Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชนิดของเฟือง

ชนิดของเฟือง

Published by buychukaewkha63, 2019-09-19 01:27:00

Description: บุญชู แก้วคำ

Keywords: บุญชู แก้วคำ

Search

Read the Text Version

บทที่ 2 ทฤษฎที เี่ กย่ี วขอ้ ง 2.1 ทฤษฏที างด้านเครือ่ งกล 2.1.1 เฟือง (Gears) เฟือง (Gear) เป็นเครื่องกลที่ทางานโดยการหมุน เป็นที่รจู้ กั กันมานานแลว้ คาดวา่ ตง้ั แตย่ คุ ท่มี นษุ ย์ เริ่มมีอารยธรรมและคดิ ประดิษฐเ์ ครื่องมอื เครอ่ื งใชข้ ึน้ มา เฟืองกเ็ ปน็ ชิน้ ส่วนหนง่ึ ที่ถูกมนุษย์ทาข้นึ มา โดย เรม่ิ ตน้ ทเ่ี ฟืองไมใ้ นยคุ โบราณ แตส่ าหรบั เฟอื งสมยั ใหมน่ ั้นเพิ่งมกี ารปรับปรุงและเปลย่ี นแปลงลักษณะดังท่ี เราเห็นเมือ่ ไมก่ รี่ ้อยกวา่ ปีท่ีผ่านมา เฟอื งทาข้ึนมาเพื่อวตั ถุประสงค์ในการ ใชส้ าหรับการส่งกาลังในลักษณะ ของแรงบดิ (Torque) โดยการหมนุ ของตัวเฟืองท่ีมฟี ันอยู่ในแนวรัศมี โดยการส่งกาลังจะสามารถเกดิ ขึ้นได้ ก็ต่อเม่ือมีฟนั เฟอื งตง้ั แตส่ องตวั ขึน้ ไป รปู ที่ 2.1(ก) แสดงรปู เฟอื งไม้สมัยโบราณ

4 รูปที่ 2.1 (ข) เฟอื งตรง (Spur Gear) 2.1.1.1 เฟอื งตรงเป็นเฟอื งทใี่ ชส้ ง่ กาลงั กบั เพลาที่ขนานกนั เฟอื งตรงเหมาะสาหรับการสง่ กาลงั ท่ีมคี วามเรว็ รอบตา่ หรือความเรว็ รอบปานกลางไมเ่ กนิ 20 เมตร ตอ่ นาที ขอ้ ดขี องเฟอื งตรงคือขณะใช้ งานจะไม่เกนิ แรงในแนวแกน ประสิทธิภาพในการทางานสูงหน้ากว้างของเฟืองตรงสามารถเพิ่มไดเ้ พือ่ ให้ เกดิ ผิวสมั ผสั ทีม่ ากข้ึนเพอื่ ลดการสึกหรอให้นอ้ ยลง 2.1.1.2 เฟอื งเฉยี งเฟืองเฉยี งมหี น้าทีก่ ารใช้งานเหมอื นกบั เฟืองตรงทุกอยา่ งแต่มีขอ้ ดีกว่า เฟืองตรงท่ีเม่ือส่งกาลังดว้ ยความเรว็ รอบสูงๆ แลว้ จะไม่เกดิ เสยี ง รปู ท่ี 2.1(ค) แสดงเฟอื งเฉยี ง 2.1.1.3 เฟอื งก้างปลา (Herringbone Gears or Double Helical Gears)

5 เพือ่ ลดแรงดา้ นข้างในขณะทางานของเฟืองเฉียง จึงได้ถูกพัฒนารปู แบบจากเฟืองเฉยี งมาเปน็ เฟอื ง กา้ งปลา ซ่ึงมลี กั ษณะของฟนั เฟอื งท่เี ฉยี งเขา้ หากันในมุมท่ีเทา่ กัน ทาใหแ้ รงลัพธ์ของแรงรนุ ( Trust) เท่ากับ ศนู ย์ จากลักษณะของเฟืองก้างปลาดงั รปู ท่ี 4 จะเห็นวา่ มลี ักษณะเหมือนกบั การเอาเฟืองเฉียงมาประกบกนั ในลกั ษณะทสี่ มมาตร ทาใหเ้ ฟอื งก้างปลาสามารถรกั ษาขอ้ ดขี องเฟอื งเฉยี งไวไ้ ด้ คอื เสียงที่เงยี บขณะทางาน รับภาระ (Load) ไดม้ ากกว่าเฟืองตรง ในขณะเดยี วกันแรงส่ันสะเทอื นที่เกิดข้นึ ในขณะทางานก็ยังคงน้อย เมือ่ เทยี บกบั เฟืองตรง แตล่ ดข้อเสยี ทมี่ อี ยู่เพยี งอยา่ งเดยี วของเฟอื งเฉยี งคอื แรงรุน จากลักษณะของเฟอื ง กา้ งปลาที่มุมเอียงของเฟืองเอยี งเข้าหากนั ในลักษณะทอ่ี งศาเทา่ กนั ทาใหผ้ ลลพั ธข์ องแรงรนุ ไม่มี รปู ท่ี 2.1(ง) เฟืองก้างปลา (Double Helical Gears or Herringbone Gears)

6 2.1.1.4 เฟอื งสะพาน (Rack Gears) ในหน่ึงชุดของเฟอื งสะพานนนั้ ประกอบด้วยสองสว่ นคือส่วนทีเ่ ปน็ เฟือง ( Gear) ตวั ขบั ซ่งึ สว่ นมาก แลว้ จะเปน็ เฟืองตรง ( Spur Gear) แตใ่ นบางอปุ กรณอ์ าจเป็นเฟืองเฉยี งก็มี และส่วนที่เปน็ เฟอื งสะพาน (Rack) ซ่งึ มลี กั ษณะเปน็ แทง่ ยาวตรงและมีฟนั เฟอื งอย่ดู ้านบนขบอย่กู ับส่วนทเ่ี ป็นฟนั เฟอื ง (Gear) หนา้ ท่ขี องเฟืองสะพานคือใชใ้ นการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนท่จี ากการเคลื่อนท่ีในลกั ษณะการ หมุนหรอื การเคล่ือนที่เชงิ มุมเป็นการเคลื่อนทเ่ี ชิงเสน้ หรอื การเคลื่อนทีเ่ ชงิ เสน้ หรือการเคลื่อนท่กี ลบั ไป กลบั มา รูปท่ี 2.1(จ) เฟอื งสะพาน (Rack Gears การใชง้ านเฟอื งสะพาน 1) การส่งถ่ายกาลงั ในเครอ่ื งจกั รกล 2) ใชก้ บั เคร่ืองพมิ พ์หรอื เครือ่ ง Plot ขนาดใหญ่ 3) หนุ่ ยนต์ (Robot) 4) การส่งถา่ ยกาลงั ในระบบบังคบั เลย้ี วของรถยนต์ (Steering) 2.1.1.5 เฟอื งวงแหวน (Internal Gear, Ring Gear) เฟอื งวงแหวนเปน็ เฟืองตรงอกี ชนิดหนง่ึ ซ่ึงมีลักษณะเหมือนกบั เฟอื งตรง แตฟ่ ันเฟืองจะอยดู่ ้านใน ของวงกลมต้องใช้คูก่ ับเฟืองขนาดเล็กกวา่ ท่ขี บอยู่ด้านในดงั รปู ที่ 6 เฟืองวงแหวนจะใช้งานในลกั ษณะที่ ต้องการให้เฟืองขบั และเฟอื งตามทางานหรือหมนุ ในทศิ ทางเดียวกนั สาหรับอัตราทดนน้ั สามารถออกแบบ ใหม้ ากหรอื น้อยไดโ้ ดยขนึ้ อยู่กบั ขนาดของเฟืองตัวนอก ( Ring) และเฟอื งตัวใน (Pinion) ดงั รปู ที่ 6 โดยท่ีถา้ หากเฟืองตวั ในเล็กกวา่ เฟอื งตัวนอกมากอตั ราทดก็จะมากและถ้าหากเฟืองตัวในมขี นาดใกลเ้ คียงกบั เฟืองตัว นอกอตั ราทดก็จะนอ้ ย โดยปกตขิ องเฟอื งวงแหวนแล้วเฟอื งตัวเล็ก ( Pinion Gear) ทีอ่ ยดู่ ้านในจะทาหนา้ ท่ี เป็นตัวขบั

7 รปู ที่ 2.1(ฉ) เฟอื งวงแหวน Internal Gear 2.1.1.6 เฟอื งดอกจอก (BEVEL GEARS)ลกั ษณะของเฟืองคลา้ ยกับกรวยฟันของเฟือง ดอกจอกมที ง้ั แบบตรงและแบบเฉียงเฟอื งดอกจอกเปน็ เฟืองท่ใี ช้สง่ กาลงั เพอ่ื เปลี่ยนทิศทางของเพลา สามารถทามุมได้ 90 องศา และเปน็ เฟืองท่ใี หก้ าลังในการส่งมาก รปู ที่ 2.2 แสดงเฟอื งดอกจอก 2.1.1.7 เฟอื งเกลยี วสกรู (Spiral Gears)เป็นเฟืองเกลียวที่ใชส้ ง่ กาลังระหว่างเพลาท่ที ามุม 90 องศาทาหน้าทใ่ี ช้เพือ่ ตอ้ งการเปลย่ี นทิศทางของเพลาใหท้ ามุมกนั 90 องศาคล้ายกับชดุ เฟอื งหนอนแต่ สามารถสง่ กาลังไดน้ อ้ ยเน่อื งจากด้านข้างของฟันมพี นื้ ทีส่ ัมผสั กันนอ้ ยมากสามารถให้อตั ราทดไดร้ ะหว่าง 1 ถงึ 5

8 รูปที่ 2.3 แสดงเฟอื งเกลยี วสกรู 2.1.2 สายพาน จะส่งถ่ายโมเมนต์ด้วยความเสียดทาน ( Friction) ระหว่างล้อสายพานและสายพานส่วนการทาให้ สายพานตึงนนั้ จะได้จากการ กาหนดให้มคี วามยาวสายพานท่ีถกู ต้อง ด้วยการขยายระยะหา่ งระหว่าง แกนเพลา เช่นให้มอเตอรข์ บั ยึดอยใู่ นรางเล่ือนไดห้ รือบนแทน่ เอียงปรับข้ึนลงหรอื ใช้ลกู กลง้ิ กดสายพาน ด้านหยอ่ น(ขณะสง่ กาลัง)ใหอ้ ยูใ่ กล้ดา้ นลอ้ พูเล่ 2.1.2.1 สายพานแบน จะผลิตจากหนงั สง่ิ ทอ หรอื ทาจากชนั้ ต่างๆ ของหนังพลาสติก และเสน้ ใยหลาย ๆ ชั้น สายพานแบนสามารถนามาใช้งานในลักษณะไขว้หรือกง่ึ ไขว้ไดแ้ ต่การสึกหรอของสายพานดังกล่าวจะ เกดิ ข้นึ มากกวา่ การใชข้ องสายพานลักษณะเปิด (ดรู ูป 2.4) รปู ที่ 2.4 แสดงการสง่ กาลังของสายพานแบน 2.1.2.2 สายพานลิ่ม เป็นสายพานลิ่มชนดิ ท่ีมีการวลั เคไนเซชั่น และมีพลาสตกิ ใยแกว้ สั้น ๆเสริมดา้ นล่าง จะทา ให้ด้านขา้ งของสายพานทนแรงดัด และการสกึ หรอไดส้ งู ขึน้ สายพานท่ีมรี อ่ งฟนั ใต้สายพานจะเหมาะ สาหรับใชง้ านกับล้อสายพานขนาดเล็กสายพานล่ิมเสน้ บางเปิดด้านขา้ งจะนิยมนามาใช้ขบั เคล่อื นอุปกรณ์ หมุนเร็วในยานยนต์ และเครอ่ื งจกั รกลหรอื เคร่อื งจกั รกลทางการพิมพ์

9 รูปท่ี 2.5 แสดงลักษณะและโครงสรา้ งของสายพานล่มิ 2.1.2.3 การประกอบสายพาน(Installing Belts) กอ่ นทาการประกอบสายพานใด ๆก็ตามให้ กระทาดงั น้ี 1) ตรวจสอบดวู า่ มีคาเตอื นเรอ่ื งความปลอดภัยทีต่ ้องปฏบิ ตั กิ ่อนหรือไม่ 2) คลายอุปกรณท์ ีป่ รบั ตงึ สายพานใหอ้ ยใู่ นสภาพหยอ่ นเตม็ ที่ 3) ทาความสะอาดผิวหรอื ร่องลอ้ สายพาน 4) ตรวจสอบแนวร่วมศนู ย์ของลอ้ สายพานทัง้ สองดว้ ยบรรทดั เหลก็ รปู ท่ี 2.6 แสดงการตรวจสอบแนวรว่ มศนู ยข์ องล้อสายพานทั้งสองด้วยบรรทดั เหล็ก 2.1.2.4 การบารงุ รักษาสายพาน สายพานแบน :สายพานที่ทาจากหนงั เมอ่ื ใช้งานไปนาน ๆผิวสัมผสั จะเกิดเป็นมนั ซ่ึงอาจเกดิ จากการตงึ สายพานไม่เพียงพอ ทาให้เกิดการลืน่ ไถลน้ันหา้ มนามาเทเรซนิ เด็ดขาด เพราะเรซินทุก ชนิดจะทาใหส้ ายพานเสยี หายสายพานหนังท่มี ีผวิ สัมผัสมัน จะนิยมใชน้ า้ สบู่พออ่นุ และแปรงขัดออก (ห้าม ใช้แปรงลวดทแ่ี ข็งและคม)หลังจากปลอ่ ยใหแ้ ห้งแล้วนามาทาดว้ ยนา้ มันสตั ว์หรือนา้ มนั พชื หรือจาระบี

10 ปล่อยทง้ิ ไว้ให้ซมึ เข้าไปในสายพาน (ทาใหส้ ายพานอ่อนตวั )หลังจาก 2 ช่วั โมงหากยังมีเศษน้ามนั หรือ จาระบที ีส่ ายพานไม่สามารถดูดซมึ ตอ่ ไปแลว้ ให้ใช้ผา้ เช็ดออกใหแ้ หง้ 2.1.3 โซ่ โซ่ลกู กลงิ้ และโซบ่ ูชจะประกอบดว้ ยแผน่ ปดิ ข้างโซ่ด้านนอกและดา้ นในท่ียดึ ดว้ ยบูชและ โบลตเ์ ขา้ ด้วยกันโซล่ ูกกลิง้ ท่มี ีใช้งานสว่ นใหญ่จะมลี กู กล้ิงทีช่ บุ แข็งรอ้ ย(หมนุ ได)้ อยูใ่ นบูชลูกกลง้ิ น้จี ะช่วย ลดความเสยี ดทานและการสกึ หรอของด้านข้างของเฟอื งโซ่ในขณะทล่ี อ้ เฟืองขับโซแ่ ละมเี สียงดังน้อยเมื่อ ความเรว็ โซส่ งู ในการใช้งานให้รบั โมเมนต์หมนุ มาก ๆจะใช้โซล่ ูกกล้ิงและโซบ่ ชู แบบชดุ หลายเส้น โซ่ ลูกกลง้ิ ตามมาตรฐานจะนามาใชง้ านไดถ้ งึ ความเรว็ 30 m/sในการสง่ กาลังในรถยนต์ในเครอื่ งมอื กลและใช้ โซล่ าเลียงโดยปกติโซ่บูชจะทนการสึกหรอมากกวา่ โซ่โบลต์ บูชจะหมุนได้ส่วนโบลต์จะยดึ แนน่ กับแผ่นปดิ นอก แผ่นปิดสว่ นใหญ่จะทาจาก St60 สว่ นโบลต์จะทาจากเหล็กกล้าอาบคาร์บอน C15 2.1.4 สลกั หนา้ ทีข่ องสลกั สลกั เป็นชิ้นสว่ นเครอื่ งจักรกลที่สามารถถอดรือ้ ได้ส่วนใหญจ่ ะใชง้ าน รับภาระเฉือน 2.1.4.1 สลกั สวมอัดจะใช้ยึดชิน้ ส่วนเครื่องจกั รกลที่ต้องการล๊อคตาแหนง่ แนน่ อนเขา้ ดว้ ยกันทาให้ป้องกันการขยบั เลื่อนของชิน้ สว่ นไปดา้ นขา้ งจากแรงตามขวางไดส้ ลกั แบบน้ีสามารถทาการ ประกอบ(หลงั จากถอดออกมาแล้ว)เขา้ ตาแหน่งเดิมไดง้ ่ายสว่ นการถ่ายทอดแรงระหว่างชิน้ ส่วนนั้นจะมีสกรู ยึดเพมิ่ เติม 2.1.4.2 สลกั ยดึ ใช้ยดึ ชน้ิ สว่ นต้ังแต่ 2 ชิน้ ข้ึนไป โดยสามารถถ่ายเทแรงและโมเมนตบ์ ิดได้ สามารถถอดประกอบงา่ ย และเป็นอันตรายต่อภาคตัดขวางของชิ้นงานนอ้ ยกวา่ 2.1.4.3 สลักรับแรงเฉอื นใช้ปอ้ งกนั การเสยี หายของช้นิ ส่วนในกรณที ี่ช้ินสว่ นรบั ภาระมาก เกนิ ไป จะนิยมใช้กับงานเครื่องมอื กล เชน่ ระหวา่ งเพลาขับกบั เพลางานสปนิ เดลิ เพื่อป้องกันมใิ ห้ชดุ เฟอื ง เกียรร์ ับโมเมนตบ์ ิดมากเกินไป

11 รปู ที่ 2.7 แสดงรูปรา่ งของสลัก 2.1.5 การยึดด้วยสกรู ในการยดึ ชน้ิ ส่วนในเครอื่ งจักรกลส่วนใหญจ่ ะนิยมใชส้ กรทู ส่ี ามารถถอดได้ง่ายสกรทู ใ่ี ช้ จะแบ่งได้ 3 ลักษณะคือ สกรูยดึ แบบร้อยสกรูยึดแบบฝงั ในชน้ิ งานสกรูยดึ แบบสลกั ฝัง ( Stud) ดูรปู ที่2.10 รูปท่ี 2.8 แสดงลกั ษณะการยดึ ดว้ ยสกรู 2.1.6 นตั (Nut) ในการยดึ ช้ินงานด้วยสกรูและนตั จะเกดิ แรงดงึ ในหวั สกรูและนัตแลว้ ถา่ ยทอดเป็นแรงกด บนชิน้ งานจากแรงขนั ยดึ จะทาใหส้ กรเู กดิ การยดื ตวั ออกทน่ี ัตจะเกดิ แรงกระทาท่ีฟนั เกลียวที่ 1 มากทสี่ ุดและ ลดนอ้ ยลงไปเรื่อย ๆบนฟนั เกลียว

12 2.1.7 สารหลอ่ ลื่น การหล่อลน่ื ในอปุ กรณ์ตา่ ง ๆมีวัตถุประสงคห์ น้าทท่ี ่หี ลากหลายตามการออกแบบอุปกรณ์ ของวิศวกรการหล่อล่ืนมคี วามจาเป็นมากในการใช้หลอ่ ล่นื ผวิ วตั ถุทเ่ี ป็นเหลก็ หรือโลหะ 2 พ้นื ผิวเน่อื งจาก ผวิ เหลก็ จะไมเ่ รยี บและมกี ารขรขุ ระทีพ่ น้ื ผวิ อีกทงั้ ยังมีทั้งพ้ืนผิวทีส่ งู และตา่ มที งั้ ส่วนทย่ี น่ื ออกมา ( Peak) และส่วนทล่ี กึ เปน็ หลมุ ลงไป ( Valleys) ซึง่ หากไมม่ ีระบบหลอ่ ล่นื ทถ่ี ูกต้องสว่ นที่เป็น Peakจะเกดิ การเก่ยี ว ติดและขัดกันเม่ือชนิ้ สว่ นเคล่อื นท่จี ะสง่ ผลทาให้เกิดการสญู เสยี พลงั งานในการออกแรงต้านความฝดื เพ่ิมขนึ้ ซงึ่ เหลา่ น้ีจะถูกขจดั ไดโ้ ดยการใชส้ ารหล่อล่นื เข้ามาในระบบโดยจะอาศัยผิวฟิลม์ ของสารหลอ่ ลืน่ (Lubricant Films) น่นั เอง เมื่อฟลิ ์มของสารหล่อลื่นมกี ารกระจายทง้ั ชน้ิ สว่ นของอปุ กรณ์ โดยมีฟิลม์ ท่หี นาเพือ่ ปอ้ งกันไม่ใหผ้ วิ ของโลหะสัมผัสกัน ซ่งึ เรยี กการหลอ่ ลนื่ ในลกั ษณะนี้ว่าอย่ใู นสภาพ Hydrodynamic Lubrication (HDL) แตห่ ากเมือ่ สารหล่อลื่นทาหนา้ ที่คลา้ ยของแข็งอยรู่ ะหว่างกลางของผวิ ที่ตอ้ งการหล่อลน่ื ทง้ั สองผิวและผวิ ชนิ้ สว่ นในขณะทแ่ี รงดันบนผวิ โลหะสง่ ผลใหผ้ ิวโลหะมอี าการ ยืดหยุ่น ( Elastically Deform) คลา้ ย ๆ กับเป็นผิววัตถหุ ยดื หยนุ่ ได้ เรยี กขบวนการนีว้ า่ Elastohydrodynamic Lubrication (EHD) มกั พบการหล่อลื่นลกั ษณะน้ใี นตลบั ลกู ปืนแบบแบร่งิ ลกู กล้งิ และหากในกรณที ีม่ พี ้ืนทส่ี มั ผัสระหว่างพืน้ ผวิ น้อย, การมแี รงกระทาตอ่ วัตถมุ ากเกนิ ไป , การท่คี ่าความหนดื ของสารหลอ่ ลื่นตกลงตลอดจนการเลอื กใช้ ชนดิ และปรมิ าณของสารหล่อลน่ื ท่ไี ม่ถูกตอ้ งจะสง่ ผลทาให้ผวิ ชิ้นงานถกู บีบเขา้ หากันอยา่ งรวดเรว็ ซงึ่ จะ สง่ ผลให้ตอ้ งใชพ้ ลังงานมากขนึ้ ในการออกแรงเพือ่ เคลอ่ื นทเี่ รยี กกระบวนการนวี้ า่ Boundary Lubrication นอกจากนย้ี งั มีการหลอ่ ล่ืนทใ่ี ชใ้ นอปุ กรณท์ ่ที างานทีอ่ ณุ หภูมิสงู มาก ๆทาใหส้ ารหลอ่ ล่ืนปกตไิ มส่ ามารถทน ได้ ตอ้ งใช้ Graphite หรือ Molybdenumdisulfide แทนเรยี กการหลอ่ ล่นื ในลกั ษณะน้ีวา่ Solid Film 2.1.7.1 จาระบี จาระบเี ป็นผลิตภัณฑห์ ลอ่ ล่นื มลี ักษณะกึง่ แข็งกง่ึ เหลวเหมาะสาหรับให้การหล่อ ลน่ื ในท่ีซง่ึ นา้ มันไมส่ ามารถจะใหก้ ารหลอ่ ลื่นไดอ้ ย่างสมบรู ณเ์ ช่น แบรง่ิ หรอื ลูกปืนบางชนดิ แหนบ ลูกหมาก ฯลฯ จดุ ใชง้ านเหลา่ นถี้ า้ ใช้นา้ มนั เป็นผลติ ภัณฑ์หล่อล่ืนย่อมมีปญั หาเรอื่ งการร่วั ไหล หลุดกระเดน็ ฝุ่นหรือส่ิงสกปรกแทรกตัวเขา้ ไปเจอื ปน ทาให้การหล่อล่ืนไม่ได้ผลเกิดความเสยี หายกบั ชิน้ ส่วนของ เครอ่ื งจกั ร

13 การใช้จาร ะบีจะมคี ณุ สมบตั ใิ นการเกาะชน้ิ สว่ นที่ตอ้ งการหล่อล่นื ไดด้ ีกวา่ การใช้ นา้ มนั หล่อลื่นนอกจากนน้ั ยงั ทาหนา้ ท่ีเปน็ ตัวจับหรือป้องกันไมใ่ ห้ฝุน่ ผงและส่งสกปรกภายนอกเข้าไปทา ความเสยี หายกับผิวโลหะทใ่ี ช้งานด้วยเราอาจเปรียบเทยี บการหลอ่ ลน่ื ด้วยน้ามันและจาระบไี ด้ดงั น้ี ตารางท่ี2.1 ตารางเปรียบเทียบการใชง้ านจาระบีกับนา้ มัน จาระบี นา้ มนั เกาะจบั ไดด้ เี หมาะกบั ช้นิ ส่วนทเ่ี ปดิ อาจไหลออกไดต้ อ้ งอยใู่ นสว่ นทป่ี ดิ เหมาะกบั การใช้งานหนัก เหมาะกบั เครื่องจักรท่ีปราณีต ไมต่ ้องเติมบ่อยครง้ั เหมาะสาหรับเคร่อื งทีต่ อ้ งการระบายความรอ้ น ด้วย จุดทีใ่ ชจ้ าระบกี ็มีความสาคญั เชน่ เดียวกันกับจดุ หลอ่ ลน่ื จดุ อื่นๆหากเลอื กใช้จาร ะบีไมถ่ กู ตอ้ งแลว้ ยอ่ มทาให้ เกิดผลเสยี หายและความสนิ้ เปลืองตลอดเวลาผใู้ ช้จาระบหี ลายต่อหลายรายยังไม่ค่อยรู้จกั คณุ สมบัติและการ ใช้งานทเ่ี หมาะสมทาใหเ้ กดิ ความเข้าใจผดิ และผดิ พลาดในการใช้งาน ดงั นัน้ จึงขอแนะนาเร่อื งจาร ะบใี ห้ ทา่ นผู้อา่ นรจู้ กั กนั โดยสงั เขปซง่ึ จะเนน้ เฉพาะจาระบีท่เี ป็นผลิตภัณฑป์ โิ ตรเลียมเท่านนั้ คุณสมบัตติ ่างๆของจาระบี 1) ความออ่ นแขง็ (Consistency) จาระบชี นิดเดยี วกันอาจมีความอ่อนแข็งต่างกนั ขึ้นอยู่กบั เปอรเ์ ซน็ ตข์ องสบแู่ ละความหนืด ของน้ามนั พืน้ ฐานทางสถาบันจาร ะบีในสหรฐั อเมริกา ( National Lubricating Grease Institute) หรือชือ่ ย่อ NLGI ได้กาหนดความอ่อนแข็งของจาร ะบีออกเป็นเบอร์โดยปลอ่ ยเครอ่ื งมอื รปู กรวยปลายแหลมใหป้ กั จม ลงในเนือ้ จาร ะบีในเวลา 5 วินาที (อุณหภมู ิ 25 องศาเซลเซยี ส) โดยเบอรต์ า่ เปน็ จาร ะบีท่ีเหลวหรือออ่ น (ระยะจมน้อย) ส่วนระยะจม (Penetration) วดั เปน็ หนว่ ย 1/10 มลิ ลิเมตรซงึ่ แตล่ ะเบอรแ์ ตกตา่ งกันดงั นี้ ตารางที่ 2.2 ตารางเบอร์ความแข็งจาระบี เบอร์ความแข็งจาระบี ระยะจม (1/10 มม.) NGLI No. ที่ 25 องศาเซลเซยี ส 000 445-475 00 400-430

14 0 355-385 1 310-340 2 265-295 3 220-250 4 175-205 5 130-160 6 85-115 ตารางที่ 2.2 ตารางเบอร์ความแขง็ จาระบี (ต่อ) 2) จดุ หยด (Dropping Point) เน่อื งจากจาระบเี ป็นส่วนผสมของนา้ มันหล่อล่ืนและสารเกาะติดประเภทสบซู่ ง่ึ แน่นอนวา่ เมอ่ื อณุ หภมู ิสูงข้ึน โอกาสทนี่ ้ามันจะเยมิ้ แยกตวั ออกมายอ่ มเป็นไปไดม้ าก จุดหยดของจาร ะบคี อื อุณหภมู ิซึ่ง จาระบีหมดความคงตัวเยิม้ ไหลกลายเป็นของเหลวดังนน้ั จดุ หยดตวั จึงเป็นจุดบ่งบอกถงึ อุณหภูมิสงู สดุ ที่ จาระบีทนได้ 3) สารเคมเี พิม่ คณุ สมบัติ (Additive) สารเคมีเพ่มิ คุณภาพท่ผี สมอย่ใู นจารบี มผี ลในการใช้งานสารเคมเี พิม่ คณุ ภาพทผ่ี สม ได้แก่ สารรบั แรงกดแรงกระแทก (EP หรือ Extreme pressure additive) สารป้องกันสนมิ และการกัดกร่อน ฯลฯ นอกจากนถี้ ้าเป็นจาร ะบีใชง้ านพเิ ศษบางชนิดอาจจะผสมสารหล่อลนื่ ลงไปด้วย เช่นโมลิบดิน่ัมได ซัลไฟด์ กราไฟท์ ฯลฯ 4) การเลือกใช้จาระบี จาร ะบีท่จี าหน่ายอยู่ในท้องตลาดมีอยู่หลายประเภทผ้ใู ชต้ ้องพิจารณาถงึ การเลอื กใชใ้ ห้ ถกู ตอ้ งและเหมาะสมขอ้ ควรคานึงในการเลอื กใชม้ ดี ังน้ี สัมผสั กบั นา้ และความชื้นหรอื ไมถ่ า้ สัมผสั หรือเกีย่ วข้องตอ้ งเลือกใชจ้ าร ะบีประเภททนนา้ ถ้าเลอื กใชผ้ ิดประเภทจาระบีจะดูดความชนื้ หรือนา้ ทาให้เยิ้มหลุดออกจากจุดหลอ่ ลืน่ ได้ อุณหภูมิใชง้ านสงู มาน้อยแคไ่ หน จดุ ใช้งานทอ่ี ุณหภูมิสงู กว่า 80 องศาเซลเซยี สควร เลอื กใช้จาระบปี ระเภททนความรอ้ น ถา้ เลือกใชไ้ ม่ถูกต้องจาระบจี ะเย้ิมเหลวทะลักออกมาจากจดุ หลอ่ ล่ืน

15 ในกรณที ีส่ ัมผสั ท้ังนา้ และความรอ้ นควรเลอื กใชจ้ าร ะบีอเนกประสงค์ ( Multipurpose) คณุ ภาพดหี รือจาระบีคอมเพลก็ ซ์ (Complex) ซง่ึ แนน่ อนวา่ ราคายอ่ มแพงกว่าจารบีประเภททนนา้ หรอื ความ ร้อนเพียงอยา่ งเดียว มีแรงกดแรงกระแทกระหวา่ งการใชง้ านถา้ มากควรพจิ ารณาเลอื กใชจ้ าร ะบปี ระเภทผสม สารรบั แรงกดแรงกระแทก (EP Additive) สภาพแวดลอ้ มท่วั ไป เช่น ถ้ามีฝนุ่ ละอองและสงิ่ สกปรกจะเป็นปัจจยั สาคัญทาให้ตอ้ งอัด จาระบบี อ่ ยครง้ั ขึน้ วธิ กี ารใช้งาน ซง่ึ มอี ยู่หลายวธิ ี ถ้าเปน็ แบบจุดจ่ายกลาง ( Central system) ก็ควรใช้จาระบี อ่อน คือเบอร์ 0 หรือ เบอร์ 1 ถา้ เป็นพวกกระปกุ เฟอื งเกยี รก์ ค็ วรใชจ้ าร ะบีออ่ นคือเบอร์ 0 หรอื 1 ถ้าอัดดว้ ย มอื อัดหรอื ปนื อดั อาจใชเ้ บอร์ 2 ถึง 3 หรอื แขง็ กว่านีป้ ้ายหรือทาดว้ ยมือความแข็งออ่ นไม่สาคัญมากนกั นอกจากน้ันถา้ เปน็ จดุ ท่ยี ากตอ่ การหลอ่ ล่ืนควรใช้สเปรยจ์ าร ะบีประเภทที่อยใู่ นรูปของจาร ะบีเหลวใน กระป๋องสเปรย์ซ่งึ เม่อื ฉดี พน่ ออกมาแล้วจะสามารถไหลแทรกซมึ เขา้ ไปตามซอกมมุ ตา่ งๆแลว้ เปลีย่ นสภาพ กลายเป็นจาระบีกงึ่ แขง็ ก่งึ เหลวปกติและคงสภาพการหล่อล่ืนตลอดไป 2.1.7.2 นา้ มันเกียร์ หนา้ ท่ีหลักของน้ามนั หลอ่ ล่นื เกยี รก์ ็คือลดการสกึ หรอและป้องกนั การสึกหรอโดยทา หนา้ ท่ีเปน็ ฟลิ ม์ นา้ มนั คั่นอยู่ระหว่างผวิ สมั ผัสของฟนั เกยี รน์ อกจากนัน้ ยังทาหนา้ ทช่ี ่วยระบายความรอ้ นอกี ดว้ ยในสภาวะท่เี กยี ร์รบั แรงกดดนั ไมส่ งู น้ามนั หล่อล่ืนพ้ืนฐานธรรมดาอาจไมเ่ พยี งพอนา้ มันเกยี รจ์ ะตอ้ งมี ความหนดื ทเ่ี หมาะสมสามารถรกั ษาฟิล์มนา้ มันในขณะทฟ่ี ันเกียร์ขบกนั ขณะเดียวกนั จะต้องใสพอท่ีจะไหล ไดเ้ พือ่ พาความรอ้ นจากฟันเกียร์ออกไป นา้ มันเกยี ร์มกั ประกอบด้วยน้ามันพืน้ ฐานทม่ี ดี ชั นคี วามหนดื สูง( HVI) และความหนืด ข้ึนอยกู่ ับความเรว็ รอบของเกียร์ สาหรบั เกียรฟ์ ันตรงเกียร์ฟนั เฉียงและเกียรด์ อกจอกท่รี ับแรงกดสงู มักใช้ น้ามันเกยี รท์ ่ปี ระกอบด้วยสารรับแรงกดอยา่ งออ่ น หรือ Mild EP ( Extreme Pressure) เช่น พวกเลดแนฟ ทเี นท (Lead Naphthenate) หรือซลั เฟอไรซ์แฟตตีอ้ อยล์ ( Sulphurised Fatty Oils) สว่ นพวกเกยี รต์ ัวหนอน มกั ใช้น้ามันประเภท HVI คอมเปานด์ออยลห์ รอื นา้ มนั ทผี่ สมสารรบั แรงกดอยา่ งอ่อน ไฮปอยด์เกยี ร์ตอ้ งการนา้ มนั ที่ผสมสารรับแรงกด ( EP) ชนิดพิเศษเพื่อปอ้ งกนั การขัดถูหรือ ขบกนั อย่างรุนแรงน้ามนั ดังกลา่ วมักประกอบด้วยสารเพ่มิ คุณภาพพวกกามะถนั ( Sulphur) คลอรีน

16 (Chlorine) หรือฟอสฟอรัส (Phosphorus) ในขณะท่ีเกียรก์ าลงั ถกู ใชง้ านและมคี วามร้อนเกิดข้ึนสารเหล่านจี้ ะ ทาหนา้ ทีเ่ ป็นฟิล์มเคลือบอยู่บนผวิ เพ่ือป้องกันการสมั ผสั หรอื ขบกันของฟันเกยี รน์ า้ มันหลอ่ ลื่นสาหรับ ไฮปอยดเ์ กียรใ์ นเฟอื งทา้ ยของรถยนต์รนุ่ ใหมจ่ ะต้องมีคณุ สมบัติตามที่ผ้ผู ลิตรถยนตห์ รือหนว่ ยงานมาตรฐาน กาหนดซง่ึ รวมถึงการทดสอบสมรรถนะตา่ งๆของนา้ มนั เกียรด์ ว้ ย 2.1.7.3 เทคนคิ การเลือกใชน้ า้ มันเครือ่ ง โดยทว่ั ไปแล้วการตดั สนิ ใจเลอื กสารหล่อลืน่ ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพมักจะนยิ มใช้หลกั การงา่ ย ๆ 4 อย่าง ซึ่งรู้จักกนั ในช่อื ของ 4R โดยมีผลตอ่ การประหยดั พลังงานในเครอ่ื งจกั รเป็นอยา่ งย่ิงหากเลือกใช้ อย่างถกู วิธี ซึง่ ใน 4R มรี ายละเอยี ดดงั น้ี 1) R - Right Lubricant Type เลือกชนิดของสารหล่อลน่ื ใหถ้ ูกตอ้ ง โดยยึดหลักเบอื้ งต้นดังนี้ -เลือกคา่ ความหนืดของสารหล่อลื่นให้ตรงตามวัตถุประสงคแ์ ละการใช้งานของเครือ่ งจักร -เลอื กใช้ลกั ษณะของสารหล่อลื่นแบบนา้ มันหลอ่ ลนื่ หรือจารบใี ห้ถูกต้อง -เลอื กสารหล่อล่ืนทส่ี ่งผลกระทบต่ออุปกรณแ์ ละสภาพการทางานร่วมให้น้อยทีส่ ุด 2) R - Right Place เลอื กใช้สารหลอ่ ลืน่ ใหเ้ หมาะสมกับสภาพพน้ื ผิวตา่ ง ๆ เชน่ ในสว่ นของชุดตลบั ลกู ปนื มกั จะถกู ออกแบบให้มีรอ่ งภายในเพอื่ ใหส้ ารหล่อล่ืนสามารถไหลผา่ นไปยังพน้ื ผวิ สมั ผัสตา่ ง ๆเพือ่ ลดแรง เสยี ดทานได้ เป็นตน้ ในการหล่อล่ืนอุปกรณฟ์ ันเฟืองต่าง ๆ ควรใชว้ ิธีการหยดสารหล่อลืน่ ในจุดร่วมของ ฟันเฟือง 2 ฟันเฟืองทีข่ บกนั อยู่ 3) R-Right Amount ต้องพิจารณาปัจจัยตา่ ง ๆ เพอ่ื หาความต้องการของสารหลอ่ ลนื่ ในอปุ กรณต์ า่ ง ๆซึ่งแนน่ อน วา่ ต่างอุปกรณก์ ย็ ่อมมีความต้องการสารหล่อล่นื ที่ต่างกันโดยพจิ ารณาปจั จยั ต่าง ๆ จากการออกแบบในชุด ตลบั ลกู ปนื , ความฟติ (หลวม-แน่น)ของอุปกรณ์, ความเรว็ ของเคร่อื งจักร , ภาระงาน (Load) ของเครอื่ งจักร, ชนดิ ของสารหล่อล่นื , สภาพแวดล้อมของงาน และพนื้ ท่ผี ิวของสว่ นท่ีต้องการหลอ่ ลน่ื 4) R-Right Time วิศวกรและช่างเทคนคิ ควรมตี ารางการบารุงรักษาเครอื่ งจกั รต่างๆโดยนาชว่ งเวลาในการ เปลย่ี นสารหลอ่ ลื่นเป็นส่วนหนง่ึ ทีส่ าคัญของการบารุงรกั ษาดว้ ย

17 โดยทวั่ ไปแลว้ การเตมิ สารหล่อลน่ื ที่พรอ่ งหายไปหรือหมดอายใุ ช้งาน ควรเตมิ ในจานวน น้อยแตเ่ ตมิ บอ่ ยจะให้ประโยชน์มากกวา่ การเติมสารหล่อลนื่ แต่ละครั้งเปน็ จานวนมากแต่นานนานครัง้ จงึ จะ เตมิ ขอ้ สรปุ สุดทา้ ยของการเลือกใชส้ ารหล่อลื่นว่าควรใชแ้ บบใดในเครื่องจกั รกค็ ือ สภาพการ ประยุกต์ ใชง้ านวศิ วกรและช่างเทคนคิ ควรเลอื กสารหลอ่ ลืน่ ทเี่ หมาะสม ทส่ี ามารถช่วยลดการใชพ้ ลงั งานใน เครอ่ื งจกั รลงเม่ือเปรยี บเทยี บกบั การลงทนุ ในการซอ้ื สารหลอ่ ลืน่ ซึ่งในสภาพปจั จุบันมรี ะดบั ของสารหล่อ ลนื่ ที่ตา่ งกันในทอ้ งตลาดอยปู่ ระมาณไม่เกิน 10 ระดับ เม่ือเทยี บกับประมาณ 30 ปีกอ่ น ซ่งึ มีระดบั ของสาร หลอ่ ล่นื ในท้องตลาดมากกว่า 20 ระดับ น้นั หมายถึงคุณภาพของสารหลอ่ ลื่นท่สี ูงข้นึ และแต่ละชนิดสามารถ ครอบคลมุ ลกั ษณะงานการหล่อลน่ื โดยมขี อบเขตทก่ี วา้ งขน้ึ อันจะนามาซงึ่ การจัดวสั ดคุ งคลังหรอื การสตอ๊ ค น้ามันหลอ่ ล่ืนใน ห้องอะไหลท่ ่ีน้อยชนิดลงนน่ั เอง 2.1. 7.3 การบารุงรักษาเครือ่ งจักรกล การบารุงรักษาทีถ่ ูกต้องในขณะใช้งานจะเปน็ วธิ ีทจี่ ะใหเ้ คร่ืองจกั รกลมอี ายยุ ืนนานและ ผลิตภัณฑ์หล่อล่นื ทใ่ี ชม้ ีอายุการใชง้ านทีย่ นื นานด้วยเพ่ือความมัน่ ใจได้วา่ เม่ือถงึ กาหนดถา่ ยเปล่ยี นแลว้ ผลติ ภณั ฑ์หลอ่ ลนื่ ที่ถ่ายเปลยี่ นออกมายังอยู่ในสภาวะที่สามารถใหค้ วามค้มุ ครองเครื่องจกั รกลมิใหเ้ กิดการ สกึ หรอในอตั ราทเี่ กนิ ปกติ แนวทางที่ควรยึดถือมีดังน้ี ควรหมน่ั สังเกตความเปลีย่ นแปลงของผลติ ภณั ฑ์หลอ่ ลน่ื ในระบบในเรื่องสีระดับ อตั รา การพร่องและสภาพเพราะส่งิ เหลา่ นเ้ี ปน็ ตัวบง่ ชถี้ งึ ปญั หาท่เี กดิ ขึ้น เช่นหากสีน้ามนั หลอ่ ลื่นขุน่ แสดงว่ามนี ้า รั่วไหลเข้ามาปะปนจะทาใหก้ ารหล่อลนื่ ลดประสทิ ธภิ าพลงและอาจเกิดสนมิ ในเครือ่ งไดอ้ ัตราการพรอ่ ง หากมากผิดปกติ แสดงวา่ มกี ารรัว่ ซึมของระบบหลอ่ ล่ืนและหากมากขึ้นอาจเกดิ การขาดน้ามัน ทาให้ เครื่องจกั รสกึ หรอได้ ควรถ่ายเปล่ียนผลติ ภัณฑห์ ลอ่ ลื่นตามกาหนดทผี่ ผู้ ลติ เครือ่ งแนะนา และการถ่ายเปลีย่ นต้อง มนั่ ใจว่าเตมิ ถูกชนิดในปริมาณท่พี อดี ไม่มากไปหรือนอ้ ยไป และมกี ารบันทกึ เพอื่ อ้างองิ ตอ่ ไปต้อง ระมัดระวงั มิใหเ้ กิดการใชป้ ะปนกับผลิตภัณฑห์ ลอ่ ล่นื เกรดอ่นื หม้อกรองน้ามันหล่อลื่น หม้อกรองอากาศ และหมอ้ กรองเชอื้ เพลิง ต้องหม่นั ลา้ งและ เปลยี่ นตามกาหนดหรือเมอ่ื เส่อื มสภาพ ควรหมนั่ ปรบั แตง่ เคร่ืองจกั รกลให้ถกู ต้องเสมอ เช่น ตง้ั ศูนย์ เปน็ ต้น

18 เม่อื ทาการถอดซ่อมแซมชิน้ สว่ นใหเ้ ชด็ ล้างใหส้ ะอาดก่อนนามาประกอบ และเมือ่ ต้องเตมิ นา้ มนั ใหมค่ วรฟลัชล้างระบบดว้ ยนา้ มันชนิดนั้นก่อนเพื่อแน่ใจวา่ ระบบสะอาดก่อนเตมิ น้ามันใหม่และเร่มิ ใช้งานควรใชเ้ คร่ืองจักรกลตามกาลังความสามารถ และใช้อยา่ งถนอม 2.1.7.4 ข้อแนะนาในการหลอ่ ลืน่ การหลอ่ ลนื่ ควรจะไดก้ ระทาโดยผู้ท่มี หี นา้ ทีใ่ นเรอ่ื งนโ้ี ดยเฉพาะและควรทาเปน็ ประจาอยู่ เสมอ ระยะการเติม การถา่ ย เปลี่ยน หลอ่ ลื่นขน้ึ อยู่กับสภาพการทางานของเคร่อื งและควรจะต้องปฏบิ ตั ิ ตามท่ผี ผู้ ลิตเครือ่ งไดแ้ นะนาไว้ กอ่ นท่จี ะใช้หล่อลน่ื แตล่ ะครั้ง ควรตรวจสอบให้แน่วา่ น้ามันหรือจาร ะบีท่ีจะใชน้ นั้ เปน็ ชนดิ ทถี่ กู ต้อง ระยะเวลาที่จะเตมิ หล่อล่นื ควรใหถ้ ูกต้องสม่าเสมอท้งั น้ีแล้วแตก่ รณีบางทีเดอื นละครงั้ อาจจะมากเกนิ ไปและบางทวี นั ละคร้ังอาจจะน้อยเกินไปกไ็ ด้ ปรมิ าณของน้ามนั และจาระบีท่ใี ช้ควรเตมิ ใหพ้ อดี ถ้ามากเกนิ ไปอาจจะทาความเสยี หายได้ เท่าๆกับเตมิ นอ้ ยเกนิ ไป เกบ็ นา้ มนั หล่อล่ืนและจาร ะบไี วใ้ นท่ีสะอาดใหถ้ ังและภาชนะสะอาดอย่เู สมอและตอ้ งมี เคร่อื งหมายแสดงชนดิ และเกรดไวช้ ัดเจนดว้ ย เพอื่ ปอ้ งกันการผิดพลาดเม่ือนาไปใช้ บนั ทึกรายละเอียดเกีย่ วกบั ปริมาณหล่อลนื่ แต่ละเกรดท่ใี ช้ตลอดจนการซ่อมแซมและ ข้อความอ่นื ๆ ทส่ี าคัญไวท้ กุ ครงั้ แล้วนามาศกึ ษาดเู พอ่ื ท่ีจะได้หาทางปรบั ปรงุ แก้ไข 2.2 ทฤษฏีทางด้านไฟฟ้า 2.2 .1 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 2.2 .1.1 มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงนั้นจะใชใ้ นงานในดา้ นการขบั เคล่ือนในแบบต่าง ๆ ทีม่ อี ัตราเรว็ ไมส่ ูงมากนัก เนื่องจากมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงนั้นมแี รงบิดเรม่ิ ตน้ ท่สี ูง ( starting torque) สามารถควบคุม ควบคมุ อัตราเร็วได้คอ่ นข้างง่าย แต่มีขอ้ เสียคอื มีโครงสรา้ งที่คอ่ นข้างซับซ้อนมากจึงไมเ่ หมาะท่ีจะใชใ้ นงาน ท่มี อี ัตราเร็วค่อนสงู มากๆ

19 รปู ที่ 2.9 แสดงโครงสรา้ งของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 1. โครง(เปลือกหุ้ม) (Yoke) 2. ขดลวดสนามแม่เหล็ก (Field Windings) 3. แกนขว้ั แม่เหลก็ ( Pole shoes) 4. อารเ์ มเจอร์ (Armature) 5. คอมมวิ เตเตอร์ (Commutator) 6. แปรงถ่าน (Brushes) 7. ฝาครอบหัวทา้ น (Endplates) 2.2.1.2 โครงสรา้ งของมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรงประกอบดว้ ย 2 สว่ นหลัก ๆ คอื ส่วนท่อี ยู่กับที่ และ ส่วนทเ่ี คลอ่ื นที่ ส่วนท่อี ยู่กบั ท่ีหรอื ท่เี รียกวา่ สเตเตอร์ (Stator) ประกอบด้วย เฟรมหรอื โยค (Frame Or Yoke) คอื เปน็ โครงสรา้ งภายนอก ทีเ่ รามองเห็นเป็นตวั มอเตอร์ จะทาหนา้ ท่เี ป็นเส้นทางเดินของสนามแรงแม่เหล็กจากขัว้ เหนอื้ ไปข้วั ใต้ใหค้ รบวงจร และเป็นทย่ี ึดสว่ น ต่างๆ ใหแ้ ข็งแรง ทาดว้ ยเกลก็ หลอ่ หรอื เหลก็ แผ่นหนาม้วนเป็นรูปทรงกระบอก ข้ัวแมเ่ หล็ก (Pole) ประกอบด้วย 2 สว่ นคือแกนข้วั แมเ่ หล็กและขดลวด จะทาหน้าทรี่ บั กระแสจากภายนอก และสรา้ งสนามแมเ่ หล็ก ซง่ึ จะทาให้เกดิ แรงบดิ ขน้ึ (Torque) สว่ นแรกแกนขั้ว (Pole Core) ทาด้วยแผ่นเหลก็ บางๆกนั้ ดว้ ยฉนวนประกอบกันเปน็ แทง่ ยึด ตดิ กับเฟรมสว่ นปลายทท่ี าเป็นรูปโคง้ นั้นเพอ่ื โคง้ รับรปู กลมของตวั โรเตอร์เรียกว่าขัว้ แม่เหลก็ (Pole Shoes) มวี ัตถุประสงค์ให้ขั้วแม่เหล็กและโรเตอร์ใกลช้ ิดกันมากทส่ี ดุ เพอ่ื ให้เกดิ ช่องอากาศน้อยท่ีสุดเพ่ือให้เกิดช่อง อากาศนอ้ ยทส่ี ุดจะมผี ลให้เส้นแรงแม่เหลก็ จากขัว้ แมเ่ หล็กจากขั้วแมเ่ หลก็ ผา่ นไปยังโรเตอร์มากทสี่ ดุ แล้วทา ใหเ้ กดิ แรงบดิ หรอื กาลงั บดิ ของโรเตอร์มากเป็นการทาให้มอเตอรม์ ีกาลงั หมนุ (Torque) รูปที่ 2.10 แสดงลักษณะของขั้วแมเ่ หลก็ ส่วนทส่ี อง

20 ขดลวดสนามแมเ่ หล็ก(Field Coil) จะพันอยรู่ อบๆแกนขว้ั แม่เหล็กขดลวดนที้ าหนา้ ทรี่ ับกระแสจาก ภายนอกเพื่อสร้างเสน้ แรงแม่เหล็กให้เกดิ ขึน้ และเสน้ แรงแม่เหลก็ น้จี ะเกิดการหักลา้ งและเสรมิ กันกับ สนามแม่เหล็กของอาเมเจอร์ทาใหเ้ กดิ แรงบดิ ข้ึน รปู ที่ 2.11 แสดงภาพขดลวดพนั อยูร่ อบขั้วแมเ่ หลก็ สว่ นท่ีเคลอ่ื นทห่ี รอื โรเตอร์ ( rotor) จะมขี ดลวดอารเ์ มเจอร์( ArmatureWinding)ทพ่ี นั อยบู่ นแกนเหล็กอา เมเจอร์ (Armature core) และมีคอมมิวเตเตอรย์ ดึ ติดอยทู่ ีป่ ลายของขดลวดอารเ์ จอร์ ดังรปู รูปท่ี 2.12 แสดงโรเตอรห์ รืออาเมเจอร์ของมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง ซึ่งในสว่ นนี้ คอมมวิ เตเตอร์จะทาหน้าทีใ่ นการสมั ผสั กับแปรงถ่านคาร์บอน ( CarbonBrushes)ท่ีอยู่ ในมอเตอรเ์ พ่อื ท่จี ะให้มีกระแสไหลผา่ นไปยังขดลวดอารเ์ มเจอร์ ทาให้เกิดการสร้างสนามแมเ่ หลก็ ขน้ึ เพือ่ ให้เกดิ การหักลา้ งและเสริมกนั กันกับสนามแม่เหล็กที่เกิดจากขดลวดแม่เหล็ก ซง่ึ จะทาใหม้ อเตอรห์ มนุ ได้ ตวั โรเตอรป์ ระกอบดว้ ย 4 สว่ นดว้ ยกัน คือ แกนเพลา ( Shaft) เป็นตวั สาหรับยืดคอมมวิ เตเตอร์ และยึดแกนเหล็กอารม์ าเจอร์ แกนเหล็กอาร์มาเจอร์ (Armature Core) ประกอบเปน็ ตวั โรเตอร์แกนเพลาน้ีจะวางอย่บู นแบรงิ่ เพอื่ บังคับใหห้ มนุ อยูใ่ นแนวนงิ่ ไมม่ กี ารส่ันสะเทือนได้ คอมมวิ เตเตอร์ (Commutator) ทาด้วยทองแดงออกแบบเป็นซแ่ี ตล่ ะซ่ีมีฉนวนไมกา้ (mica) คั่น ระหว่างซ่ขี องคอมมวิ เตเตอร์ สว่ นหวั ซี่ของคอมมิวเตเตอร์จะมรี อ่ งสาหรบั ใส่ปลายสาย ของขดลวดอารม์ า เจอร์ตวั คอมมวิ เตเตอร์นอ้ี ดั แนน่ ติดกบั แกนเพลา เปน็ รปู กลมทรงกระบอกมหี น้าท่ีสัมผสั กับแปรงถา่ น (Carbon Brushes) เพอื่ รบั กระแสจากสายป้อนเข้าไปยงั ขดลวดอารม์ าเจอร์เพอ่ื สร้างเสน้ แรงแมเ่ หลก็ อกี ส่วน หนึ่งใหเ้ กิดการหกั ลา้ งและเสริมกนั กบั เสน้ แรงแม่เหลก็ อกี สว่ นซงึ่ เกิดจากขดลวดข้ัวแม่เหล็ก ดังกล่าว มาแล้วเรียกว่าปฏกิ ริ ิยามอเตอร์ (Motor action)

21 ขดลวดอารม์ าเจอร์ (Armature Winding) เปน็ ขดลวดพนั อยู่ในรอ่ งสลอท (Slot) ของแกน อารม์ าเจอร์ขนาดของลวดจะเลก็ หรอื ใหญแ่ ละจานวนรอบจะมากหรอื นอ้ ยนน้ั ขึ้นอยกู่ ับการออกแบบของตวั โรเตอรช์ นดิ นั้นๆเพือ่ ท่จี ะให้เหมาะสมกบั งานต่างๆ ท่ตี อ้ งการ แปรงถา่ น (Brushes)ทาด้วยคาร์บอนมีรูปร่างเป็นแท่งสเ่ี หล่ยี มผนื ผา้ ในซองแปรงมสี ปรงิ กดอยูด่ า้ นบนเพื่อใหถ้ า่ นนีส้ ัมผสั กบั ซค่ี อมมวิ เตเตอรต์ ลอดเวลาเพื่อรบั กระแสและส่งกระแสไฟฟา้ ระหวา่ ง ขดลวดอารม์ าเจอร์ กบั วงจรไฟฟ้าจากภายนอกคือถ้าเป็นมอเตอรก์ ระแสไฟฟา้ ตรงจะทาหนา้ ท่รี ับกระแส จากภายนอกเขา้ ไปยังคอมมวิ เตเตอรใ์ ห้ลวดอารม์ าเจอร์เกิดแรงบดิ ทาให้มอเตอร์หมนุ ได้ รูปที่ 2.13 แสดงแปรงถ่าน(รูปซ้าย) และซองแปรงถ่าน(รูปขวา) 2.2.1.3 หลักการทางานของมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง (D.C.Motor) เมอื่ มกี ระแสไหลผ่านเขา้ ไปในมอเตอรก์ ระแสจะแบง่ ออกไป 2 ทาง คือ สว่ นท่หี นง่ึ จะผ่าน เข้าไปท่ีขดลวดสนามแมเ่ หล็ก ( Field coil) ทาใหเ้ กิดสนามแม่เหลก็ ข้ึนและอกี ส่วนหน่ึงจะผา่ นแปรงถ่าน คาร์บอนและผ่านคอมมิวเตเตอรเ์ ข้าไปในขดลวดอารเ์ มเจอร์ทาให้เกิดสนามแมเ่ หล็กขนึ้ เชน่ กัน ซ่ึง สนามแม่เหลก็ ท้งั สองจะเกิดขึ้นขณะเดียวกนั ตามคณุ สมบัติของเสน้ แรงแมเ่ หล็กแลว้ จะไม่มีการตัดกนั จะมี แต่การหกั ล้างและการเสรมิ กัน ซ่งึ ทาให้เกิดแรงบดิ ในอารเ์ มเจอร์ ทาใหอ้ ารเ์ มเจอร์หมนุ ซง่ึ ในการหมุนนัน้ จะเปน็ ไปตามกฎมอื ซา้ ยของเฟลมมงิ่ (fleming’sleft hand rule) รูปที่ 2.14 แสดงทศิ ทางการเคลอ่ื นท่ีของอารเ์ มเจอร์ (โรเตอร์)

22 2.2.1.4 รายละเอียดพ้นื ฐานของมอเตอร์ รายละเอยี ดพ้นื ฐานของมอเตอรท์ ีจ่ ะนามาพจิ ารณาเลือกใช้กบั งานต่าง ๆ ท่จี ะกล่าวถึงมีอยู่ 4 อย่าง คอื แรงดนั ไฟฟ้า ( voltage) การไหลของกระแส ( currentdawn) ความเร็ว (speed) แรงบิด (torque) แรงดนั ไฟฟ้า ( voltage) มอเตอรท์ ุกตวั จะมแี รงดันไฟฟ้าใชง้ านทีแ่ ตกต่างกันตามคุณสมบัตขิ องมอเตอรแ์ ต่ ละตวั ทผ่ี ้ผู ลิตกาหนดมาเช่น มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 12 โวลต์ เปน็ ตน้ สาหรับมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง นนั้ สามารถใชไ้ ฟฟา้ กระแสตรงหรอื กระแสสลับกไ็ ด้ แตถ่ ้าเป็นมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับจะใชไ้ ฟ กระแสสลับเท่านนั้ และแรงดันไฟฟา้ ทีจ่ ่ายให้กบั มอเตอร์จะมีผลต่ออัตราความเร็วและแรงบดิ ของมอเตอร์ คือถ้าหากแรงดันไฟฟ้ามากอัตราเรว็ และแรงบิดของมอเตอรก์ จ็ ะมากดว้ ย การไหลของกระแส ในการไหลของกระแสนนั้ จะกล่าวถึงในกรณีท่ีมอเตอรไ์ ดร้ ับกระแส จากแหลง่ จา่ ย ในกรณีท่ีมอเตอร์ไมไ่ ด้ตอ่ กับโหลดใด ๆ นนั้ จะมีกระแสไหลผ่านน้อย แตใ่ นกรณีทม่ี กี ารใช้ งานตอ่ กับโหลดจะมปี ริมาณกระแสท่เี พม่ิ มากข้ึน การไหลของกระแสน้นั มคี วามจาเปน็ เพราะถ้าหากกระแส ไม่พอแล้วมอเตอร์ก็จะไม่มีกาลังเพียงพอสาหรบั การขบั โหลด และกระแสไฟฟ้าที่จ่ายใหก้ บั มอเตอรจ์ ะมีผล ตอ่ อตั ราเร็วและแรงบดิ ของมอเตอรด์ ้วย คือ ถ้าหากจ่ายกระแสไฟฟา้ ให้กับมอเตอรม์ ากอัตราเรว็ และแรงบดิ ของมอเตอรก์ ็จะมากดว้ ย อตั ราเรว็ ส่วนใหญม่ อเตอรก์ ระแสตรงจะมีอตั ราเร็วปกติที่ 4000-7000 รอบตอ่ นาที ซึ่ง อัตราเรว็ ของมอเตอรส์ ามารถลดลงหรอื เพม่ิ ขึน้ ไดต้ ามความตอ้ งการของผู้ใช้ ถ้าหากต้องการใชง้ านท่ี ต้องการความเรว็ มากก็ต้องเลือกมอเตอร์ทม่ี ีอตั ราเรว็ สูง เปน็ ตน้ แรงบดิ เปน็ แรงทมี่ อเตอร์กระทากับโหลดในการพิจารณาเลือกมอเตอร์นนั้ ถ้าหากมีแรงบิด น้อยจะใช้งานไดก้ ับโหลดท่ไี มห่ นกั มากแต่ถ้ามีแรงบิดมากสามารถใชง้ านกับโหลดทม่ี นี ้าหนักมากได้ ใน การพิจารณาเลอื กใชง้ านมอเตอรจ์ ึงจาเป็นต้องรูข้ อ้ มูลพื้นฐานของมอเตอร์เพอื่ ท่จี ะเป็นข้อพจิ ารณาในการ เลอื กใชง้ านต่อไป 2.2.1.5 Tacho Generator Tacho Generator เปน็ Feedback Device ประเภทหนง่ึ ซึ่งใช้งานอย่างแพรห่ ลายกับ DC Motor โดยเปน็ ตัวแปลงสัญญาณจากความเรว็ มาเป็นโวลทเ์ พอื่ สง่ สญั ญาณกลบั ให้ Drive (วงจร ทริก) รบั รู้ วา่ ความเร็วทสี่ ัง่ จาก Drive ไปยังมอเตอร์นั้นถกู ต้องหรอื ไม่ นยิ ามของ Tacho Generator กค็ ือ Generator ขนาดเลก็ ที่ทาหน้าทแ่ี ปลงความเรว็ รอบมา เปน็ แรงดันไฟฟ้าสาหรับควบคุม 0-10 V. เพอื่ ปอ้ นกลับไปยังชดุ ไดร์ฟ (โดยทว่ั ไปจะใช้ในระบบดีซไี ดร์ฟ)

23 รปู ที่ 2.15 แสดงTacho Generator 2.2.2 มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟส(3 PHASE AC MOTOR) 2.2 .2.1 มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส แบบอินดกั ชนั่ มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟสทมี่ ีคณุ สมบตั ทิ ่ดี ีคอื มคี วามเร็วรอบคงทเ่ี นือ่ งจากความเรว็ รอบอินดักชัน่ มอเตอรข์ นึ้ อยกู่ ับความถี่( Frequency)ของแหลง่ กาเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลบั มรี าคาถกู โครงสรา้ ง ไมซ่ ับซอ้ นสะดวกในการบารงุ รกั ษาเพราะไมม่ ีคอมมวิ เตเตอร์และแปรงถ่านเหมือนมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงเม่อื ใช้รว่ มกับเครอ่ื งควบคุมความเร็วแบบอนิ เวอร์เตอร์ (Invertor) สามารถควบคมุ ความเรว็ (Speed) ไดต้ ้ังแต่ศูนย์จนถงึ ความเรว็ ตามพกิ ดั ของมอเตอร์นิยมใชก้ ันมากมอเตอร์อนิ ดกั ช่นั มี 2 แบบ แบ่ง ตามลักษณะตวั หมุนคอื อินดักชั่นมอเตอร์ท่มี โี รเตอร์แบบกรงกระรอก( Squirrel Cage Induction Motor)อนิ ดักชัน่ มอเตอรแ์ บบนต้ี วั โรเตอรจ์ ะมีโครงสรา้ งแบบกรงกระรอกเหมอื นกับโรเตอรข์ องสปลิทเฟสมอเตอร์เป็น มอเตอรส์ ามเฟสชนิดท่นี ยิ มใช้กนั มากท่สี ุด เพราะมโี ครงสร้างง่าย ราคาถูก มอเตอร์สามเฟสเหน่ียวนาแบบ กรงกระรอกประกอบดว้ ยขดลวดสเตเตอร์ 3 ขดแต่ละขดมีทัง้ ตน้ คอล์ยและปลายคอลย์ การตอ่ มอเตอร์สาม เฟสใชง้ านมีการตอ่ 2 แบบคอื การตอ่ แบบสตารห์ รอื แบบวาร์ย (Star or Wye or Y Connection) ทาใหแ้ รงดนั ตกครอ่ ม ขดลวดต่ากว่าสายจ่าย = หรือเทา่ กบั 0.577 เท่า การต่อแบบเดลตาหรือสามเหลยี่ ม (Delta) ตอ่ แบบเดลตามีแรงดันตกครอ่ มขดลวดเทา่ กับ แรงดนั ของสายจ่าย

24 การสตารท์ แบบสตาร์-เดลตา (Star-Delta Starter)เปน็ วธิ ีการทน่ี ยิ มใช้กันมากเน่อื งจาก ออกแบบง่ายและเหมาะสาหรับการสตารท์ มอเตอรส์ ามเฟสแบบเหนยี่ วนาใชส้ าหรับมอเตอรท์ ีม่ ีการต่อ ขดลวดภายในทมี่ ปี ลายสายต่อออกมาขา้ งนอก 6 ปลายและมอเตอร์จะตอ้ งมพี ิกดั แรงดันสาหรับการตอ่ แบบ เดลตาทีส่ ามารถต่อเขา้ กับแรงดนั สายจ่ายได้อยา่ งปลอดภัยปกติพกิ ัดทต่ี วั มอเตอร์สาหรบั ระบบแรงดัน 3 เฟส 380 V จะระบุเปน็ เปน็ 380/660 V ในขณะสตาร์ทมอเตอร์จะทาการต่อแบบสตาร์ ( Starหรอื Y) ซึง่ สามารถลดแรงดันขณะสตารท์ ไดแ้ ละเม่อื มอเตอรห์ มนุ ไปไดส้ กั ระยะหนึง่ มอเตอรจ์ ะทาการตอ่ แบบเดลตา (Delta หรอื D) รปู ท่ี 2.16 แสดงโครงสร้างภายในของมอเตอรส์ ามเฟสประกอบดว้ ยขดลวด 3 ขดแต่ละขดมีตน้ (U1) ปลาย (U2)ต้น (V1) ปลาย (V2) และตน้ (W1) ปลาย (W2) รปู ท่ี 2.17 แสดงลกั ษณะการตอ่ ขดลวดมอเตอรแ์ บบวารย์ (Y)(รปู บน)และเดลตา (Delta)(รปู ล่าง)

25 รปู ที่ 2.18 แสดงลักษณะมอเตอรส์ ามเฟส (รปู ซ้าย) และจุดตอ่ สาย (รูปขวา) รูปที่ 2.19 แสดงการต่อจดุ ตอ่ สายของมอเตอร์สามเฟสแบบวารย์ (Y)(รูปซา้ ย)และเดลตา(รปู ขวา) อินดักช่นั มอเตอรท์ ี่มโี รเตอร์แบบขดลวด(Wound Rotor Induction Motors)อินดักชั่นมอเตอร์ชนดิ น้ี ตวั โรเตอรจ์ ะทาจากเหล็กแผน่ บาง ๆอัดซอ้ นกันเป็นตัวทนุ่ คล้าย ๆอาร์เมเจอร์ของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง มีร่องสาหรบั วางขดลวดของตัวโรเตอรเ์ ป็นขดลวด 3 ชุดสาหรับสรา้ งขั่วแม่เหล็ก 3 เฟสเช่นกันปลายของ ขดลวดทง้ั 3 ชุดต่อกบั สปริง(Slip Ring) จานวน 3 อนั สาหรบั เปน็ ทางใหก้ ระแสไฟฟา้ ครบวงจรท้งั 3 เฟส การทางานของอินดกั ช่ันมอเตอร์ เม่ือจ่ายไฟฟ้าสลบั 3 เฟสใหท้ ข่ี ดลวดทัง้ 3 ของตัวสเตเตอร์จะเกดิ สนามแม่เหลก็ หมุนรอบ ๆตวั สเตเตอร์ ทาให้ตวั หมุน(โรเตอร์)ไดร้ ับการเหนี่ยวนาทาให้เกดิ ขั่วแมเ่ หล็กท่ีตวั โรเตอร์และขัว้ แม่เหล็กนี้ จะพยายามดงึ ดูดกับสนามแมเ่ หล็กท่หี มนุ อย่รู อบ ๆทาให้มอเตอร์ของอนิ ดกั ชั่น มอเตอรห์ มุนไปได้ ความเรว็ ของสนามแม่เหล็กหมนุ ทีต่ ัวสเตเตอรน์ จี้ ะคงทีต่ ามความถ่ขี องไฟฟา้ กระแสสลบั ดงั นัน้ โรเตอร์ของอินดกั ช่ัน ของมอเตอรจ์ ึงหมุนตามสนามหมุนดงั กลา่ วไปดว้ ยความเรว็ เท่ากับ ความเรว็ เท่ากบั ความเรว็ ของสนามแม่เหลก็ หมนุ

26 2.2.3 ประเภทของการควบคุมมอเตอร์ แบง่ ตามลักษณะการส่ังอุปกรณ์ควบคมุ ใหม้ อเตอรท์ างานเป็น 3 ประเภทคือ 2.2 .3.1 การควบคุมด้วยมือ (Manual control) การควบคมุ ด้วยมือ เปน็ การสัง่ งานใหอ้ ปุ กรณ์ควบคมุ ทางานโดยใช้ผูป้ ฏิบตั งิ านควบคมุ ใหร้ ะบบ กลไกทางกลทางานซง่ึ การสั่งงานให้ระบบกลไกทางานนีโ้ ดยสว่ นมากจะใช้คนเปน็ ผ้สู ง่ั งานแทบทงั้ ส้ินซง่ึ มอเตอร์จะถกู ควบคุมจากการสั่งงานดว้ ยมอื โดยการควบคมุ ผา่ นอปุ กรณ์ต่าง ๆ เชน่ ทอ็ กเกลิ้ สวติ ช์ ( toggle switch) เซฟต้ีสวติ ช์ (safety switch) ดรัมสวติ ช์ (drum switch) ตวั ควบคุมแบบหน้าจาน (face plate control) เปน็ ตน้ 2.2 .3.2 การควบคมุ ก่งึ อัตโนมตั ิ (Semi Automatic control) โดยการใช้สวิตช์ป่มุ กด ( push button) ท่สี ามารถควบคมุ ระยะไกล ( remote control) ได้ซ่ึง มักจะต่อรว่ มกับสวิตชแ์ มเ่ หลก็ ( magnetic switch) ทใี่ ช้จา่ ยกระแสจานวนมากๆใหก้ บั มอเตอร์แทนสวติ ช์ ธรรมดาซ่ึงสวิตชแ์ มเ่ หลก็ นอี้ าศยั ผลการทางานของแม่เหล็กไฟฟ้าวงจรการควบคุมมอเตอร์กงึ่ อัตโนมตั ิน้ี ต้องอาศยั คนคอยกดสวติ ชจ์ า่ ยไฟใหก้ บั สวิตชแ์ ม่เหล็กสวติ ชแ์ ม่เหลก็ จะดดู ให้หนา้ สัมผัสมาแตะกนั และ จ่ายไฟให้กับมอเตอรแ์ ละถ้าต้องการหยุดมอเตอร์ก็จะตอ้ งอาศัยคนคอยกดสวิตชป์ ุ่มกดอกี เชน่ เดิมจงึ เรยี ก การควบคุมแบบน้ีวา่ การควบคมุ กงึ่ อตั โนมตั ิ 2.2.3.3 การควบคุมอัตโนมัติ (Automatic control) การควบคมุ แบบน้ีจะอาศยั อุปกรณ์ชน้ี า ( pilot device) คอยตรวจจบั การเปลยี่ นแปลงของสง่ิ ต่าง ๆ เชน่ สวติ ช-์ ลกู ลอยทาหน้าทต่ี รวจวัดระดับนา้ ในถงั คอยสง่ั ใหม้ อเตอร์ปมั๊ ทางานเมื่อนา้ หมดถงั และสั่ง ให้มอเตอรห์ ยดุ เมอ่ื น้าเตม็ ถงั , สวติ ชค์ วามดนั (pressure switch) ทาหนา้ ทต่ี รวจจับความดันลมเพ่อื ส่ังให้ปม๊ั ลมทางาน, เทอร์โมสตัททาหน้าทตี่ ดั ตอ่ วงจรไฟฟ้าตามอุณหภมู ิสงู หรอื ตา่ เปน็ ต้นวงจรการควบคุมมอเตอร์ แบบนเ้ี พยี งแตใ่ ช้คนกดป่มุ เรม่ิ เดนิ มอเตอรใ์ นครง้ั แรกเท่านั้นตอ่ ไปวงจรก็จะทางานเองโดยอตั โนมัติ ตลอดเวลา 2.2.4 การควบคุมการกลบั ทางหมนุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 3เฟส มอเตอรไ์ ฟฟ้า 3 เฟสนยิ มใช้กนั มากเครอ่ื งจักรในงานอุตสาหกรรม เช่นเคร่อื งกลึง , เครือ่ งกัด, เครอ่ื งใส,เครนยกของฯลฯ เคร่อื งดงั กล่าวอาจตอ้ งมกี ารทางานที่เปลี่ยนทศิ ทาง 2 ทิศทางจึงต้อง รูจ้ ักวธิ กี ารกลับทางหมนุ มอเตอร์ 3เฟส อยา่ งถกู วธิ ไี มว่ ่ามอเตอรจ์ ะตอ่ ขดลวดแบบสตารห์ รือเดลต้าถ้าทา

27 การสลบั สายแหลง่ จา่ ยไฟฟา้ ใหก้ ับมอเตอรค์ ่ใู ดคู่หนึง่ จะทาใหม้ อเตอร์กลบั ทิศทางการหมุนไดก้ ารกลับทาง หมุนมอเตอร์ 3 เฟส สามารถทาได้ 2วธิ คี ือ 2.2.4.1 การกลับทางหมนุ โดยใชส้ วิตชเ์ ชน่ ดรมั สวติ ช์ ( Drum Switch)หรอื โรตารแี่ คม สวติ ช์(Rotary Camp Switch) 2.2 .4.2 โดยการใชแ้ มคเนติกคอนแทคเตอรก์ ารกลบั ทางหมุนโดยใช้สวติ ชเ์ ชน่ โรตารแ่ี คม สวติ ช์จะเปน็ สวติ ชห์ มนุ 3 ตาแหนง่ คอื I-O-II )Clockwise-Counter Cockwise)หรือ F-O-R (Forward-Stop- Reverse)หรอื L-O-R(Left-Stop-Right)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook