Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Safety Manaul

Safety Manaul

Published by Safety room, 2019-03-11 03:16:56

Description: Safety Manaul

Search

Read the Text Version

30. กิจกรรมความปลอดภยั 30.1 กิจกรรมส่งเสรมิ ดา้ นความปลอดภยั 1. กิจกรรมการค้นหาอันตราย (CCCF ACTIVITY) CCCF = Completely Check Completely Find out วตั ถุประสงค์ 1. เปิดโอกาสให้พนกั งานแสดงความคิดเหน็ คน้ หาอันตราย และประเมนิ อนั ตราย จากงานและสถานที่ปฏบิ ตั ิงานของตนเอง 2. ตรวจสอบสถานที่และงานทงั้ หมดซึง่ อาจจะเกิดอันตราย และ แกไ้ ขใหอ้ นั ตราย หมดไป 3. สรา้ งจิตสานึกด้านความปลอดภัย โดยยดึ หลกั “Genchi-Genbutsu” โดย การไปดูและวิเคราะหป์ ญั หาในสถานทีท่ างานจริง 4. ปรับเปล่ียนวัฒนธรรมด้านความปลอดภัยเป็นป้องกนั ทีส่ าเหตกุ อ่ นเกิดอุบัติเหตุ ขอบเขตการคน้ หาอนั ตราย กิจกรรม CCCF มุ่งหวัง ให้พนักงานทุกคนสังเกตและค้นหาอันตรายจากงานท่ีตนเอง ปฏิบัติ ซึ่งงานท่ีกระทานั้น อาจมีหลาย ๆ งานด้วยกัน ในแต่ละวัน รวมถึงงานในวันหยุด โดยให้ พิจารณาให้ครอบคลมุ งานดังต่อไปนี้ 1. งานประจา (Routine) คือ งานทีท่ าประจาอย่างสม่าเสมอเช่น การใช้งาน คอมพวิ เตอร์,งานตรวจสอบช้ินงาน, ขบั รถยกส่งสินคา้ 2. งาน Low frequency job คือ งานท่นี าน ๆ จะทาซกั ครัง้ เช่น งานทาลาย เอกสารประจาเดอื น, การ Set up เครือ่ งจกั ร, งานทาความสะอาด 3. งาน Abnormal ทเ่ี กดิ ในงานประจา คือ ขณะปฏบิ ัติงานอยู่ และพบว่ามี ปญั หาเกิดความผิดปกตินอกเหนอื จากงานมาตรฐานท่กี าหนดหรือไมไ่ ด้ คาดหมายไว้ เช่น การตรวจสอบอปุ กรณ์เครื่องถ่ายเอกสารกรณตี ดิ ขดั , การเขา้ ไป ตรวจสอบชนิ้ งานติดในเครื่องจักร, การเข้าไปตรวจสอบ Robot ไม่จับชน้ิ งาน 4. งาน Maintenance คือ งานซ่อมบารุงรกั ษาเครอ่ื งจักร และ อุปกรณ์ เช่น งานตรวจสอบสภาพรถยนต์ของแผนก HR, การเติมน้ามันไฮดรอลิค เครอื่ งจกั ร ตรวจสอบสภาพโซเ่ ตมิ จาระบี เปน็ ตน้ คมู่ ือความปลอดภัย | 46

ข้ันตอนการทากจิ กรรม CCCF 1. พนักงานทาการค้นหาอันตรายจากงาน และ พื้นที่ โดยเฉพาะงานที่มีความถี่น้อย หรอื งานทไี่ ม่คอ่ ยไดป้ ฏบิ ัติ บนั ทึกในแบบฟอร์มค้นหาอนั ตราย (แบบฟอร์ม A) จดุ สาคัญในการค้นหาอนั ตราย คอื 1. ต้องชีบ้ ่งจุดอนั ตรายใหไ้ ดม้ ากทสี่ ุด 2. พฤติกรรมทีไ่ มป่ ลอดภยั เป็นสงิ่ ทีย่ ากในการคน้ หา ตอ้ งใช้ วธิ กี ารสังเกตการณ์เป็นระยะ ๆ 3. พยายามค้นหาอนั ตรายของงานทไ่ี ม่เป็นไปตามมาตรฐานการทางาน 2. นาอนั ตรายท่ีหาได้มาจัดประเภทอบุ ัตเิ หตตุ าม Stop 6 และจัดลาดบั ความสาคญั โดยแบง่ เปน็ 3 ระดับ คือ ระดับ A, B, และ C ลงในแบบฟอรม์ ลงทะเบียน (แบบฟอรม์ B) รับผิดชอบโดยหวั หนา้ งาน 3. แก้ไขอนั ตราย ทงั้ การปรบั ปรงุ ท่ีอุปกรณ์, กาหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานอย่าง ปลอดภัย และ อบรมใหค้ วามรูก้ ับพนักงาน รับผดิ ชอบโดยหัวหน้างาน 4. นาข้อมลู ที่แกไ้ ขมาจดั ทา Visual Control Board การแบ่งประเภทของอบุ ตั เิ หตุ มี 6 ประเภท ดงั น้ี 1. อนั ตรายจากเครื่องจกั ร 2. อนั ตรายจากวัตถหุ นกั ตกใส่ 3. อันตรายจากยานพาหนะ 4. อันตรายจากการตกจากทส่ี ูง 5. อนั ตรายจากกระแสไฟฟ้าดดู 6. อนื่ ๆ (ไฟไหม,้ ของมีคม, วัตถรุ ้อน, เป็นต้น) การประเมนิ ความรุนแรง (แบ่งเป็น 3 ระดับ) ระดบั A  บาดเจ็บ (หยดุ งาน) เสยี ชีวติ พิการ หรือสูญเสียอวยั วะ ระดบั B  บาดเจบ็ รบั การรกั ษาท่ีโรงพยาบาล(ไมห่ ยุดงาน) หรือหยุดการผลิต ระดบั C  บาดเจบ็ เล็กน้อย (ไม่หยดุ งาน) หรือไมห่ ยดุ การผลติ ค่มู ือความปลอดภัย | 47

30.2 กิจกรรมการหยง่ั รอู้ ันตราย (KYT) K (Ki ken) คเิ คน แปลว่า อนั ตราย Y (Yoshi) โยชิ แปลว่า คาดการณล์ ่วงหนา้ T (Training) แปลว่า ฝกึ อบรม KYT หมายถึง การวิเคราะหง์ านเพื่อความปลอดภัย โดยใชว้ ธิ ีการ อบรม ระดมสมองใหร้ จู้ กั การคาดการณถ์ ึงอันตรายท่ีอาจเกิดขนึ้ พร้อมทง้ั กาหนดวิธีการแก้ไขโดยการ เตอื นสติด้วยคาพูด อุบตั ิเหตเุ ป็น “0”…OK! วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือปอ้ งกันการเกิดอบุ ัติเหตุ 2. เพอ่ื สร้างจิตสานึกด้านความปลอดภัย 3. เพือ่ เพิ่มความสามารถในการคาดการณ์อนั ตรายลว่ งหน้า 4. เพื่อเตอื นสติกอ่ นปฏบิ ัตงิ าน เพอ่ื ขจดั ความผิดพลาดท่ีเกิดจากคน ผู้รบั ผดิ ชอบ 1. พนักงานทุกคนดาเนินการทา KY ก่อนเรม่ิ งาน 2. หัวหน้างานมีหนา้ ทต่ี รวจสอบการปฏิบตั ิ KY ของพนกั งาน ประโยชน์ การเตอื น สติ ก่อนการปฏิบตั ิ เพอื่ ป้องกันการ ผิดพลาด ที่เกดิ จากคน 1. ร้จู กั อนั ตราย 2. มีความระวงั มากข้นึ 3. คาดการณ์อนั ตรายล่วงหนา้ 4. เตอื นสติกอ่ นปฏบิ ัตงิ าน คู่มอื ความปลอดภัย | 48

ประเภทของ KYT มี 3 ประเภท 1. KYT 4 ข้ันตอน (4 ROUNDS KYT) 2. KYT จดุ เดียว (ONE POINT KYT) 3. KYT ปากเปล่า (ORAL KYT) 1. KYT 4 ข้นั ตอน (4 Rounds KYT) KYT 4 ข้ันตอน (4 ROUNDS KYT) วิธปี ฏบิ ัติ : ใชแ้ บบสารวจ (Check sheet) ในการวิเคราะห์หาอนั ตรายที่ แอบแฝงอยใู่ นงานนน้ั การนาไปใช้ : ใช้วเิ คราะห์งานที่มอี นั ตรายมาก มีอันตรายหลายอยา่ ง การวเิ คราะห์งาน ใชเ้ วลามาก (10 – 20 นาท)ี 2. KYT จดุ เดียว (One Point KYT) วธิ ีปฏบิ ตั ิ : ใชแ้ บบสารวจ (Check sheet) ในการวิเคราะหอ์ ันตราย แตเ่ ป็น แบบสารวจเพียงแผ่นเดียว การนาไปใช้ : ใช้กับงานท่ีไม่ย่งุ ยาก มอี นั ตรายนอ้ ย ใช้เวลาน้อย หรอื ใช้กับ จดุ ค่อนข้างอันตรายของงานน้นั เพยี งจดุ เดยี วกอ่ น 3. KYT ปากเปล่า (ORAL KYT) วธิ ีปฏิบตั ิ : การวิเคราะห์อันตรายจากภาพ และประสบการณ์ โดยใช้ปาก เปล่า และใช้เวลาไม่เกนิ 5 นาที ซ่ึงใช้หลักการของ 4 ROUNDS KYT การนาไปใช้ : ใช้วเิ คราะห์งานของผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน ท่จี ะต้องทางานบรเิ วณท่ี มี อนั ตราย หรือใชก้ บั งานที่มีอนั ตรายน้อย ซึง่ เปน็ งานประจาที่ทาอยู่ หลกั การ 1. ดูรูปหรอื สภาพงาน 2. หาอนั ตรายจากสาเหตุ 3. หามาตรการป้องกัน 4. เลอื กมาตรการป้องกัน ตะโกนเตือนตนกอ่ นทางาน คู่มือความปลอดภยั | 49

สรปุ KYT 4 ขน้ั ตอน ขน้ั ตอนที่ 1 (R1) วเิ คราะห์ หาอนั ตราย! และ สาเหตุจากรปู หรอื พื้นที่ ปฏบิ ัตงิ าน ประมาณ 6-8 ขอ้ ข้นั ตอนท่ี 2 (R2) เลอื กอันตรายท่ีสาคัญ จาก R1 ประมาณ 1-2 ข้อ แลว้ ทาเครื่องหมายหน้าข้อนนั้ ข้นั ตอนที่ 3 (R3) หามาตรการป้องกนั อนั ตราย ท่ีใช้ไดผ้ ลทนั ที จาก R2 ประมาณ 3 ข้อ ขนั้ ตอนที่ 4 (R4) เลือกมาตรการปอ้ งกนั จาก R3 แลว้ ทาเคร่อื งหมาย หนา้ ขอ้ น้ัน มอื ชี้ ปากย้า เตอื นสติ “คตพิ จนส์ ั้น ๆ .... OK.” ตวั อยา่ งการทา KYT มีอนั ตรายอะไรแอบแฝงอยู่ ในงานเคล่ือนย้ายสิ่งของจากชน้ั บนลงชนั้ ล่าง ลักษณะการทางาน ใช้มอื ทง้ั 2 ข้างถอื กล่องเดนิ ลงบนั ได… คมู่ ือความปลอดภัย | 50

รายงานการปฏิบตั ิ KYT ขั้นพ้ืนฐาน 4 ข้นั ตอน ข้ันที่ 1 (1R) หาอนั ตรายหรืออุบัตเิ หตทุ อี่ าจเกิดขน้ึ พรอ้ มสาเหตุจากรูปภาพ ขนั้ ที่ 2 (2R) เลือกอนั ตรายท่สี าคญั โดยการทาเคร่อื งหมาย/ ทห่ี ัวข้อ (1-2 ข้อ (1R) ลาดบั ขนั้ ที่ (1R) ขน้ั ท่ี 2 (2R) 1 ใชม้ อื ท้งั 2 ขา้ งถือกล่องขณะท่ีรบี ลงบนั ไดทาให้เท้าพลาดตกลงมา / 2. ขณะทถ่ี อื กลอ่ งอย่ทู าให้เสยี หลักตกลงมา 3. มอื ถอื กลอ่ งไมเ่ รียบร้อย กลอ่ งจะหลุดมอื ตกลงมาได้ 4. บนั ไดเลื่อนตกลงมาพรอ้ มตัวเรา 5 กล่องตกลงมาโดนคนขา้ งล่าง 6. ของทถี่ ืออยูห่ ล่นใส่เท้า 7. ถอื ของมากเกินไป ทาให้ทรงตัวไม่อยู่ พลัดตกบันไดได้ / 8. ขณะเออื้ มมือหยบิ กล่อง ทาใหบ้ นั ไดล้มไปตามแรงเอ้ียวตัว ขน้ั ท่ี 3 (3R) หามาตรการ เพ่อื แก้ไขอันตรายที่สาคญั จากการคัดเลือกในชั้นท่ี 2 ขนั้ ท่ี 4 (4R) เลือกมาตรการป้องกนั โดยการทาเครื่องหมาย /ท้ายข้อ ( 1-2 ขอ้ ) ขอ้ ทเี่ ลือก ขัน้ ที่ 3 (3R) มาตรการแก้ไข ขัน้ ที่ 4 (4R) 1. ใช้มอื ทัง้ 2 ขา้ งถือกลอ่ ง 1. ถอื ทีละกลอ่ ง ขณะที่ รีบลงบันไดทาให้เท้า 2. ใชเ้ ชือกผกู แลว้ หยอ่ นหรือหว้ิ ลงมา / พลาดตกลงมา 3. วางบน พาเลทแล้วยกลง 7. ถือของมากเกินไป ทาให้ 1. ถือทีละกล่อง ทรงตวั ไม่อยู่พลัดตกบันไดได้ 2. ใชเ้ ชอื กผกู แล้วหยอ่ นหรอื หิว้ ลงมา / 3. วางบน เพลเลท แลว้ ยกลง สรปุ มาตรการปอ้ งกันที่เลอื กไวใ้ หเ้ ป็นประโยคเดียว เอาเชอื กผูกแตล่ ะกลอ่ ง แล้วหย่อนลงมา..... O.K. ทาเป็นข้อความส้ัน ๆ ที่จาไดง้ า่ ย …..ผูกเชอื ก.... หย่อนลง.... O.K. คมู่ อื ความปลอดภัย | 51

30.3 การคน้ หาความเสีย่ งรปู แบบ View Point View Point คือ เครอ่ื งมือชว่ ยในการค้นหาอนั ตรายโดยมองอนั ตรายให้รอบด้าน โฟกัสไปยังสถานการณ์อันตรายท่จี ะเกิดขึน้ วัตถุประสงค์ เพ่ือช่วยในการคน้ หาอันตรายจากสถานการณต์ า่ งๆ ไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ของเหน็ ได้ชดั เจน และเข้าใจง่าย ประโยชน์ 1. คน้ หาอันตรายจากสถานการณต์ ่าง ๆ ไดช้ ดั เจน นาไปใช้ ไดง้ ่าย 2. ใชไ้ ด้กบั สถานท่ีปฏบิ ัตงิ านอ่ืน ๆ ได้ ไม่ต้องจามาตรฐานตา่ ง ๆ มากมาย 3. ป้องกนั อบุ ัตเิ หตจุ ากเหตุการณ์ท่ีคลา้ ยคลงึ กัน ผรู้ บั ผิดชอบ พนกั งาน หัวหน้างาน ผู้บริหาร มีหน้าท่ีค้นหาอันตรายตามแผนการดาเนินงานทกี่ าหนด ไว้แต่ละโรงงาน ค่มู อื ความปลอดภัย | 52

มจี านวน 20+1F View Points [1] การปฏบิ ตั ิงานที่ผดิ พลาด : Mistake / Error in operation STOP 6 Type A FIRE NG : ทางานขา้ มขั้นตอนโดยไม่ Log out ระบบ NG : ทางานขา้ มข้ันตอนโดยไมย่ า้ ยสารตดิ ไฟออก กอ่ นเข้าไปทางานกบั เครอ่ื งจักร ทาให้เครอ่ื งจกั ร ก่อนทางานทม่ี ปี ระกายไฟ หนีบ STOP 6 Type E STOP 6 Type C NG : ทางานข้ามข้ันตอนโดยไม่ตดั ระบบไฟฟา้ ก่อน NG : ขบั รถโดยใชค้ วามเรว็ เกินกาหนด อาจทาให้ เกดิ อบุ ตั เิ หตุได้ เขา้ ไปทางานกบั วตั ถุท่มี กี ระแสไฟฟ้าไหลผา่ น STOP 6 Type B STOP 6 FIRE NG : เร่งความเร็วในการยกของหนัก ของหนกั อาจ NG : เร่งความเรว็ ของ Motor ทาให้เกดิ ร่วงทับได้ Overheat เกดิ ไฟใหม้ขน้ึ ได้ STOP 6 Type B STOP 6 Type F NG : ยกของเกินพกิ ัดท่รี ะบุ อาจทาใหข้ องตกใส่ NG : เก็บสารไวไฟมากเกินจาเปน็ อาจทาใหเ้ กดิ คนได้ อุบตั ิเหตไุ ด้ ค่มู อื ความปลอดภยั | 53

[2] รบี ปฏบิ ตั โิ ดยไม่ไดค้ ิด ขาดความระมดั ระวงั : To act quickly without thinking STOP 6 Type D STOP 6 Type A NG : เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ทางานหล่น รบี กม้ ลงเก็บเสีย การทรงตวั ตกบันได NG : ของตกจากกระเปา๋ เสอื้ ลงไปในสายพาน รบี ก้มเก็บของจงึ โดนสายพานหนีบ STOP 6 Type B NG : เพ่ือนเรียกจากฝง่ั ตรงขา้ มรบี วง่ิ ลอดใตข้ อง หนกั ของหลน่ ลงมาพอดี [3] การปฏิบตั งิ านโดยไม่ได้รับมอบหมาย: Doing not assigned job STOP 6 Type A STOP 6 Type C NG : สายพานเครื่องจกั รเสียหยดุ เดินกระทนั หนั NG : ขับรถโดยไมไ่ ดร้ ับการสอนงาน อาจทาใหร้ ถ พนกั งานพยายามซ่อมเองโดยไมแ่ จง้ ซ่อมจึงถูก ไปชนคนได้ สายพานหนีบ STOP 6 Type B NG : ทางานกบั เครนโดยไมไ่ ดร้ บั การสอนงาน อาจทาใหข้ องหนักตกทับได้ คมู่ ือความปลอดภยั | 54

[4] การซอ้ นทบั กันระหวา่ งคนกับของ: Overlap (Between man and load) STOP 6 Type B STOP 6 Type D NG : ผูบ้ งั คบั เครนอยใู่ ตส้ ิง่ ของที่ยก อาจทาให้ NG : เส้นทางเครนทบั ซอ้ นกบั คนทาให้ส่งิ ของ สิ่งของหลน่ ลงมาทบั คนได้ กระแทกตัวคนจนทาใหต้ กจากที่สงู ได้ STOP 6 Type F NG : เสน้ ทางเครนทับซอ้ นกบั คนทาให้ของรอ้ น ทีย่ กมาโดนคนไดร้ ับบาดเจบ็ ได้ [5] คนใช้เสน้ ทางเดนิ รถ: Man on vehicle route STOP 6 Type A STOP 6 Type B NG : คนเดนิ บนทางรถ E-car อาจทาใหข้ องทย่ี ก NG : คนเดนิ บนทางรถ Folklift เบรคกะทันหัน มากระแทกโดนคนได้ ทาใหข้ องทบ่ี รรทกุ ลม้ ใสค่ นได้ STOP 6 Type D NG : เสาสะพานทางเดนิ อยูบ่ นรถวง่ิ รถอาจจะ ชนเสา ทาใหส้ ะพานพงั คนตกลงมาจากที่สูงได้ คมู่ ือความปลอดภัย | 55

[6] คนเข้าไปในทิศทางการเคลอ่ื นท่ขี องเครอื่ งจกั ร: Man in equipment’s moving direction. STOP 6 Type A STOP 6 Type F NG : ไม่หยุดเคร่อื งจักรก่อนเขา้ ไปปฎบิ ัติงาน NG : ไมต่ ัดระบบความรอ้ นก่อนเขา้ ไปทางานกับ อาจโดนเครือ่ งจักหนบี ได้ ท่อสง่ นา้ ร้อน STOP 6 Type A STOP 6 Type A NG : คนไปอยู่หน้าวัตถสุ ปริงอาโดนกระแทกได้ NG : เคร่ืองจกั รหลดุ ลงมาทับพนกั งาน (หลดุ ลง รบั บาดเจ็บได้ มาเน่อื งจากน้าหนกั ของเคร่ืองจกั รเองท้ังๆ ทีต่ ดั พลังงานแล้ว STOP 6 Type B STOP 6 Type C NG : ของหนักบนสายพานลาเลียงไหลลงมา NG : รถไหลมาทับคนด้วยน้าหนักของรถเอง โดนคน STOP 6 Type F STOP 6 Type A NG : นา้ ร้อนไหลออกมาโดนคน (ไหลออกมาด้วย NG : ไม่มที ีก่ ้นั พ้นื ทรี่ ะหว่างวัตถทุ มี่ ีแรงเหว่ียง นา้ หนกั ของน้ารอ้ นเอง) กบั คน ทาให้คนได้รับบาดเจ็บได้ ค่มู ือความปลอดภยั | 56

STOP 6 Type F STOP 6 Type B NG : วัตถุทมี่ แี รงเหวี่ยง เหวี่ยงโดนวัตถรุ ้อน NG : ไม่วางสิ่งของลงกอ่ นทางานกับพืน้ ของนนั้ ท่ีวางอยทู่ าให้กระเดน็ ใสค่ น อาจทาให้ของหนักตกลงมาทบั ได้ [7] คนชนกับวัตถทุ ี่ไมเ่ คลือ่ นท่ี: Man contacts not-driven object STOP 6 Type B STOP 6 Type C NG : มีส่งิ ของวางอยบู่ นเสน้ ทางคนเดนิ ทาให้ NG : รถ Dolly ท่ีใชค้ นเขน็ ทับซ้อนกบั เส้นทางคน อาจตกใสค่ นได้ เดิน ทาใหร้ ถ Dolly ชนคนได้ STOP 6 Type F STOP 6 Type E NG : ถังนา้ รอ้ นวางอย่บู นเสน้ ทางคนเดนิ อาจทา NG : สายไฟฟ้าพาดผา่ นเสน้ ทางคนเดิน อาจทาให้ ให้นา้ รอ้ นกระเด็นใสไ่ ด้ คนโดนไฟฟา้ ชอ็ ตได้ คมู่ ือความปลอดภัย | 57

[8] คนชนกบั วัตถุหอ้ ย,รถ AGV ออกนอกเสน้ ทาง,วัตถุเคลอ่ื นท่ี : Man contacts hung load, AGV runs out of course, driven object. NG : มีคนทางานอยใู่ ตว้ ตั ถุทีห่ อ้ ยและเลอ่ื นไปมา NG : มีคนทางานอย่ใู ต้วัตถุท่หี อ้ ย ไหล และเลื่อนไปมา NG : มคี นทางานอยู่บนพืน้ ทีท่ รี่ ถเส่ียงจะ NG : มีคนทางานในทศิ ทางทเ่ี ครอ่ื งจกั รทางาน หลดุ โคง้ มาทับ ผิดพลาดมาทับซอ้ น NG : มีคนทางานในทศิ ทางถูกกดและ NG : มีคนทางานท่สี ปรงิ จะกระเดน็ มาทบั ซอ้ น กระเดน็ ออกจากเครื่อง NG : มคี นทางานในทศิ ทางทฝี่ ากระบอกสบู จะ NG : มีคนทางานในรศั มสี ายแรงดนั สูง กระเด็นมาทบั ซ้อน จะสบดั มาโดน คมู่ ือความปลอดภยั | 58

[9] รถ และ เสน้ ทางเดนิ รถ: Vehicle & Vehicle route NG4 : มี Forklift มาวิ่ง NG 1 : ในเส้นทางรถ จดุ ทบั ซ้อน Towing Truck NG10 : NG3 : มีรถยนต์ มาว่งิ จาเป็นตอ้ งสวนทางไม่ ในเสน้ ทาง กาหนดสญั ลักษณ์ Towing Truck การว่ิงใหช้ ดั เจน [10] Inappropriate choice: ตัวเลอื กทไี่ มเ่ หมาะสม NG : ขนาดสายไฟรบั โหลดไมไ่ ด้ NG : อุปกรณป์ อ้ งกนั ไฟยอ้ นกลบั ติดผดิ ตาแหนง่ NG : ใช้สายผดิ ประเภทจากทีก่ าหนด NG : อปุ กรณฉ์ กุ เฉนิ ท่ีถกู ติดมาถูกถอดออก /ไมถ่ ูกติดต้งั อปุ กรณ์ฉกุ เฉิน ท่ถี กู ถอดออก คมู่ ือความปลอดภยั | 59

NG : ใช้ Pressure Guage สลบั กนั NG : ใชง้ านไดแ้ ตไ่ มร่ ะบอุ ันตรายทห่ี า้ มใช้ NG : ยานพาหนะขนย้ายผดิ ประเภท NG : ไม่จดั PPE ใหพ้ นกั งานสวมใส่ปอ้ งกนั อันตรายจากการตก [11] การซ่อมแซมผดิ วธิ ี : Inappropriate repair STOP 6 Type A STOP 6 Type B NG : ตอ่ สายผดิ ทาให้ Emergency stop หยดุ NG : ตอ่ สายผดิ ทาใหส้ ายพานหมนุ กลับด้าน เครอ่ื งจกั รไม่ไดท้ ง้ั ระบบ สง่ิ ของทล่ี าเลยี งตกใสค่ น STOP 6 Type E STOP 6 Type E NG : การตอ่ สายไฟผดิ ทาให้สายเคมพี ุ่งโดน NG : ตอ่ สายไฟผดิ จากมาตราฐานวงจรเดิม (เพ่ิม พนักงาน หรือลดจากเดมิ ) คู่มือความปลอดภัย | 60

STOP 6 Type P STOP 6 Type P NG : ตอ่ ทอ่ เขา้ ถงั เก็บผิด ทาใหส้ ารเคมี NG : ต่อทอ่ ผิดจากมาตรฐานวงจรเดิม (เพม่ิ หรอื ลดมากกวา่ เดิม) เกดิ ปฏกิ ริ ยิ ากัน อาจเกิดอบุ ตั ิเหตไุ ด้ Fire STOP 6 Type E NG : ขนาด bolt ท่ียดึ อุปกรณืไฟฟ้ าผิดไป ทาให้ NG : ขนาด Breaker ท่ีนามาใชม้ ีแรงดนั ไฟฟ้ าต่า เกิดความร้อนข้ึน อาจไฟใหมไ้ ด้ เกินไป [12] การควบคมุ ท่ไี ม่เหมาะสม: Inappropriate control STOP 6 Type A STOP 6 Type B NG : ไม่มีการติดตั้งการ์ด/ Senser ทาให้ NG : ไมม่ กี ารกาหนดความสงู ของส่ิงของท่วี าง ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน อาจทาให้เครอื่ งจักรหนบี ได้ อาจทาใหส้ ง่ิ ของตกใสค่ นได้ STOP 6 Type E STOP 6 Type F NG : ปมุ่ เปิด-ปดิ ไฟ ไมม่ ีปา้ ยบอกวา่ ป่มุ ไหนคือปมุ่ NG : ,มาตรวัดไมไ่ ดร้ ะบุ Range วา่ ระดับไหนปกติ เปดิ หรือปดิ อาจทาใหเ้ กิดไฟฟ้าว็อตได้ และระดับไหนผดิ ปกติ คู่มอื ความปลอดภยั | 61

STOP 6 Type P NG : ไมม่ มี าตรวดั ระดับสารเคมีในถังเกบ็ ทาให้ สารเคมีลน้ ออกมาโดนคนได้ [13] สิง่ ทมี่ องไม่เห็น: Invisible (not seen) STOP 6 Type A STOP 6 Type B NG : ภาพลวงตา ทาเหน็ วา่ เครื่องจกั รไมไ่ ดท้ างาน NG : มจี ดุ บอดท่คี นยกของหนักมองไมเ่ หน็ คนอนื่ อยู่ เมอื่ เขา้ ไปใกลเ้ ครอ่ื จักร อาจโดนหนบี ได้ ขณะยก STOP 6 Type P NG : มดื มองไมเ่ หน็ วา่ มสี ิ่งกดี ขวาง (ถงั สารเคมี) อยบู่ นทางเดินและสารเคมีกระเดน็ ใส่ คมู่ อื ความปลอดภยั | 62

[14] คนตกจากทสี่ งู : Man drops down NG : พนื้ ทร่ี ับนาหนกั ไม่ได้ NG : พืน้ ที่ทางาน มชี ่องเปดิ ท่รี า่ งกายหลดุ เข้าไปได้ NG : จุดยนื ทางานโครงสร้างไม่แขง็ แรง [15] Something drops off (including collapse): ส่ิงของตก NG : อปุ กรณส์ น่ั เสี่ยงต่อการ่วงลงทบั คนที่อยู่ใต้ NG : อปุ กรณไ์ มส่ ั่น แตไ่ มม่ ี Safety Sling อปุ กรณ์นั้น สาหรบั รองรับ กรณีอุปกรณร์ ่วง NG : ไม่สัน่ แตไ่ มม่ ตี วั กนั้ รว่ งทบั คนท่ที างาน NG : วัสดุสน่ั เส่ียงต่อการร่วง ล้ม พงั ทลาย โครงสร้าง ค่มู ือความปลอดภยั | 63

NG : วสั ดุลืน่ เสีย่ งตอ่ การรว่ ง ลม้ พังทลาย NG : วสั ดสุ ั่น เส่ียงตอ่ การรว่ ง หลน่ พงั ทลาย [16] วัตถลุ ้มหรือลว่ ง : Load collapse STOP 6 Type B STOP 6 Type D NG : พนกั งานจดั วางของซ้อนกันหลายช้ัน NG : ผลักน่งั ร้าน เพอ่ื จะทาการยา้ ยจดุ ทางาน โดย แต่ว่างไม่สมดลุ ของหนักตกทบั มคี นอยดู่ า้ นบน อาจทาให้นง่ั ร้านลม้ คนตกจากที่ สูงได้ STOP 6 Type P NG : สารเคมถี ูกผลัก ทาให้กระเดน็ ไปถกู คน คมู่ อื ความปลอดภัย | 64

[17] การไม่ตดั การเชอ่ื มตอ่ ระบบจ่ายพลงั งาน: Power is not disconnected STOP 6 Type B STOP 6 Type F NG : ไมต่ ัดพลงั งานกอ่ นเข้าไปทางาน ทาใหข้ อง NG : ซอ่ มทอ่ นา้ รอ้ น โดยทยี่ งั ไมไ่ ด้ทาการตดั หนกั อาจหล่นทับ ระบบ STOP 6 Type A NG : ตัดพลงั งานไมส่ มบรู ณ์คนอน่ื อาจมาเปิด ระบบใหมไ่ ด้ อาจทาใหด้ ดนเครอ่ื งจกั รหนีบ [18] ความเป็นอันตรายขณะเครอ่ื งเปดิ อย:ู่ Hazard while power is on STOP 6 Type A STOP 6 Type E NG : เข้าไปซ่อมเครือ่ งจกั รขณะยงั ไมไ่ ด้ Off NG : สมั ผสั สายไฟท่ยี ังมกี ระแสไฟฟา้ อยู่ ทาใหค้ น breaker ทาให้เคร่ืองจักรหนีบได้ โดนไฟฟา้ ช็อตได้ คู่มือความปลอดภัย | 65

[19] สภาพแวดล้อมในการทางาน: Work Circumstances STOP 6 Type A STOP 6 Type B NG : พนกั งานทางานใกล้ทางต่างรบั เผลอเดนิ NG : พนกั งานวางของ ระหว่างทางมนี า้ หกอยู่บน ออกมาตรงทางตา่ งระดับ ตกลงไปในราง พืน้ จึงลื่นลงไปชนของท่ีวงหลน่ ลงมาทบั Conveyor STOP 6 Type O STOP 6 Type D NG : พ้ืนล่นื ทาให้คนล่นื ตกลงไปในท่ีอบั อากาศ NG : พื้นมีแ่ คบทาให้คนอาจตกลงมาจากทีส่ งู คนขาดอากาศหายใจ STOP 6 Type B STOP 6 Type P NG : ทางานบนพื้นเอียง ทาใหข้ องหนักไหลลงมา NG : สารเคมีวางอย่บู นพ้นื เอียงทาให้สารเคมีหก ทบั คน ใส่คนได้ STOP 6 Type A STOP 6 Type F NG : พ้ืนท่ที างานขุรขระพนกั งานสะดดุ ลม้ ไปโดน NG : พืน้ ทท่ี างานแคบ ทาใหค้ นโดนวัตถุร้อน เครอ่ื งจักรหนีบ ไดร้ ับบาดเจบ็ คมู่ อื ความปลอดภยั | 66

[20] อปุ กรณ์มกี ารเสื่อมสภาพ (กดั กร่อน,ท่อแตก, อ่ืนๆ ) : Deteriorated equipment (corrosion, metal fatigue, etc.) Stop 6 Type P Stop 6 Type A NG : ท่อสารเคมีแตก ทาใหส้ ารเคมีพงุ่ ออกมา NG : สายพานของเครอื่ งจกั รชารดุ อาจทาให้ โดนคน สายพานขาดสะบดั ไปโดนคนได้ Stop 6 Type D Stop 6 Type F NG : แรงสั่นสะเทือน ทาใหข้ อ้ ต่อ Platform NG : การสน่ั สะเทือน ทาให้ขอ้ ตอ่ ของทอ่ นา้ รอ้ น หลุด คนทป่ี ฏบิ ตั งิ าน อยู่ อาจตกลงมาได้ หลุด คนโดนน้าร้อนลวกได้ คูม่ ือความปลอดภยั | 67

[1F] การเจอกันระหว่างวัตถไุ วไฟกบั ประกายไฟ : Cross between flammable materials & ignition sources Rank A Rank A อปุ กรณ์ไฟฟ้า อณุ หภมู มิ ากกวา่ 60 °C ห่าง Spetter หา่ งจากแกส๊ ไวไฟ ระยะนอ้ ยกวา่ 5 เมตร จากแกส๊ ไวไฟ ระยะน้อยกว่า 1 เมตร Rank A Rank A แหล่งความร้อน อณุ หภูมนิ อ้ ยกว่า 60 °C หา่ ง อปุ กรณ์ เช่น ปืนไฟฟ้า ไมไ่ ดต้ อ่ สายกราวด์ หรือ จากแกส๊ ไวไฟ ระยะน้อยกว่า 1 เมตร สายกราวด์ชารุด Rank A Rank A คนไม่มีกราวด์ เช่น ไมใ่ ส่ชดุ รองเท้า ถุงมอื อุปกรณ์ (พลาสติก,กระดาษ) ไมม่ กี ราวด์ ในพ้ืนที่ (เฉพาะ Booth, Mixing และ Storage) เก็บแก๊สไวไฟ ในระยะนอ้ ยกว่า 1 เมตร Rank A Rank A หลอดไฟทุกชนดิ ทไี่ มม่ ีทีค่ รอบ หรอื ท่ีครอบชารดุ การถา่ ยเทของเหลวไวไฟไมต่ อ่ สายกราวด์ที่ ภาชนะ/อปุ กรณไ์ ม่ตอ่ สายกราวด/์ สายกราวด์ หลดุ คมู่ ือความปลอดภยั | 68

ข้นั ตอนการดาเนนิ การ View Point กาหนดพ้ืนที่ Audit 1. กาหนดพน้ื ท่ี เปา้ หมายในการ Audit โดยกาหนดเวลาให้เหมาะสมกบั พน้ื ทเี่ ป้าหมายท่ีจะ Audit เลือก View Point 2. เลอื ก View Point เพ่อื ค้นหา อันตราย/ สถานการณอ์ นั ตราย ท่จี ะ ไป Audit ในพนื้ ที่ ท่ีกาหนด กาหนดแผนการดาเนินงาน 3. กาหนดแผนการดาเนินงานท่ีจะเขา้ ไป Audit โดยระบุ พน้ื ท่แี ละ View Point ท่เี ลอื กไว้แลว้ ลงในแผนงานให้ ชดั เจน คมู่ ือความปลอดภยั | 69

การตรวจสอบพ้ืนทท่ี างานจริง 4. ข้นั ตอนการคน้ หาอนั ตราย/ สรปุ การจานวนการค้นหาอันตราย สถานการณ์อันตราย โดยใชห้ ลัก Genba เข้าไป ตรวจสอบพืน้ ท่ี ปฏบิ ตั งิ านจริง 5. จัดทาเป็นกราฟสรุปในแตล่ ะเดือน จดั หามาตรการแก้ไขและปอ้ งกนั 6. มาตรการแกไ้ ขและป้องกัน รว่ มกนั กำ้ หนดเปำ้ หมำย เพื่อควำมส้ำเรจ็ ของพวกเรำ..... คมู่ อื ความปลอดภยั | 70

30.4 แบบจาลองด้านความปลอดภยั (Safety Dojo) วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือสอนพนักงานให้เกิดความรู้และตระหนกั ในเร่อื ง ความปลอดภัย 2. เพือ่ สอนผู้รบั เหมาที่เขา้ มาปฏิบตั งิ านในบรษิ ัท ผ้รู ับผดิ ชอบ O คณะกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามัย สภาพแวดลอ้ มในการทางานมีหน้าท่ีใน การจัดทา Safety Dojo O เจา้ หน้าทคี่ วามปลอดภัยในการทางาน มหี น้าทอ่ี บรมพนักงานและผู้รับเหมาตาม แผนดาเนินงานของแตล่ ะโรงงานกาหนดไว้ ประโยชน์ พนักงานมีจติ สานึกเรื่องของความปลอดภยั และสามารถวิเคราะห์อันตรายจากลกั ษณะ งานตา่ ง ๆ ได้ คมู่ ือความปลอดภัย | 71

ตวั อยา่ งพนื้ ที่ Safety Dojo ทางเดนิ (Walk way) แบบจาลองทางเดนิ ทีไ่ มไ่ ด้ Safety Dojo ติดตง้ั ท่ี SLA มาตรฐาน มีจดุ เส่ยี งต้องการให้ พนกั งานระมัดระวังในการเดิน ชดุ แสดงอปุ กรณ์ PPE เช่น มองซ้าย มองขวา ไมว่ ่ิง และ เปน็ การนาเสนออุปกรณ์ป้องกนั ชว่ ยกนั ทาความสะอาด อันตรายสว่ นบุคคลท่ีจาเป็นตอ้ ง สวมใส่ เช่น หมวกนริ ภัย ถังดับเพลงิ หนา้ กาก ถงุ มอื รองเทา้ นริ ภัย จะอธิบายถงึ ชนิดถงั ดับเพลิง เปน็ ตน้ ประเภทของไฟ วธิ ีการดบั เพลิง วธิ กี ารดูแลและตรวจสอบถัง Safety Shoe Test ดบั เพลงิ เป็นชุดทดสอบรองเท้านิรภัย อธบิ ายถึงประโยชน์และอันตราย วัตถุตกใส่(STOP 2) จากการไมส่ วมใสโ่ ดยมีการทดสอบ เป็นการนาเสนอ ความอันตราย จรงิ เพือ่ ใหพ้ นกั งานตระหนักถึง จากวัตถุทต่ี กใส่รา่ งกายในระดบั อันตรายจากการไมส่ วมใส่ เชน่ นว้ิ ต่างๆกัน ยงิ่ สูงยิ่งอันตราย แตก หรือทาใหบ้ าดเจ็บ Safety Machine(STOP1) เป็นแบบจาลองการทางานกบั เคร่ืองจกั รอยา่ งไรถงึ ปลอดภัย ตง้ั แต่เรมิ่ ทางาน จนถงึ วธิ ี ปฏบิ ัตเิ ม่ือเกิดเหตผุ ดิ ปกติ เช่น ซ่อมเครื่องจักร บันได(Stair) จะอธิบายถงึ ชนิดถงั ดับเพลิง ประเภทของไฟ วธิ ีการดบั เพลิง วิธีการดแู ล และตรวจสอบถงั ดับเพลิง คมู่ อื ความปลอดภัย | 72

Safety Dojo ตดิ ต้ังที่ SAT2 แบบจาลองเคร่อื งจักรอนั ตรายจากเคร่อื งจักรกระแทก หากเข้า ไปซ่อมโดยไม่ปฏิบตั ิตามขัน้ ตอนความปลอดภยั แบบจาลองวัตถหุ นกั ตกใสเ่ ท้าแสดงให้เหน็ ถึงอันตรายจากวตั ถุ หนกั ตกใส่ แบบจาลองการขับขี่รถยกอย่างปลอดภยั การชี้บง่ สถานะพร้อม ใช้งาน การตรวจสอบความพร้อมใช้งาน มาตรฐานการทางาน เปน็ การจาลองบันได มาตรฐานความปลอดภัยในการ ตรวจสอบ เปน็ การจาลอง แสดงใหเ้ หน็ ถงึ อนั ตรายจากเครอื่ งจกั ร/อุปกรณ์ ไฟฟา้ การไม่ตอ่ สายการว์ เป็นการจาลองระบบสัญญาณแจ้งเตือนไฟไหม้ท่ใี ชใ้ นโรงงาน พร้อมการใช้งาน คูม่ อื ความปลอดภยั | 73

30.5 กจิ กรรม Safety Week กิจกรรม Safety Week จัดขึ้นเพื่อเป็นการป้องกัน และลดอุบัติเหตุ รวมถึงปัญหาข้อ ร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อมให้พนักงานบริษัทฯ ในกลุ่มสมบูรณ์ จึงได้จัดกิจกรรมสัปดาห์ความ ปลอดภัยและสงิ่ แวดล้อมขน้ึ 1 ครงั้ /ปี โดยมีพนกั งาน และผู้บรหิ ารเข้าร่วมกิจกรรม 100% มีการ มอบความรู้ ความสนุกสนาน และของรางวลั มากมาย ตัวอยา่ งภาพกิจกรรม ผ้บู รหิ าร และพนกั งาน ร่วมลงทะเบียนเข้ารว่ มกจิ กรรม โดย จป.วิชาชีพ กล่าว วตั ถุประสงคก์ จิ กรรม และผู้บรหิ ารสงู สุดกลา่ วเปิดกจิ กรรม พนกั งานเข้าสู่กจิ กรรม ค่มู อื ความปลอดภยั | 74

30.6 กจิ กรรมงดเหลา้ เข้าพรรษา กิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษา จัดขึ้นเพ่ือให้พนักงานที่ดื่มเหล้าแอลกอฮอล์ ได้ลด ละ เลิก เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และ เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง เพ่ิมประสิทธิภาพในการทางาน และลด อุบัติเหตุ หน่วยงานความปลอดภัยจึงได้จัดกิจกรรมนี้ข้ึน ขึ้น 1 ครั้ง/ ปี โดยมีพนักงาน และ ผบู้ รหิ ารเขา้ ร่วมกจิ กรรมมากกว่า 80% มีการมอบความรู้ ความสนุกสนาน และของรางวัล มากมาย ตัวอยา่ งภาพกจิ กรรม ผบู้ ริหาร และพนักงาน เข้ารว่ มกจิ กรรม โดย จป. วิชาชีพ กล่าววัตถปุ ระสงคก์ ิจกรรม และผู้บริหารสูงสุดกล่าวเปิดกจิ กรรม คมู่ อื ความปลอดภยั | 75

30.7 กจิ กรรมรณรงค์ขับขี่ปลอดภัย ช่วงเทศกาลสงกรานต์ และเทศกาลปใี หม่ กิจกรรมรณรงค์ขบั ขีป่ ลอดภยั ชว่ งเทศกาลสงกรานต์ และเทศกาลปใี หม่ จัดขนึ้ เพือ่ เป็น การ รณรงค์ลดอบุ ัติเหตุนอกงาน เช่น อุบัติเหตุทางถนนหรอื จราจร ที่มีสถิติการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ รุนแรง(เสียชีวิต) เพ่มิ ข้นึ ทุกปี ทาให้เกิดความสูญเสียมากมายทง้ั ชีวิตและทรพั ยส์ ิน ทางแผนก ความปลอดภยั จึงไดจ้ ดั กจิ กรรมนี้ข้นึ ทุกปี ในชว่ งเทศกาลสงกรานต์ และเทศกาลปีใหม่ ตวั อย่างภาพกิจกรรม ผู้บรหิ าร และพนักงาน เข้ารว่ มกจิ กรรม โดย จป.วิชาชีพ กลา่ ววัตถปุ ระสงค์กจิ กรรม และผู้บรหิ ารสงู สุดกล่าวเปิดกจิ กรรม เทศกำลสงกรำนต์ เทศกำลปีใหม่ คมู่ อื ความปลอดภยั | 76

30.8 กจิ กรรมสง่ เสรมิ พฤตกิ รรมด้านความปลอดภยั Behaviors Based Safety (BBS) เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมท่ีปลอดภัยในการทางาน สามารถท่ีจะช่วยลดอุบัติเหตุท่ีมีสาเหตุ มาจาก “การกระทาที่ไม่ปลอดภัย” โดยใช้หลักจิตวิทยาเป็นกลวิธีเพื่อปรับเปล่ียนพฤติกรรมให้ เกิดความปลอดภัย โดยเสริมสร้างแรงจูงใจทางบวก ด้วยวิธีการดูแลเอาใจใส่ซึ่งกันและกัน หรือ เพอื่ นชว่ ยเพ่อื น (Friend Help Friend) ขน้ั ตอนการทา BBS มี 4 ขนั้ ตอน 1. ขั้นเตรยี มการ (Preparation) 2. ขั้นการสังเกต (Observation) - ชีบ้ ง่ พฤติกรรมเส่ยี งของเป้าหมาย - มองห่างๆ ,รบกวนน้อยท่ีสุด - จดั ทาแบบสงั เกตการทางาน (Check List) - มงุ่ ความสนใจในสง่ิ ที่สงั เกต - กาหนดตารางเวลาสงั เกตการทางาน - สังเกตพฤตกิ รรมเสยี่ ง 3. ข้ันการพดู คยุ (Discussion) 4. ขั้นการบนั ทกึ (Recording) - พดู คุยทันที หากเปน็ ไปได้ หรอื พดู เพิ่มเติม - บนั ทกึ งานทสี่ งั เกต สถานทป่ี ฏิบัตงิ าน ภายหลัง - บนั ทกึ ผลการสงั เกต ทง้ั พฤติกรรมทีป่ ลอดภัยและ - ชมเชย ใหก้ าลังใจ หากพบการปฏบิ ัติ งานด้วย ไมป่ ลอดภัย พฤติกรรม ท่ีปลอดภัย - บันทึกผลการพดู คุย ข้อแนะนา ข้อเสนอแนะ - สรุปและบันทกึ ผลการปฏิบัตงิ าน เพ่ือดูแนวโนม้ - สอบถาม ทบทวนความเขา้ ใจ ใหค้ าแนะนา ทันทีท่ี พบเห็นพฤติกรรมทไ่ี มป่ ลอดภัย เพ่ือนาไปสู่การ พฤติกรรมการทางานและปรับปรงุ ให้ปลอดภยั ปรับปรงุ มากย่ิงขน้ึ ขอ้ ดขี อง BBS 1. ใช้เวลาไม่มากในการดาเนินกิจกรรม 2. ลดข้อขัดแย้งต่างๆ เนื่องจากใช้วิธีการพูดคุยดูแลเอาใจใส่ซึ่งกันและกัน 3. การปฏิบัติจนเคยชินและ กลายเป็นการแสดงออกถึงพฤติกรรมความปลอดภัย คมู่ ือความปลอดภัย | 77

ขั้นตอนการรายงานเหตุการณแ์ ละชว่ ยเหลือผู้บาดเจบ็ เมอื่ เกิดอบุ ัติเหตุ ผรู้ บั ผิดชอบ กิจกรรมปฏิบตั ิ การสื่อสาร ผูบ้ าดเจบ็ /เพือ่ นร่วมงาน แจ้งหัวหน้างานให้รับทราบ เพื่อใหห้ ัวหน้างาน รายงานดว้ ยวาจา พิจารณาระดบั ความรุนแรงของการบาดเจ็บ หวั หนา้ งาน/ผู้จัดการแผนก พิจารณาระดบั ความรนุ แรงของการบาดเจ็บ รุนแรงน้อย ให้นาสง่ ห้องพยาบาล รุนแรงมาก ใหน้ าสโ่ รงพยาบาล ใกลท้ สี่ ุด เช่น จุฬารตั น์ 1, ปลวกแดง พยาบาลวิชาชีพ/แพทย์(ถา้ มี) - ทาการปฐมพยาบาล/รกั ษาตามอาการ - ประสานงานกับรปภ.หรอื แผนกบุคคล ในการขอรถฉกุ เฉินนาส่งผบู้ าดเจบ็ ไปโรงพยาบาล - แจง้ ใหบ้ คุ คลใดบคุ คลหนึง่ รบั ทราบทันที ตามลาดบั ดังนี้ คอื จปวชิ าชีพ, เลขนุการคณะกรรมการ ความปลอดภยั ระดบั SBG, แผนกบคุ คลตามลาดบั - ติดตามผผลการรกั ษา และรายงานใหผ้ ทู้ เี่ ก่ียวข้องรบั ทราบ - บนั ทึกอบุ ตั เิ หตุท่ไี ดท้ าการรกั ษาทกุ กรณอี ย่างละเอยี ด จป.วชิ าชีพ รายงานประธานคณะกรรมการความปลอดภัย, รายงานด้วยวาจา/E-mail เลขานกุ ารคณะกรรมการความปลอดภยั ระดบั SBG หรือ Memo(ภายใน 24 ชม.) ผู้จัดการทว่ั ไป(GM/AGM) รองกรรมการผู้อานวยการ และผจู้ ัดการท่วั ไป รายงานด้วยวาจา/E-mail หรือ Memo กรรมการผู้อานวยการ รายงานเหตุการณ์ใหร้ องกรรมการผูอ้ านวยการรับทราบ รายงานด้วยวาจา/E-mail หรือ Memo รายงานเหตุการณใ์ หก้ รรมการผู้อานวยการรับทราบ รายงานด้วยวาจา/E-mail รายงานเหตุการณ์ให้คณะกรรมการบรษิ ทั ฯรบั ทราบ หรือ Memo คมู่ อื ความปลอดภยั | 78

การสอบสวน และความเรง่ ดว่ นในการสอบสวนอุบตั เิ หตุ เหตกุ ารณ์ ทีมสอบสวนอุบัติเหต/ุ เหตุการณ์ ความเรง่ ดว่ นในการ สอบสวนอบุ ตั ิเหตุ 1. Near miss, หัวหน้างาน , จป.วิชาชีพ , ผจู้ ัดการแผนก และ ประธาน อบุ ัติเหตไุ มห่ ยุดงาน คปอ. ภายใน 48 ชม. หลังเกิดเหตุ 2. อุบัตเิ หตหุ ยุดงาน/ หวั หนา้ งาน ,จป.วชิ าชพี , เลขานกุ ารคณะกรรมการความ ภายใน 24 ชม. หลงั เกิดเหตุ รุนแรง ปลอดภยั ระดับ SBG, ภายใน 48 ชม. หลงั เกดิ เหตุ ผจู้ ัดการแผนก , แผนกบุคคล , ประธาน คปอ. และ GM/AGM 3. ไฟไหม้ข้นั ตน้ เหมือนข้อ 2 และรวมผู้เกยี่ วข้องในเหตุการณด์ ้วย 4. ไฟไหม้ขน้ั รุนแรง เหมอื นข้อ 2 และรวมผ้เู ก่ยี วข้องในเหตุการณด์ ้วย ภายใน 24 ชม. หลงั เกดิ เหตุ 5. การเจบ็ ป่วยในงาน หัวหนา้ งาน ,จป.วิชาชีพ , เลขานกุ ารคณะกรรมการความ ภายใน 48 ชม. หลังเกดิ เหตุ 6. อบุ ัตเิ หตนุ อกงาน ปลอดภัยระดับ SBG, ภายใน 48 ชม. หลังเกดิ เหตุ ผู้จัดการแผนก , แผนกบุคคล , ประธาน คปอ. หัวหนา้ งาน , จป.วชิ าชพี , ผจู้ ดั การแผนก และประธาน คปอ. ข้นั ตอนปฏิบตั ิเมอื่ เกดิ ไฟไหม(้ ทง้ั กรณไี ม่รุนแรงและขั้นรุนแรง) ผูร้ บั ผดิ ชอบ กจิ กรรมปฏบิ ัติ เอกสารท่ีเกยี่ วขอ้ ง พนกั งาน/ผ้พู บเห็นเหตุการณ์ เมื่อพบเห็นไฟไหม้ ใหแ้ จ้งหัวหนา้ งานใหร้ ับทราบทันที แจง้ ด้วยวาจา แจ้งจป.วิชาชพี และผู้จัดการแผนกให้รับทราบทนั ที แจง้ ดว้ ยวาจา จป.วชิ าชีพ และ ใหป้ ฏบิ ตั เิ ช่นเดียวกับ ข้นั ตอนการรายงานเหตุการณแ์ ละการช่วยเหลือผบู้ าดเจ็บ ผเู้ กี่ยวขอ้ ง เมอื เกดิ อุบตั ิเหตแุ ละความเรง่ ด่วนในการแจ้งรายงานกรณเี หตุการณ์มีความรุนแรง รวมถึงกาหนดผู้รบั ผดิ ชอบ คู่มอื ความปลอดภยั | 79

31. มาตรฐานหมวกนริ ภัย 31.1 พ้นื ท่ี/แผนกทีต่ อ้ งสวมใสห่ มวกนิรภยั ใหจ้ ป.วิชาชีพ ร่วมกับ คปอ. แต่ละสังกัดทา การประเมินความเส่ยี งและความจาเป็นของแต่ละพ้ืนท่ี หรืองานท่ีต้องสวมใส่หมวกนิรภัย แล้วทา การประกาศภายในใหช้ ดั เจน พรอ้ มสอื่ สารให้พนักงานและผู้ที่เก่ียวขอ้ งรับทราบ 31.2 ชนดิ หรอื หมวกนิรภัย (Specification) 31.2.1 หมวกนริ ภัยตอ้ งได้รบั การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ มอก. หรือมาตรฐานอ่ืน เช่น ANSI, JIS, ISO, OHSAS (ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรือ่ ง กาหนดมาตรฐานคมุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบุคคล พ.ศ. ๒๕๕๔) 31.2.2 สามารถส่ังซื้อจากผู้แทนจาหนา่ ยจากบรษิ ทั ใด ๆ ก็ได้ 31.2.3 รูปร่าง/น้าหนักหมวกนิรภัยที่ส่ังซ้ือ ให้พิจารณาตามความเหมาะสมแต่ต้องมี ความปลอดภัย 31.2.4 หมวกนริ ภัย ต้องมสี ายรัดคางครบถว้ น 100% 31.2.5 หากทางานท่ัวไปสวมใส่เพ่ือลดแรงกระแทกของวัตถุเท่าน้ัน ให้เลือกชนิด C แต่หากสวมใส่เพ่ือลดแรงกระแทกของวัตถุและลดอันตรายอาจเกิดจากการสัมผัสตัวนาไฟฟ้า ให้ เลอื กใช้ชนิด G และ E (ทนแรงดนั ไฟฟา้ ได้ 2200, 200000 โวลต์ ตามลาดับ) สวมหมวกนริ ภัยทกุ ครัง้ ขณะปฏิบตั งิ านกันนะครับ คมู่ อื ความปลอดภัย | 80

31.3 สหี มวกนิรภยั ให้ใชส้ ีตามนี้ สี ตวั อยา่ งสหี มวก นา้ เงิน แผนก แผนกผลติ แผนกซอ่ มบารงุ สม้ แผนกความปลอดภยั เขียว พนกั งานทข่ี ับรถยก เหลือง แผนกอนื่ ๆ (Support) ขาว Visitor/นกั ศกึ ษาฝึกงาน ขาว คมู่ ือความปลอดภัย | 81

31.4 การตดิ สัญลักษณบ์ นหมวกนิรภัย สัญลกั ษณ์ ตัวอย่าง 4.1 โลโกบ้ ริษัท ในกล่มุ สมบูรณ์ ใชข้ นาด 2.5x3.5 cm. : ให้ตดิ ทหี่ น้าหมวก (ตดิ ใหส้ นทิ มั่นคง ลอกยาก) ดังรูป 4.2 สญั ลกั ษณ์ “Safety First” ขนาดเสน้ ผา่ ศูนย์กลาง 5 cm. : ใหต้ ิดดา้ นหลงั หมวก (ติดใหส้ นิท มนั คง ลอกยาก) ดงั รูป 4.3 ปา้ ยช่ือ : ติดด้านข้างทงั้ 2 ด้าน โดยตอ้ งมชี อื่ สกุล บุญมาก มากบุญ ผลติ และสงั กัด SBM1 4.3.1 กรณพี นกั งานทั่วไป ให้ทาป้ายชอ่ื และแผนก - ใช้แถบกระดาษพ้ืนขาว กวา้ ง 1.5 cm. และยาว 10 cm. - ใช้ Font AngsanaUPC ขนาด 26-28 สีดา ไมเ่ ขม้ VISITOR - ตดิ แถบกระดาษลงบนหมวก และใชเ้ ทป ใส่ติดทบั ป้องกันน้า/ฉีกขาด 4.3.2 กรณี Visitor TRAINEE - ให้ติดตัวอกั ษรคาว่า “VISITOR” Font AngsanaUPC สงู 3-4 cm สนี า้ เงนิ ตดิ ท่ดี า้ นขา้ งหมวก ทง้ั 2 ด้าน 4.3.3 กรณี Trainee - ให้ติดตวั อกั ษรคาว่า “TRAINEE” Font AngsanaUPC สีน้าเงนิ ติดท่ดี ้านขา้ งหมวกทง้ั 2 ด้าน หมายเหตุ : งานทตี่ อ้ งสวมใส่หมวกนิรภัย 100% ไดแ้ ก่ งานซอ่ มบารงุ , ขบั ข่ีรถยก, งานใช้รอก/เครน, งานทม่ี ีความเสย่ี ง ระดบั A และ B (อ้างองิ WI-SF-010 “การประเมนิ ความเส่ียงดา้ นความปลอดภัย”) คมู่ ือความปลอดภัย | 82

32. สแี ละสัญลักษณค์ วามปลอดภัย ตัวอย่างของสญั ลกั ษณ์ความปลอดภยั ตามมาตรฐาน มอก. (มาตรฐานผลติ ภัณฑอ์ ตุ สาหกรรมสีและเคร่อื งหมายเพอ่ื ความปลอดภยั ) รปู ทรง ความหมาย สีเพอื่ สีตัด สภี าพ ตัวอย่างการใชง้ าน เรขาคณติ ความ สญั ลักษณ์ ปลอดภัย แถบวงกลม หา้ ม พร้อมแถบเฉยี ง สแี ดง สขี าว สีดา บังคบั ให้ต้อง วงกลม ปฏบิ ตั ิ สขี าว สฟี ้า, นา้ เงนิ สขี าว สามเหล่ยี ม เตอื น ด้านเทา่ สเี หลือง สดี า สดี า สขี าว ส่ีเหลี่ยวจตั รุ ัส สภาวะ สเี ขียว สีขาว สขี าว ปลอดภยั สีแดง สขี าว สเ่ี หล่ียวจตั รุ สั อปุ กรณ์ เกยี่ วกับ อัคคภี ัย ค่มู ือความปลอดภยั | 83

33. จุดรวมพลบริษทั ในกลุ่มสมบูรณ์ 33.1 Lay out จุดรวมพลบรษิ ัทในกลุ่มสมบรู ณ์ Plant บางนา MSA2 อ.11 SBM2 อ. 10 SAT1 อ. 12 MSA3 หมายเหตุ : 1 คอื จดุ รวมพล บรษิ ทั มเู บยี สมบูรณ์ ออโตโมทฟี จากัด อ. 1- อ.5 (MSA3) 2 คอื จดุ รวมพล บริษัท สมบูรณ์ หลอ่ เหลก็ เหนียวอตุ สาหกรรม จากดั อ.6-อ.8 (SBM1) 3 คอื จุดรวมพล บรษิ ทั สมบูรณ์ หลอ่ เหล็กเหนียวอตุ สาหกรรม จากดั อ.10 (SBM2) 4 คอื จดุ รวมพล บรษิ ัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์เทคโนโลยี จากัด (มหาชน) อ.12 (SAT1) 5 คือ จุดรวมพล บริษัท มเู บยี สมบูรณ์ ออโตโมทีฟ จากดั อ.11 (MSA2) คู่มอื ความปลอดภยั | 84

33.2 Lay out จุดรวมพล บริษัท อนิ เตอร์เนชน่ั แนล แคสต้ิง โปรดกั ส์ จากัด (ICP1) Plant ระยอง คือ จดุ รวมพล บรษิ ทั อินเตอร์เนช่ันแนล แคสตงิ้ โปรดักส์ จากัด (ICP1) 33.3 Lay out จดุ รวมพล บริษทั อนิ เตอรเ์ นชน่ั แนล แคสติ้ง โปรดักส์ จากดั (ICP2) Plant ระยอง คือ จุดรวมพล บรษิ ัท อนิ เตอร์เนช่ันแนล แคสต้ิง โปรดักส์ จากดั (ICP2) คูม่ ือความปลอดภยั | 85

33.4 Lay out จดุ รวมพล บรษิ ทั มเู บยี สมบูรณ์ ออโตโมทีฟ จากัด (MSA1) Plant ระยอง คอื จุดรวมพล บรษิ ทั มูเบีย สมบูรณ์ ออโตโมทีฟ จากัด (MSA1) 33.5 Lay out จุดรวมพล บริษทั สมบูรณ์ หล่อเหลก็ เหนียวอุตสาหกรรม จากัด (SBM 3) Plant ระยอง PD-AUTO PD-NON AUTO คอื จุดรวมพล บริษทั สมบูรณ์ หล่อเหลก็ เหนยี วอตุ สาหกรรม จากดั (SBM3) คู่มอื ความปลอดภยั | 86

33.6 Lay out จดุ รวมพล บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จากดั (มหาชน) (SAT2) Plant ระยอง คือ จดุ รวมพล บริษทั สมบรู ณ์ แอด๊ วานซ์ เทคโนโลยี จากัด (มหาชน) (SAT2) 33.7 Lay out จุดรวมพล บรษิ ทั สมบูรณ์ ฟอร์จจง้ิ จากดั (SFT) Plant ระยอง คือ จดุ รวมพล บริษทั สมบรู ณ์ ฟอร์จจ้งิ เทคโนโลยี จากัด (SFT) คมู่ อื ความปลอดภัย | 87

ด้วยความปรารถนาดีจาก............. หนว่ ยงานความปลอดภัย SBG คู่มอื ความปลอดภัย | 88


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook