี นวา่ “นกั เรียนคดิ ว่า ระบบ สมการเชิงเสน้ สามตวั แปร หรือหลาย ๆ ตัวแปร เราจะใช้วิธีใดในการหาคาตอบของระบบสมการ” 3. ครูอธิบายว่า “ในการหาคาตอบของระบบสมการเชิงเส้นท่ีมมี ากกวา่ สองตัวแปร เรา สามารถใช้วิธีกาจดั ตัวแปรได้ แตจ่ ะซบั ซ้อนมาก ๆ ดงั นั้น ครูจะแนะนาอีกวธิ หี น่ึงที่สามารถนามาใช้ใน การหาคาตอบของระบบสมการ นัน่ คอื การใช้เมทรกิ ซ์”

24 8.3.2 ขน้ั ตอนที่ 2 : L2 (Learning) 1. ครอู ธิบายเกยี่ วกบั วิธกี ารหาคาตอบของระบบสมการเชงิ เส้นโดยใช้เมทรกิ ซ์ผกผนั และ การดาเนนิ การตามแถว ผ่านทาง Google meet 2. นกั เรยี นบันทกึ ความรู้ทไี่ ด้รบั ลงในสมดุ และทาความเข้าใจดว้ ยตนเอง 8.3.3 ขน้ั ตอนที่ 3 : E1 (Exchange) 1. นักเรยี นซักถามข้อสงสยั ครูให้คาปรึกษา นกั เรยี นและครทู าแบบฝึกหดั ร่วมกัน ผา่ นทาง Google meet 2. ครกู าหนดแบบฝึกหดั 3 ขอ้ นักเรยี นทาแบบฝกึ หัดลงในสมดุ และถา่ ยรูปส่งครใู น Google classroom 8.4 ขนั้ กำรติวเพอ่ื เตรียมสอบ (T4 = Tutoring) 8.4.1 ข้ันตอนท่ี 4 : E2 (Extract) 1. นกั เรยี นและครูอภิปรายร่วมกนั เกยี่ วกับวธิ ีการหาคาตอบของระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้ เมทรกิ ซผ์ กผัน และการดาเนินการตามแถว ผ่านทาง Google meet 2. นกั เรียนสรปุ ความเข้าใจเก่ียวกับวธิ กี ารหาคาตอบของระบบสมการเชิงเสน้ โดยใชเ้ มทริกซ์ ผกผัน และการดาเนินการตามแถว ด้วยตนเอง 8.5 ขน้ั กำรทดสอบ (T5 = Test) 8.5.1 ขน้ั ตอนที่ 5 : E3 (Exam) นกั เรียนทาแบบทดสอบรายบุคคลคนละ 1 ข้อ ถ่ายรปู สง่ ครใู น Line 8.5.2 ข้นั ตอนที่ 6 : E4 (Export) (แบบทดสอบรายบคุ คลขา้ งต้นเปน็ แบบทดสอบการหาคาตอบของระบบสมการเชงิ เสน้ หลาย ตวั แปร) 9. สอ่ื /แหลง่ กำรเรยี นรู้ - หนังสอื เรยี นรายวชิ าคณิตศาสตรเ์ พิม่ เติม ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 เล่ม 1 - เอกสารประกอบการเรยี น เร่อื ง เมทริกซ์ - Google classroom

25 10. ช้นิ งำน/ภำระงำน - แบบทดสอบ - แบบฝกึ หดั 11. กำรวดั และประเมินผล วธิ ีกำรวดั เครอื่ งมือ ตวั ช้ีวัด/เกณฑ์ ควำมรู้ (K) แบบทดสอบ 1 คะแนน นักเรียนได้คะแนนตั้งแต่ 5 ถงึ 10 คะแนน กระบวนกำร (P) 0 คะแนน นักเรยี นไดค้ ะแนนนอ้ ยกวา่ 5 คะแนน แบบฝกึ หัด 1 คะแนน นกั เรียนไดค้ ะแนนตัง้ แต่ 5 ถงึ 10 คะแนน 0 คะแนน นกั เรยี นได้คะแนนนอ้ ยกว่า 5 คะแนน ระดับคณุ ภำพ ผำ่ น นักเรียนได้ 2 คะแนน ไมผ่ ่ำน นักเรียนได้ 0 - 1 คะแนน คณุ ธรรม การสังเกต 1 คะแนน นักเรียนสามารถทางานได้ดว้ ยตนเองอย่างน้อยรอ้ ยละ 80 จรยิ ธรรม / 0 คะแนน นักเรียนสามารถทางานไดด้ ้วยตนเองน้อยกวา่ ร้อยละ 80 ค่ำนิยมอนั พึง ประสงค์ (A) 1 คะแนน นักเรยี นสามารถทางานเสรจ็ ตามเวลาที่กาหนด 0 คะแนน นักเรียนไมส่ ามารถทางานเสรจ็ ตามเวลาทกี่ าหนด ระดบั คณุ ภำพ ผำ่ น นักเรียนได้ 2 คะแนน ไมผ่ ำ่ น นกั เรียนได้ 0 - 1 คะแนน

26 โรงเรยี นเนินขำมรัฐประชำนุเครำะห์ แบบนิเทศกำกบั ติดตำมกำรจัดกำรเรยี นรู้ ---------------------------------------------------------------------------- รำยวิชำท่ีสอน คณิตศาสตร์เพิม่ เติม ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 วันที่สอน 19 - 24 สิงหาคม 2564 (จานวน 7 คาบเรยี น) ตวั ช้วี ัด/ผลกำรเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสมั พนั ธห์ รอื ช่วย แกป้ ัญหาที่กาหนดให้ ผลการเรยี นรู้ ม.5/4 หาเมทริกซ์ผกผนั ของเมทริกซ์ 2 x 2 ผลการเรียนรู้ ม.5/5 แก้ระบบสมการเชงิ เสน้ โดยใชเ้ มทรกิ ซ์ผกผนั และการดาเนนิ การตามแถว 1. ผลกำรสอน ☑ สอนได้ตามแผนการจัดการเรยี นรู้ มจี ดุ ประสงค์ K P A ☑ มกี ารบรู ณาการ คณุ ธรรม / การต้านการทจุ ริต / หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ☐ สอนไม่ได้ตามแผนการจดั การเรียนรู้ เนื่องจาก ………………………………………... 2. ผลกำรเรยี นของนักเรยี น ☑ จานวนนักเรยี นทผี่ า่ นการประเมนิ 27 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ☐ จานวนนักเรียนทไี่ ม่ผา่ นการประเมนิ 0 คน คดิ เป็นร้อยละ 0 3. ปญั หำและอุปสรรค ☐ กจิ กรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกบั เวลา ☑ มนี ักเรยี นทางาน/แบบทดสอบไม่ทนั ตามกาหนดเวลา ☑ มีนกั เรยี นทไ่ี มส่ นใจเรยี น 4. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข ☑ แนวทางแก้ไขนกั เรยี นทไี่ มผ่ ่านการประเมนิ /ไม่สนใจเรียน ไดแ้ ก่ ครสู มุ่ ถามนักเรยี น เป็นระยะ ๆ เพือ่ กระตุน้ ความสนใจ และขยายเวลาการส่งงาน/แบบทดสอบ ลงชือ่ ........................................... ผ้บู นั ทกึ (นางสาวน้ามนต์ ค้าธัญญะ) 24 / ส.ค. / 2564

27 ภำพบรรยำกำศกำรจัดกำรเรยี นรใู้ นห้องเรยี นแบบออนไลน์

28 ภำพบรรยำกำศกำรจัดกำรเรยี นรใู้ นห้องเรยี นแบบออนไลน์

1 เอกสำรอ้ำงอิง กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2560). ตวั ช้ีวัดและสำระกำรเรียนรู้แกนกลำงกลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ คณิตศำสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำข้ันพืน้ ฐำน พทุ ธศกั รำช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. โรงเรียนเนนิ ขามรฐั ประชานเุ คราะห์. (2563). รำยงำนผลกำรประเมินมำตรฐำนกำรปฏิบตั งิ ำน โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษำ ปกี ำรศึกษำ 2562. ชัยนาท โรงเรียนเนินขามรัฐประชานุเคราะห์. (2563). รำยงำนประจำปขี องสถำนศกึ ษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2562. ชยั นาท โรงเรยี นเนินขามรัฐประชานุเคราะห์. (2563). รำยงำนผลกำรดำเนินกำรโครงกำร TFE (Teams For Education) ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๓. ชยั นาท

2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook