แผนดาเนนิ ธรุ กจิ อย่างตอ่ เน่ือง สาหรบั การบรหิ ารความพร้อมต่อสภาวะวกิ ฤต (Business Continuity Plan - BCP) สานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย Office of the Permanent Secretary for Interior
สารบญั หนา้ ๑. บทนา 1 ๑.๑ หลักการและเหตผุ ล 1 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1 ๑.๓ สมมติฐานของแผนการบริหารความต่อเนื่อง (BCP Assumption) 2 ๑.๔ ขอบเขตของแผนการบรหิ ารความตอ่ เน่ืองในสภาวะวกิ ฤต (Scope of BCP) สว่ นที่ 2 การบริหารความตอ่ เนื่องในสภาวะวกิ ฤตของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 3 2.1 โครงสร้างและทมี งานแผนการบริหารความต่อเน่ือง (Business Continuity 3 Plan : BCP) 2.2 หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบของคณะบริหารความต่อเน่ือง (BCP TEAM) 4 ๒.3 กจิ กรรมหลัก และระยะเวลาเปูาหมายในการฟ้นื ฟู 6 ๒.4 ทรัพยากรทจ่ี าเปน็ ต้องใชเ้ พอื่ เปน็ การดาเนินงานต่อเนื่องในภาวะวกิ ฤต 7 ๒.5 การประเมินความเสยี่ ง ภัยคุกคาม และผลกระทบจากเหตุการณ์ 10 ๒.6 การปอู งกันก่อนเกิดเหตุและการบรรเทาความเสียหาย 10 สว่ นท่ี ๓ การดาเนนิ การตอบสนองตอ่ ภาวะฉุกเฉิน 12 ๓.๑ การตอบสนองตอ่ ภาวะฉุกเฉนิ 12 ๑) อพยพและชว่ ยชวี ติ 13 ๒) จัดตัง้ ศนู ย์ปฏบิ ัติการฉกุ เฉิน 14 ๓) การยนื ยนั ความปลอดภยั ของเจ้าหนา้ ที่ 15 ๔) การยืนยันความปลอดภัยในการเดินทาง 15 5) การควบคุมสถานการณ์และปูองกันความเสยี หายปลีกย่อย 16 6) การสารวจความเสียหาย 16 7) การคมุ้ ครองทรพั ย์สิน 16 ๘) การรวบรวมและแบ่งปันข้อมูลเก่ียวกบั ความเสยี หาย 16 ๓.๒ กลยุทธแ์ ผนบริหารความต่อเน่ืองในสภาวะวกิ ฤต (Business Continuity Strategy) ของสานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย 16 ๓.๓ กระบวนการแจ้งเหตฉุ ุกเฉนิ (Call Tree) 18 ๓.๔ ข้ันตอนการบรหิ ารความตอ่ เนื่อง 20 ๓.๔.๑ กรณเี กิดอคั คีภยั 20 3.4.2 กรณเี กดิ อุทกภยั 21 3.4.3 กรณีเกดิ การประทว้ ง/จลาจล 22 3.4.4 กรณีเกิดโรคระบาด 24 ๓.๕ การประมาณการความเสียหายเพอ่ื การฟน้ื ฟู 26 ๓.๖ การฝกึ ซอ้ มเพ่ือเพิม่ ประสทิ ธิภาพ 26 ๓.๗ การทบทวนและพฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่อง 27 แผนดาเนินธุรกจิ อย่างต่อเนื่องสาหรับการบริหารความพรอ้ มต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
สารบัญ (ต่อ) หน้า ภาคผนวก 28 1. คาสงั่ สานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย ที่ 1375/2563 เรอื่ ง แต่งต้ัง คณะทางานบรหิ ารแผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเน่ืองสาหรับการบริหารความพร้อม ตอ่ สภาวะวกิ ฤตของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 29 2. ช่องทางการติดต่อสือ่ สาร Call Tree ของ สป.มท. 31 3. ทมี งานบริหารความต่อเน่ืองฯ 33 - ทีมประเมนิ สถานการณ์ 33 - ทมี อานวยการภาวะฉกุ เฉิน 34 - ทีมสนบั สนนุ 35 - ทีมฟืน้ ฟู 36 - ทมี สื่อสารและประชาสัมพนั ธ์ 37 4. ขน้ั ตอนการบรหิ ารความต่อเน่ืองและกอบกู้กระบวนการ 38 5. สถานทส่ี ารองสาหรับเคลื่อนย้ายไปปฏบิ ตั ิงาน กรณเี กิดสภาวะวกิ ฤต 43 - กรมปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย 43 - กรมโยธาธิการและผงั เมือง (พระราม 6) 44 - กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง (พระราม 9) 45 - วิทยาลยั การปกครอง กรมการปกครอง 46 - สานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง 47 6. ภารกิจและกระบวนการของหนว่ ยงานในสังกดั สานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย 48 7. การมอบหมายบุคลากรเพ่ือใหส้ ามารถปฏิบัติภารกิจ/กระบวนงานได้อยา่ งต่อเนื่อง 64 8. การกาหนดบคุ ลากรในการสือ่ สาร (Call Tree) 74 แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนือ่ งสาหรับการบรหิ ารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
๑. บทนา ๑.๑ หลกั การ/เหตผุ ล แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเน่ืองสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต หรือเรียกว่า “Business Continuity Plan (BCP)” ของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยฉบับน้ีจัดทาข้ึนเพื่อให้สามารถ นาไปใช้ในการตอบสนองและปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ไม่ว่าจะเกิดจาก ภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุ หรือการมุ่งร้ายต่อองค์กร เช่น อัคคีภัย อุทกภัย และการชุมนุมประท้วง/การจลาจล โรคระบาด เปน็ ต้น โดยสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวส่งผลให้สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ตอ้ งหยดุ การบรหิ ารราชการ หรือไมส่ ามารถใหบ้ รกิ ารได้อย่างตอ่ เน่ือง ดังน้ัน เพื่อให้สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยมีกระบวนการรับรองให้การบริหารราชการ ให้เป็นไปอย่างตอ่ เน่อื งในสภาวะวิกฤต แผนดาเนนิ ธรุ กจิ อย่างต่อเนื่องสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะ วิกฤต (Business Continuity Plan : BCP) ของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยจะช่วยให้สานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย สามารถรับมือกับเหตุการณ์ฉุกเฉินที่ไม่คาดคิด และทาให้กระบวนการท่ีสาคัญ (Critical Business Process) สามารถกลับมาดาเนินการได้อย่างปกติ หรือตามระดับการให้บริการท่ีกาหนด ได้ในระยะเวลาท่ีเหมาะสม ซ่ึงสามารถลดความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดข้ึนต่อสานักงานปลัดกระทรวง มหาดไทยได้ ๑.๒ วตั ถุประสงค์(Objectives) แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (Business Continuity Plan : BCP) ของสานกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทยฉบับน้ี มีวตั ถปุ ระสงค์สาคัญ ดงั นี้ ๑) เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการบริหารความตอ่ เน่ืองเพ่ือปฏบิ ัติงานในสภาวะวกิ ฤต ๒) เพื่อให้สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยมีการเตรียมความพร้อมล่วงหน้าในการรับมือกับ สภาวะวิกฤตหรอื เหตุการณฉ์ ุกเฉนิ ต่างๆทอ่ี าจเกิดขน้ึ ต่อสานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย ๓) เพื่อลดผลกระทบจากการหยุดชะงักในการบริหารราชการหรือการให้บริการของสานักงาน ปลดั กระทรวงมหาดไทย ๔) เพื่อบรรเทาความเสียหายให้อยู่ในระดับท่ยี อมรับได้ ๕) เพื่อให้ประชาชน เจ้าหน้าท่ี หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานภาครัฐ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) มีความเช่ือม่ันในศักยภาพของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย แม้จะต้องเผชิญกับเหตุการณ์ รา้ ยแรงและส่งผลกระทบจนทาให้การบริหารราชการต้องหยุดชะงัก ๑.๓ สมมติฐานของแผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (BCP Assumption) แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภ าวะวิกฤตของสานักงาน ปลดั กระทรวงมหาดไทยฉบบั น้ีจดั ทาข้ึนภายใต้สมมติฐาน ดังตอ่ ไปน้ี ๑) เหตุการณ์ฉุกเฉินท่ีเกิดข้ึนน้ีเป็นเหตุการณ์ที่เกิดผลกระทบต่อพื้นที่การปฏิบัติราชการ ของสานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทยทงั้ หมด ทาให้ไม่สามารถเขา้ ในพื้นที่เพอ่ื ปฏบิ ตั ิราชการปกติได้ ๒) เหตุการณ์ฉุกเฉินท่ีเกิดขึ้นในช่วงเวลาสาคัญต่างๆ แต่ไม่ได้ส่งผลกระทบต่อสถานที่ปฏิบัติงาน สารองท่ไี ด้มกี ารจัดเตรียมไว้ แผนดาเนนิ ธุรกจิ อย่างตอ่ เน่ืองสาหรบั การบรหิ ารความพรอ้ มต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 1
๓) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่รับผิดชอบในการสารองระบบสารสนเทศต่างๆ โดยระบบสารสนเทศ สารองนั้น มไิ ดร้ ับผลกระทบจากเหตุการณ์ฉกุ เฉินเช่นเดียวกนั กบั ระบบสารสนเทศหลกั ๔) “บุคลากร” ที่ถูกระบุในเอกสารฉบับนี้ หมายถึงข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทั้งหมดของ สานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย ๑.๔ ขอบเขตของแผนการบรหิ ารความตอ่ เนื่องในสภาวะวิกฤต (Scope of BCP) แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (BCP) ของ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้ ใช้รองรับกรณีเกิดสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินบริเวณพ้ืนที่ ของสานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย อนั ประกอบดว้ ยเหตุการณต์ ่อไปนี้ ๑.๔.๑ เหตกุ ารณ์ : อคั คภี ัย อทุ กภัย ชุมนมุ ประทว้ ง/การจลาจล โรคระบาด ๑.๔.๒ ผลกระทบต่อทรัพยากรที่สาคญั 5 ด้าน สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยได้ประเมินความเสี่ยงและภัยคุกคามที่มีโอกาสเกิดใน พืน้ ทีป่ ฏบิ ตั งิ าน และสง่ ผลกระทบรุนแรงต่อองค์การ รวมถึงผลกระทบในระดับกิจกรรม กระบวนการทางานฯ ทอ่ี าจต้องหยุดชะงัก หากเกิดสภาวะวิกฤต โดยพจิ ารณาผลกระทบ ๕ ด้าน ประกอบด้วย ๑. ผลกระทบด้านอาคาร / สถานที่ปฏิบัติงานหลัก เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนทาให้สถานที่ ปฏิบัติงานหลักของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยได้รับความเสียหาย และส่งผลให้บุคลากรไม่สามารถเข้าไป ปฏิบัตงิ านยังสถานทป่ี ฏบิ ตั งิ านหลกั ไดเ้ ป็นระยะชว่ั คราวหรือระยะยาว ๒. ผลกระทบด้านวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ / การจัดหาจัดส่งวัสดุอุปกรณ์ท่ีสาคัญ เหตุการณ์ที่เกิดข้ึน ทาให้ไม่สามารถใช้งานวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ หรือไม่สามารถจัดหาจัดส่งวัสดุอุปกรณ์ท่ีสาคัญ หรือมวี ัสดอุ ปุ กรณ์ให้สามารถใช้งานในการปฏิบัติงานไดต้ ามปกติ ๓. ผลกระทบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลท่ีสาคัญ เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนทาให้ ไมส่ ามารถใช้ระบบงานเทคโนโลยี หรือระบบสารสนเทศ หรือขอ้ มูลทสี่ าคัญในการปฏิบตั ิงานได้ตามปกติ ๔. ผลกระทบด้านบุคลากรหลัก เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นทาให้บุคลากรหลักไม่สามารถมา ปฏบิ ัติงานไดต้ ามปกติ ๕. ผลกระทบด้านคู่ค้า / ผู้ให้บริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีสาคัญ เหตุการณ์ที่เกิดข้ึน ทาให้คู่ค้า/ผู้ให้บริการไม่สามารถที่จะให้บริการหรือส่งมอบงานหรือรับบริการจากสานักงานปลัดกระทรวง มหาดไทยได้ ตามทีร่ ะบไุ วก้ ับทางหน่วยงานของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย แผนดาเนินธุรกจิ อยา่ งต่อเนอื่ งสาหรบั การบริหารความพรอ้ มต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 2
ส่วนท่ี ๒. แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเน่ืองสาหรับการบริหารความพร้อม ต่อสภาวะวิกฤตของสานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย ๒.๑ โครงสรา้ งและทมี งานแผนการบรหิ ารความต่อเน่อื ง (Business Continuity Plan : BCP) เพื่อให้แผนการบริหารความต่อเนื่อง ของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย นาไปปฏิบัติใช้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยได้จัดตั้งคณะกรรมการ บริหารความต่อเนอื่ งตอ่ สภาวะวกิ ฤต และทีมบริหารความต่อเนื่องต่อเหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉิน ( BCP Team) ของสานกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย โดยมีโครงสรา้ ง ดงั นี้ หวั หนา้ คณะบรหิ ารความต่อเนื่องฯ ( ปมท.) คณะทางานบรหิ ารแผนดาเนิน รองหัวหน้าคณะบรหิ ารความต่อเนื่องฯ ธุรกจิ อย่างตอ่ เนื่องฯ สป.มท. ( รอง ปมท. ท่ไี ด้รับมอบหมาย ) รอง ปมท. (บ.) ประธาน ผู้ประสานงานคณะบรหิ ารความตอ่ เนื่องฯ ( ผช.ปมท. ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย)* (ผอ.สนผ.สป. ผอ.กก.สป. เป็นผู้ชว่ ยเลขานกุ ารร่วม) หัวหน้าทีมบรหิ าร หัวหนา้ ทีมบริหาร หวั หนา้ ทมี บริหาร ทีมประเมินสถานการณ์ ทมี อานวยการภาวะฉกุ เฉนิ ทีมฟ้ืนฟู ( ผอ.สนผ.สป.)* (ผอ. สนผ.สป. )* ( ผอ.กค.สป.)* ผอ.ศปข.มท. ผอ.ศสส.สป. ผอ.ศสส.สป. ผอ.สตร.สป. ผอ.ศสส.สป. ผอ.กจ.สป. ผอ.สน.มท. ผอ.ตท.สป. ผอ.สบจ.สป. ผอ.สกม.สป. ผอ.สตร.สป. ผอ.สกม.สป. ผอ.สดร.สป. ผอ.สถ.สป. ผอ.สบจ.สป. ผอ.สดร.สป. หัวหนา้ ทีมบริหาร หัวหนา้ ทีมบริหาร หัวหน้าทมี บริหาร ทมี สนบั สนุน ทีมสอ่ื สารและประชาสมั พันธ์ ทมี ฝึกซ้อมแผน ( ผอ.กค.สป.) ( ผอ.ศสส.สป.)* ( ผอ.สน.สป.)* ผอ.กจ.สป. ผอ.สดร.สป. ผอ.ศสส.สป. ผอ.กจ.สป. ผอ.สดร.สป. ผอ.สถ.สป. ผอ.ตภ.มท. ผอ.ตภ.สป. ผอ.ศสส.สป. ผอ.ศปข.มท. (หัวหนา้ ทกุ หน่วยงาน) ผอ.กสป.สป. ผอ.ศปท.มท. แผนภาพที่ ๑ : โครงสร้างและทมี บรหิ ารความตอ่ เนื่องของ สป.มท. (OPS-BCP Team) แผนดาเนนิ ธุรกิจอยา่ งตอ่ เนอ่ื งสาหรับการบริหารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 3
ตารางที่ ๑ บคุ ลากรและบทบาทของทีมงานบรหิ ารความต่อเนอ่ื งของ สป.มท. ( OPS-BCP Team) บุคลากรหลกั บทบาท บุคลากรสารอง ชอ่ื – สกลุ หมายเลขโทรศพั ท์ ชอื่ – สกลุ หมายเลขโทรศพั ท์ ปลัดกระทรวง 08-1174-3940 หัวหนา้ คณะบรหิ าร รองปลัดกระทรวง (ม) 08 1820 4153 มหาดไทย ความต่อเนอื่ ง รองปลดั กระทรวง (ส) 06 3219 8457 รองปลัดกระทรวง (ถ) 08 9897 9286 รองปลัดกระทรวง (บ) 06 1402 3418 รองปลดั กระทรวง (ม) 08 1820 4153 รองหวั หน้าคณะ ผช. ปลัดกระทรวงที่ได้รับ 08 9203 3987 รองปลดั กระทรวง (ส) 06 3219 8457 บรหิ ารความต่อเนือ่ ง มอบหมาย รองปลัดกระทรวง (ถ) 08 9897 9286 รองปลดั กระทรวง (บ) 06 1402 3418 ผช. ปลัดกระทรวง 08 9203 3987 ผปู้ ระสานงานคณะ ผอ. สานักนโยบายและแผน 08 9897 9288 ท่ีไดร้ บั มอบหมาย บรหิ ารความต่อเนอ่ื ง ผอ. กองกลาง 08 4874 3484 ผอ. สานักนโยบาย 08 9897 9288 หน.ทีมบริหาร ผชช. เฉพาะด้านนโยบาย 08 9897 9306 และแผน ทีมประเมินสถานการณ์ และแผน ผอ. สานกั นโยบาย 08 9897 9288 หน.ทีมบริหาร ผชช. เฉพาะดา้ นนโยบาย 08 9897 9306 และแผน ทมี อานวยการ และแผน 08 5484 2056 ภาวะฉกุ เฉิน ผอ. กองคลัง 08 5484 2056 ผอ. กลุ่มงานบรหิ าร 08 5989 2473 หน.ทีมบริหาร การพสั ดุ 08 5989 2473 ผอ. กองคลัง ทีมสนับสนุน ผอ. กลมุ่ งานบรหิ าร หน.ทีมบรหิ าร การพัสดุ ทมี ฟื้นฟู ผอ. กองสารนิเทศ 06 3219 6636 หน.ทีมบริหาร ผอ. กลุ่มงานเผยแพร่ 06 3208 9264 ผอ. ศูนยเ์ ทคโนฯ 08 9897 9299 ทมี ส่อื สารและ การประชาสัมพนั ธ์ ประชาสมั พันธ์ ผอ. กลมุ่ งานยุทธศาสตร์ 08 1745 0966 หน.ทีมบริหาร สารสนเทศและการสื่อสาร ทีมฝกึ ซ้อมแผน 2.2 หน้าท่รี ับผิดชอบของคณะบรหิ ารความต่อเน่อื ง (BCP TEAM) คณะบริหารความต่อเนื่อง ทาหน้าท่ีบริหารจัดการสถานการณ์ที่เกิดข้ึน เม่ือเกิดสถานการณ์ วกิ ฤตในรปู แบบตา่ งๆ เพื่อรบั ผิดชอบตามขอบขา่ ยงานทตี่ อ้ งมีการดาเนินการ ดงั น้ี ตาแหน่ง ผู้รบั ผิดชอบ หน้าที่รบั ผิดชอบ หัวหนา้ คณะบริหารความตอ่ เนือ่ งฯ ปมท. - เป็นผู้บญั ชาเหตกุ ารณ์ - สังการ กากับดแู ลการดาเนินงานตามแผน BCP ปลัดกระทรวงมหาดไทย (ปมท.) - ประกาศใชแ้ ผน/ยกเลกิ แผน BCP รองหัวหนา้ คณะบริหารความ รอง ปมท. ท่ีไดร้ ับ -เปน็ รองผบู้ ัญชาเหตุการณ์ ต่อเน่ืองฯ มอบหมาย -เป็นผู้สนับสนุนช่วยเหลือหัวหน้าคณะบริหาร ความต่อเน่ือง แผนดาเนนิ ธรุ กจิ อย่างต่อเน่อื งสาหรับการบริหารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 4
ตาแหน่ง ผู้รบั ผดิ ชอบ หนา้ ทร่ี ับผิดชอบ ผปู้ ระสานงานคณะบรหิ ารความ ผช.ปมท. ท่ไี ดร้ บั - เปน็ ผปู้ ระสานรวบรวมขอ้ มลู ต่อเนอ่ื งฯ มอบหมาย - ประสานทีมงานต่างๆ ให้สามารถดาเนินงาน หัวหน้าทีมบรหิ าร ตามภารกิจที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทมี ประเมินสถานการณ์ เมื่อเกิดสภาวะวกิ ฤต ผอ.สนผ.สป.* - ติ ด ต า ม ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ก า ร ณ์ แ ล ะ ส รุ ป หัวหน้าทมี บรหิ าร ผอ.ศปข.มท. ผอ.ศสส.สป. สถานการณ์เสนอหัวหน้าคณะ เพ่ือประกาศใช้ ทีมอานวยการภาวะฉกุ เฉิน ผอ.สน.มท. ผอ.ตท.สป. แผน/ยกเลิกแผน หวั หน้าทมี บริหาร - วเิ คราะหป์ ระเมนิ ความเส่ียง ติดตามสถานการณ์ ทีมสนับสนุน ประเมินความเสยี หายความต้องการของบุคลากร และใหค้ วามช่วยเหลือเบื้องต้น หัวหน้าทมี บรหิ าร - ประเมินโครงสรา้ งความเสยี หายต่างๆ ทมี ฟนื้ ฟู ผอ. สนผ.สป.* - อานวยการ ประสาน ส่ังการ หัวหน้าทมี บรหิ าร ผอ.ศสส.สป. ผอ.สตร.สป. - บรหิ ารจดั การภาวะฉกุ เฉนิ /วิกฤต ทมี สือ่ สารและประชาสัมพนั ธ์ ผอ.สบจ.สป. ผอ.สกม.สป. - สนับสนุนข้อมลู เพื่อบัญชาการเหตุการณ์ ผอ.สดร.สป. ผอ.สถ.สป. จดั สรรทรัพยากร สงั่ การในภาวะฉุกเฉิน หัวหน้าทีมบริหาร ผอ.กค.สป.* - ให้การสนบั สนุนทรัพยากรเครื่องมือ เคร่ืองจักร ทีมฝกึ ซ้อมแผน ผอ.ศสส.สป. ผอ.กจ.สป. บุคลากร ในการอานวยความสะดวก ผอ.สดร.สป. ผอ.สถ.สป. - สนับสนุนการปฏิบัติงานทีมอ่ืนๆ เช่น บุคลากร ผอ.ตภ.มท. ผอ.ตภ.สป. ยานพาหนะ อาคารสถานที่ งบประมาณ เป็นตน้ ผอ.กสป.สป. ผอ.ศปท.มท. - อพยพและใหก้ ารช่วยเหลอื - ยนื ยันความปลอดภัยของบุคลากร - คุ้มครองทรัพยส์ ิน ผอ.กค.สป.* - วเิ คราะห์รวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินความเสียหาย ผอ.ศสส.สป. ผอ.กจ.สป. ท่ีเกิดขึน้ ผอ.กค.สป. ผอ.สตร.สป. - ดาเนินการฟ้ืนฟูภารกิจหลัก เพื่อให้ สป.มท. ผอ.สกม.สป. ผอ.สบจ.สป. สามารถกลบั มาปฏิบตั ิงานได้ ผอ.สดร.สป. - ฟ้ืนฟทู รัพยากรสาคญั /ฟนื้ ฟูสภาพพ้ืนที่ให้กลับมา ใช้งานได้ตามปกติ ผอ.สน.สป.* - ส่ือสาร ประชาสัมพันธ์ ทาความเข้าใจ ท้ังภายนอก/ ผอ.ศสส.สป. ผอ.ศปข.มท. ภายในองคก์ ร - รับ-ส่งข้อมูล ประกาศแจ้งเตือน ประชาสัมพันธ์ ขอ้ มลู ขา่ วสาร - ดารงการสื่อสาร สร้างความเข้าใจให้บุคลลากร ภายใน ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ผู้รบั บรกิ าร - กาหนดมาตรการในการส่ือสาร โดยกาหนด หน่วยงานที่รับผิดชอบในการส่ือสารกับหน่วยงาน ภายในและภายนอก ใหช้ ดั เจน ผอ.ศสส.สป.* - กาหนดวงรอบในการการฝึกซ้อมแผน และสรุปผล ผอ.กจ.สป. ผอ.สดร.สป. การฝึกซ้อมแผนประจาปใี ห้คณะทางานบริหารแผนฯ (หัวหน้าทุกหน่วยงาน) แผนดาเนนิ ธุรกิจอย่างต่อเนือ่ งสาหรบั การบรหิ ารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 5
๒.3 กิจกรรมหลัก และระยะเวลาเปา้ หมายในการฟนื้ ฟู สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยได้ดาเนินการประเมินผลกระทบต่อกระบวนการทางาน หรือ การวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis) โดยวิเคราะห์กระบวนการดาเนินการตาม ภารกิจของ สป.มท. เพื่อพิจารณาถึง “ระดับผลกระทบ” และ “ระยะเวลาที่ยอมให้งานสะดุดหยุดชะงัก” พบว่า มีกระบวนการดาเนินงานในภาพรวมของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (ระดับกรม) ที่จะได้รับ ผลกระทบจากสภาวะวิกฤตในระดับสูง และไม่สามารถยอมให้งานสะดุดหยดุ ชะงกั ได้ ดังนี้ ที่ กระบวนการ* ภารกจิ * สานกั /กอง ระดบั ระยะเวลาทย่ี อม ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง** ผลกระทบ ใหง้ านหยุดชะงัก ๑. งานพัฒนายุทธศาสตร์การบริหารงานของ หลัก รอง สนผ.สป.สตร.สป. สงู 1 - 3 วนั กระทรวง กก.สป. กค.สป. สบจ.สป.สนผ.สป. สงู 1 – 3 วนั ๒. งานพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการ สตร.สป.กก.สป. กค.สป. สงู 0 - 2 ชม. จังหวดั และกลมุ่ จงั หวัด สตร.สป.(ศดธ.สป.) กก.สป. สงู 0 - 3 ชม. ๓. งานรับเรื่องราวร้องทุกข์ สนผ.สป.ศสส.สป. สูง 0 - 2 วัน สูง ๔. งานสนบั สนุนระบบเทคโนโลยแี ละการสือ่ สาร กก.สป. 1 วนั ๕. งานบรหิ ารทัว่ ไป ชว่ ยอานวยการ ประสานราชการ ๖. งานด้านการงบประมาณ การเงิน พัสดุ จัดซื้อจัด สนผ.สป. กค.สป. 1 วัน กก.สป. 1 วัน จ้าง การคลัง บัญชี การโอนจัดสรร การบริหาร งบประมาณ การจัดทาคาของงบประมาณ และ กจ.สป. กก.สป. สงู 0 - 2 ชม. การตดิ ตามประเมนิ ผล ตท.สป.กก.สป. สูง 3 วัน ๗. งานบริหารทรัพยากรบคุ คล ศปข.สป. กก.สป. สูง 1 วัน ๘. งานด้านความช่วยเหลือและความร่วมมือกับ ส.กถ.สป. กก.สป. สูง 7 วนั 3 วนั ตา่ งประเทศ สกม.สป. กก.สป. ปานกลาง 3 วนั ปานกลาง ๙. งานด้านการขา่ ว สดร.สป. กก.สป. ปานกลาง 7 วัน ๑๐. งานในราชการของคณะกรรมการมาตรฐาน ปานกลาง กพร.สป. กก.สป. 7 วนั การบรหิ ารงานบุคคลสว่ นท้องถ่ิน ปานกลาง 1 วนั ตภ.สป. ตภ.มท. ๑๑. งานเกยี่ วกับกฎหมาย กก.สป. ๑๒. งานพฒั นาทรัพยากรบุคคล ศปท.มท. กก.สป. ๑๓. งานพฒั นาระบบบริหาร สน.สป. กก.สป. ปานกลาง ๑๔. งานตรวจสอบภายใน กสป.สป. กก.สป. ปานกลาง ๑๕ งานปูองกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มิชอบ ๑6 งานประชาสมั พันธ์ 17 งานสนบั สนนุ ปลัดกระทรวง ตารางท่ี ๒ : ผลกระทบทางธุรกจิ (Business Impact Analysis) ของ สป.มท. แผนดาเนนิ ธุรกจิ อยา่ งต่อเนอ่ื งสาหรบั การบรหิ ารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 6
หมายเหตุ * กระบวนการของ สป.มท. และการวิเคราะห์ภารกิจของกระบวนการ ใช้ข้อมูลจาก การจัดทาแผนปฏิรูปองค์การของ สป.มท. ปี พ.ศ.๒๕๖๒-๒๕๖๔ ท้ังนี้ ภารกิจหลัก หมายถึง งานท่ีเป็น กระบวนการหลัก (Core Function) ตลอดจนงานสนับสนุนด้านเทคนิค (Technical Support) ซ่ึงเป็น กระบวนการหลกั ต้องไม่หยุดชะงักสาหรบั ภารกจิ รอง หมายถงึ งานสนบั สนนุ ทางการบริหาร (Administration Support) ซ่ึงเปน็ กระบวนการในลกั ษณะวิชาการ ตรวจสอบ ฯลฯ ** ทุกกระบวนการ มี ศสส.สป. เป็นหน่วยงานในสังกัด สป.มท. ท่ีสนับสนุนระบบเทคโนโลยี สารสนเทศในการติดตอ่ สื่อสาร ประสานงาน สาหรับกระบวนงานตามข้อ ๑๑ - ๑7 เป็นกระบวนการที่อาจไม่ได้รับผลกระทบในระดับปานกลาง หรือมคี วามยืดหยุ่นสามารถชะลอการดาเนินงานและการให้บริการได้ โดยให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยประเมิน ความจาเป็นและเหมาะสม ทัง้ นี้ หากมีความจาเปน็ ให้ปฏิบตั ิตามแนวทางการบริหารความต่อเนื่องเช่นเดียวกับ กระบวนการตามข้อ ๑.- ๑๐. ๒.4 ทรัพยากรท่จี าเปน็ ตอ้ งใช้เพือ่ เป็นการดาเนนิ งานตอ่ เนือ่ งในภาวะวกิ ฤต ในการบริหารความต่อเน่ืองในสภาวะวิกฤตหรือเม่ือเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ท่ีเป็นผลให้ สป.มท. ต้องหยุดการดาเนินงาน หรือไม่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเน่ืองเพ่ือให้สามารถปฏิบัติงาน กระบวนการดาเนินงานท่ีสาคัญเร่งด่วนข้างต้นได้อย่างต่อเนื่องเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ สานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทยจึงได้วิเคราะห์ทรัพยากรท่ีจาเป็น (ข้ันต้น) ท่ีต้องใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง ในสภาวะวิกฤตของแต่ละกระบวนการ ดังน้ี ที่ กระบวนงาน อาคาร/ เครื่องมอื อปุ กรณ์ เทคโนโลยี/ขอ้ มูลสาคญั ท่ี บคุ ลากร หนว่ ยงานที่ สถานท่ี จาเปน็ ตอ้ งใช้ หลัก เกีย่ วข้อง/ ปฏบิ ตั งิ าน อยา่ ง ผ้ใู ห้บรกิ าร สารอง เพื่อใหก้ ารดาเนนิ งานตอ่ เนอื่ ง น้อย (คน) คอม ิพวเตอร์ ปริ้นเตอ ์ร เค ่ืรองถ่าย เโอทกรสัศาพร ์ท กระดาษ (รีม) /เคร่ืองเ ีขยน ื่อนๆ Internet GFMIS VCS โทรสาร ่ือนด่ๆ วน ๑. งานพัฒนายุทธศาสตร์ - ยธ 10 5 3 2 5 - - -FMD 15 - ผูใ้ หบ้ ริการ การบริหารงานของ - ปภ. /วัน -e-moni- เครอื ข่ายโทรศพั ท/์ toring -ศูนย์บญั ชา กระทรวง - วิทยาลัย การ มท. อนิ เตอร์เนต็ การปกครอง -ผู้ค้าวสั ดุสานกั งาน - สานกั บรหิ าร -ระบบ -ผใู้ ห้บริการเครอ่ื ง การทะเบยี น ติดตาม โครงการฯ ถา่ ยเอกสาร ๒. งานพัฒนาและสง่ เสรมิ เหมอื นข้อ ๑ 6 3 1 2 25 - -CEBRS 25 ผูใ้ หบ้ ริการโทรศัพท/์ การบริหารราชการ อนิ เตอร์เนต็ จงั หวัดและกลุ่มจังหวัด ผคู้ า้ วัสดุสานกั งาน/ เครอื่ งถ่ายเอกสาร ๓. งานแกไ้ ขปัญหาเร่อื ง เหมอื นข้อ ๑ 5 2 1 2 20 - - Spond 6 - ประชาชน รอ้ งเรยี นร้องทุกขข์ อง ประชาชน 1567 - กลมุ่ มวลชน L. Center ๔. งานสนับสนุนระบบ -ศนู ย์พฒั นา ๑๗ ๘ ๒ ๑๔ ๒๕ - - - ๒๘ -ผใู้ ห้บริการ เทคโนโลยีและการ เครอื ข่าย สือ่ สาร บุคลากรฯ - ผู้รบั จา้ งดูแล (ลาดโตนด) ระบบ -ศูนย์เทคโน เขตฯ (ชลบรุ ี) แผนดาเนินธรุ กจิ อย่างตอ่ เน่อื งสาหรับการบริหารความพรอ้ มต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 7
ที่ กระบวนงาน อาคาร/ เคร่ืองมืออุปกรณ์ เทคโนโลย/ี ขอ้ มลู สาคญั ที่ บุคลากร หน่วยงานท่ี สถานท่ี จาเปน็ ตอ้ งใช้ หลัก เก่ยี วขอ้ ง/ ปฏบิ ตั ิงาน อย่าง ผใู้ หบ้ ริการ สารอง เพอ่ื ใหก้ ารดาเนนิ งานตอ่ เนอ่ื ง น้อย (คน) คอมพิวเตอร์ ปริ้นเตอร์ เคร่ืองถ่าย เโอทกรสศัาพร ์ท กระดาษ (รีม) /เคร่ืองเ ีขยน อื่นๆ Internet GFMIS VCS โทรสาร อื่นด่ๆ วน ๕. งานบรหิ ารท่ัวไป เหมือนขอ้ ๑ 5 - - 2 1 2 20 - ระบบสาร 8 - กฟน. งานชว่ ยอานวยการ บรรณ - กปน. และประสานราชการ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ -องค์การโทรศัพท์ -ศสส.สป. ๖. งานงบประมาณ การเงิน เหมือนข้อ ๑ 5 3 1 3 10 - - 5 ผ้ใู ห้บรกิ ารโทรศพั ท/์ พัสดุ จัดซื้อจดั จ้าง อนิ เตอร์เน็ต การคลัง บัญชี การโอน ผู้ค้าวัสดุสานักงาน/ จัดสรร การบรหิ าร เครอื่ งถา่ ยเอกสาร/ งบประมาณ การจดั ทา พสั ดุ/การเงิน/บัญชี คาของงบประมาณ และการตดิ ตาม -ขา้ ราชการ/ ประเมนิ ผล พนกั งานราชการใน - DPIS 16 สังกัด สป.มท. ๗. งานบริหารทรพั ยากร เหมือนขอ้ ๑ 10 5 2 2 20 Ext. - ป ร ะ เ มิ น - ผู้ให้บริการ บคุ คล HDD 360 เครอื ขา่ ยโทรศัพท์/ 2 ระบบเครื่อง อินเตอร์เน็ต -ผู้ค้าวสั ดุสานกั งาน ราช - ผู้ให้บริการ เครอื ข่ายโทรศพั ท/์ ๘. งานดา้ นความช่วยเหลือ เหมอื นขอ้ ๑ 4 2 1 2 2 - 6 อนิ เตอรเ์ น็ต และความร่วมมือกบั ผ้ใู ห้บริการเครอื ข่าย ตา่ งประเทศ โทรศัพท์/อนิ เตอรเ์ นต็ ผคู้ า้ วสั ดุสานักงาน/ ๙. งานด้านการข่าว เหมอื นขอ้ ๑ 4 2 1 2 10 - - - 10 เครื่องถา่ ยเอกสาร ๑๐. งานในราชการของ เหมอื นขอ้ ๑ 5 5 1 5 10 - - - 10 - สคก. คณะกรรมการ เหมอื นข้อ ๑ 5 2 1 2 20 - - 7 - ศาล มาตรฐานการ - สลค. บรหิ ารงานบคุ คล - เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ส่วนทอ้ งถ่ิน -ผู้ให้บริการโทรศพั ท/์ อนิ เตอรเ์ น็ต ๑๑. งานเก่ยี วกบั กฎหมาย ผคู้ า้ วัสดุสานกั งาน/ เครื่องถา่ ยเอกสาร ๑๒. งานพัฒนาทรัพยากร เหมอื นข้อ ๑ 10 3 1 5 20 - 29 1. คู่คา้ /ผู้ใหบ้ ริการ 3 - ผใู้ หบ้ ริการระบบ บคุ คล อินเตอรเ์ นต็ / เครอื ขา่ ยโทรศพั ท์ ๑๓. งานพฒั นาระบบบริหาร เหมือนข้อ ๑ 1 11 - 3 ที่เก็บ - - ผคู้ ้าวัสดุสานักงาน 2. ผมู้ ีสว่ นไดเ้ สยี ข้อมูล - บคุ ลากรของ มท. แผนดาเนินธุรกิจอยา่ งตอ่ เน่อื งสาหรบั การบริหารความพร้อมตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 8
ที่ กระบวนงาน อาคาร/ เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ เทคโนโลยี/ขอ้ มลู สาคัญที่ บุคลากร หน่วยงานท่ี สถานท่ี จาเปน็ ตอ้ งใช้ หลัก เก่ียวข้อง/ ปฏบิ ตั ิงาน อย่าง ผูใ้ หบ้ รกิ าร สารอง เพ่อื ใหก้ ารดาเนนิ งานตอ่ เนอ่ื ง น้อย (คน) คอมพิวเตอร์ ปริ้นเตอร์ เคร่ืองถ่าย เโอทกรสศัาพร ์ท กระดาษ (รีม) /เคร่ืองเ ีขยน อื่นๆ Internet GFMIS VCS โทรสาร อื่นด่ๆ วน ๑๔. งานตรวจสอบภายใน เหมือนข้อ ๑ 2 1 1 1 10 - - - - ผเู้ ขา้ รบั การอบรม 15 งานปูองกันปราบปราม เหมอื นขอ้ ๑ 2 1 1 10 - - - - (บุคลากรของ มท./ 2 กระทรวงอืน่ ๆ) การทจุ รติ และประพฤติ รมี 3 - หนว่ ยรบั ตรวจ มชิ อบ 3 -กรม,จงั หวัด ๑6 งานประชาสมั พันธ์ เหมอื นข้อ ๑ 2 2 1 1 10 - - - รฐั วิสาหกจิ , ปปช.,ปปท., 17 งานสนับสนุนปลัด เหมอื นข้อ ๑ 2 2 1 1 10 - - - -ผูค้ ้าวสั ดสุ านักงาน กระทรวงมหาดไทย -ผูใ้ หบ้ ริการดา้ น การส่ือสาร 5 - ผใู้ หบ้ รกิ าร เชอื่ มโยงเครอื ขา่ ย อนิ เตอรเ์ นต็ 3 ผใู้ ห้บริการโทรศัพท/์ อินเตอร์เนต็ ผคู้ า้ วัสดุสานกั งาน/ เครอื่ งถา่ ยเอกสาร สรุปผลความตอ้ งการใชท้ รพั ยากรของสานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย ทรพั ยากร ความต้องการ อาคาร/สถานทป่ี ฏบิ ัติงานสารอง - กรมโยธาธิการและผังเมอื ง - กรมปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั - วทิ ยาลยั การปกครอง - สานกั บรหิ ารการทะเบียน คลอง 9 โดยใชพ้ ้นื ท่ปี ระมาณ 520 ตารางเมตร เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ - คอมพิวเตอร์ - ปริน้ เตอร์ - เครอ่ื งถ่ายเอกสาร - กระดาษ/เครอื่ งเขียน - อนื่ ๆ (อปุ กรณเ์ ก็บข้อมูล) เทคโนโลย/ี ขอ้ มลู สาคัญท่ี - Internet - VCS (Video Conference System) จาเป็นตอ้ งใชเ้ พอ่ื ใหก้ าร - GFMIS - โทรสาร (FAX) ดาเนนิ งานตอ่ เนอ่ื ง - อ่ืน ๆ (ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์, Spond, DPIS, ระบบประเมิน 360 ระบบเครื่องราชฯ, CEBRS, FMD, E-monitoring, ศูนย์บญั ชาการ มท., ระบบติดตามโครงการฯ ฯลฯ) บุคลากรหลกั (ขนั้ ตา่ ) บุคลากรหลัก ประมาณ จานวน 180 คน - ผใู้ หบ้ ริการโทรศัพท์ - ผใู้ ห้บรกิ ารอนิ เตอร์เนต็ หนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ ง/ - ผคู้ า้ วสั ดุสานกั งาน - ผใู้ หบ้ รกิ ารเคร่อื งถ่ายเอกสาร ผู้ให้บริการ - กรม/จังหวัด/รฐั วสิ าหกจิ - ปปช. ปปท. - ศาล สลค. สคก. - หนว่ ยรับตรวจ - ประชาชน/กลุ่มมวลชน แผนดาเนนิ ธุรกิจอยา่ งตอ่ เนอ่ื งสาหรบั การบรหิ ารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 9
๒.5 การประเมนิ ความเสีย่ ง ภัยคุกคาม และผลกระทบจากเหตกุ ารณ์ ผลกระทบ เหตกุ ารณ์ ดา้ นอาคาร / ดา้ นวัสดอุ ปุ กรณท์ ่ีสาคญั ดา้ นเทคโนโลยี ดา้ นบุคลากร ดา้ นคคู่ า้ / สภาวะวกิ ฤต สถานท่ี หลัก ผใู้ ห้บรกิ าร / การจัดหาจดั ส่งวัสดุ สารสนเทศและ ท่สี าคัญ อคั คีภัย ปฏบิ ัติงานหลัก อุทกภยั อปุ กรณท์ ส่ี าคัญ ข้อมลู ทส่ี าคัญ ชุมนุมประท้วง/ การจลาจล/ โรคระบาด แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเน่ืองสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต ของสานักงาน ปลดั กระทรวงมหาดไทย ไม่รองรบั การปฏบิ ตั ิงานในกรณีท่ีมีเหตุขัดข้องต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิบัติราชการ ในสภาวะปกติ เนื่องจากเหตุขัดข้องดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบระดับสูงต่อการดาเนินงานและการให้บริการของ หน่วยงาน และหน่วยงานยังสามารถจัดการหรือปรับปรุงแก้ไขได้ภายในระยะเวลาท่ีเหมาะสม โดยผู้บริหาร หนว่ ยงานหรอื แต่ละกล่มุ งานและฝุายสามารถรบั ผดิ ชอบและดาเนินการไดด้ ้วยตนเอง ๒.6 การปอ้ งกนั ก่อนเกดิ เหตุและการบรรเทาความเสยี หาย สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยเลือกทรัพยากรท่ีต้องการจะนามาใช้ในการฟื้นฟูภารกิจ พร้อมท้ัง กาหนดรายละเอียดของมาตรการเพ่ือหลีกเล่ียงความเสียหาย เพราะความเสียหายจะส่งผลให้ระยะเวลาเปูาหมาย ในการฟน้ื ฟภู ารกจิ ทกี่ าหนดไว้ไม่สามารถนามาใช้ในการฟ้นื ฟูกจิ กรรมท่ีมีความสาคัญต่อภารกจิ ได้ ทรพั ยากร วัตถปุ ระสงค์ สิ่งทตี่ อ้ งทา แผนการดาเนนิ งาน ระยะเวลาการดาเนนิ การ หน่วยงาน เรง่ ดว่ น ภายใน แผนระยะ รบั ผิดชอบ ๑ ปี กลาง/ยาว บุคลากร เพื่ อให้ ความ ให้คาแนะนาเกี่ยวกับ -จัดทาแผนอพยพหนีภัยและ กก.สป. ปลอดภั ยแก่ ความปลอดภัย อาทิ การ เผยแพรค่ วามความรู้ กค.สป. จนท. อพยพหนีภัย การทางาน -ฝกึ ซอ้ มการอพยพ สน.สป. ในพ้ืนที่สารอง work for -ประชาสัมพันธ์การเตรียม สดร.สป. home ฯลฯ ทางานในพืน้ ทส่ี ารอง กจ.สป. -ใช้แนวทาง wfh ตามมติ ค.ร.ม. วนั ที่ ๑๗ ม.ี ค.๖๓ อาคาร เ พ่ื อ ปู อ ง กั น -ตรวจสอบระบบปูองกัน ตรวจสอบระบบการปูองกัน กก.สป. สถานที่ และบรรเทา อคั คีภัย อคั คีภัยของอาคาร สป.มท./มท. กค.สป. ความเสียหาย -ติดตั้งระบบสัญญาณ ติดต้ังระบบสัญญาณเตือนเมื่อ ต่ อ อ า ค า ร เตือนเมอ่ื เกิดอัคคภี ยั เกดิ อัคคีภยั ในอาคาร สถานท่ี -ระบุจุดช่องทางอพยพ กาหนดแผนระบบช่องทาง (เข้า-ออก) อพยพ สง่ิ อานวย เพื่อปูองกันและ ก า ห น ด พื้ น ที่ ใ น ก า ร กาหนดระเบียบการจัดเก็บ กค.สป. ความ บรรเทาความ จดั เก็บเอกสารและวสั ดุ เอกสารและวัสดุให้มีความ สะดวก เสียหาย ปลอดภยั จากสถานการณ์วกิ ฤต แผนดาเนนิ ธุรกจิ อยา่ งต่อเนือ่ งสาหรบั การบริหารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 10
ทรพั ยากร วตั ถปุ ระสงค์ สง่ิ ที่ต้องทา แผนการดาเนนิ งาน ระยะเวลาการดาเนินการ หน่วยงาน เร่งดว่ น ภายใน แผนระยะ รบั ผิดชอบ ๑ ปี กลาง/ยาว ระบบ เ พ่ื อ ปู อ ง กั น - จัดวางอุปกรณ์ IT ให้ - กาหนดระบบการจัดวาง ศสส.สป. สารสน และบรรเทา สามารถเคลือ่ นย้ายได้ง่าย อุปกรณ์ IT ให้มีความปลอดภัย เทศและ ความเสียหาย หากเกดิ สถานการณ์วกิ ฤต จากสถานการณ์วิกฤต การ ตอ่ ระบบ IT - จัด Dr Site เพ่ือรักษา - กาหนดแผนภาวะฉุกเฉินทาง ส่ือสาร และสารองข้อมูล เทคโนโลยี ( IT Contigency - จัดเตรียมระบบ VCS / Plan) ระบบถ่ ายทอดแบ บ เคลื่อนท่ี - มีชอ่ งทางประสานเพ่ือ ขอให้ระบบสื่อสารของ กรมในสงั กดั มท. วางระบบฐานขอ้ มลู สาคญั ศสส.สป. เพื่อการปฏิบัติงาน / ส า นั ก / การบริหาร ก อ ง ท่ี เกย่ี วขอ้ ง แผนดาเนินธรุ กิจอย่างตอ่ เนอ่ื งสาหรบั การบรหิ ารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 11
ส่วนท่ี ๓ การดาเนนิ การตอบสนองตอ่ ภาวะฉุกเฉนิ ๓.๑ การตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉิน กาหนดกจิ กรรมหลกั ทตี่ อ้ งดาเนินการไดแ้ ก่ ๑. อพยพและชว่ ยชวี ติ ๒. จดั ตั้งศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารฉกุ เฉนิ ๓. การยืนยนั ความปลอดภยั และปอู งกนั ความเสียหายปลกี ย่อย ๔. การควบคุมสถานการณ์และปูองกนั ความเสยี หายปลีกยอ่ ย ๕. การสารวจความเสียหาย ๖. การคมุ้ ครองทรัพย์สิน ๗. การยืนยนั ความปลอดภยั ในการเดนิ ทางของเจ้าหนา้ ที่ ๘. การรวบรวมและแบ่งปนั ข้อมูลเกยี่ วกบั ความเสยี หาย แผนภาพท่ี 2 การตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉิน แผนดาเนนิ ธุรกจิ อย่างต่อเนอ่ื งสาหรบั การบรหิ ารความพร้อมตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 12
โดยรายละเอยี ดของแต่ละข้ันตอนมีดังน้ี (1) การอพยพและช่วยชีวิต สานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทยได้กาหนดแผนการอพยพ ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนในการอพยพ สถานท่ีท่ีจะอพยพไป และรายชื่อผู้นาในการอพยพ โดยเจ้าหน้าที่ทุกคนในสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย จาเปน็ ตอ้ งเขา้ ใจแผนการอพยพ และสามารถปฏิบตั ิตามได้อยา่ งปลอดภยั หน่วยงาน สานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย สถานทท่ี ่เี ตรยี มไวส้ าหรบั การอพยพ สถานที่ที่เตรยี มไวย้ ้ายไปปฏิบตั ิงาน สนามกลางศาลาว่าการกระทรวงมหาดไทย /ถนนริมคลองหลอด (ถนนอัษฎางค)์ / ถนนด้านหลัง มท. (ถนนเฟือ่ งนคร) /วัดราชบพธิ /สนามหลวง หัวหน้า - กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง - กรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั บคุ คลทีท่ าหน้าท่ีประสานการ - วทิ ยาลัยการปกครอง กรมการปกครอง ให้ความชว่ ยเหลือ/รักษาพยาบาล - สานกั บริหารการทะเบยี น คลอง 9 กรมการปกครอง โรงพยาบาลใกล้เคยี งในพ้ืนท่ี ผ้รู ับผดิ ชอบ : ปลัดกระทรวงมหาดไทย ผู้ช่วย : รองปลัดกระทรวงมหาดไทยทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ผู้รับผดิ ชอบ : ผู้ชว่ ยปลัดดระทรวงมหาดไทยที่ได้รบั มอบหมาย ผชู้ ่วย : ผู้อานวยการสานกั นโยบายและแผน /ผู้อานวยการกองกลาง โรงพยาบาลมชิ ชน่ั โทรศพั ท์ 0 2281 1422 โรงพยาบาลหัวเฉยี ว โทรศัพท์ 0 2223 1351 โรงพยาบาลกลาง โทรศัพท์ 0 2221 6142 โรงพยาบาลวชิรพยาบาล โทรศัพท์ 0 2244 3000 โรงพยาบาลรามาธบิ ดี โทรศพั ท์ 0 2354 7182 โรงพยาบาลศริ ิราช โทรศัพท์ 0 2419 7000 (2) จดั ตงั้ ศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉิน เม่ือเกิดเหตุการณ์ที่อาจกระทบต่อภารกิจ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยต้องรับมือเหตุการณ์ ฉกุ เฉินเพ่ือปกปูองชีวิตบุคลากรและการดาเนินงานต่างๆ และควบคุมไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก และเลือกใช้ มาตรการรับมือกับสถานการณ์ เพื่อให้หน่วยงานดาเนินการรับมือได้และมีการประสานงานท่ีดี โดยการต้ัง ศนู ย์ปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ ใหท้ าหน้าทเ่ี ป็นศูนยบ์ ัญชาการกลาง ทั้งน้ี สานักงานปลัดกระทรวงหมาดไทยได้กาหนดกรอบการดาเนินงานของศนู ย์ปฏบิ ัติการฉุกเฉิน ดงั น้ี แผนดาเนินธุรกจิ อย่างตอ่ เนื่องสาหรบั การบรหิ ารความพรอ้ มต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 13
ประสานงาน หัวหนา้ ศนู ย์ ศูนยข์ ้อมูล/ประชาสมั พันธ์ สนผ.สป. /กก.สป. ปลัดกระทรวงมหาดไทย สนผ.สป. /สน.สป. ส่วนปฏิบัตกิ าร สว่ นอานวยการ ส่วนสนบั สนนุ รอง ปมท. ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย รอง ปมท. ด้านบริหาร รอง ปมท. ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย การติดตามสถานการณ์ ติดตามสถานการณ์ สนบั สนนุ ขอ้ มลู อาคาร สนผ.สป. ศปข.มท. สนผ.สป. /ศปข.มท. กค.สป. การเผชญิ สถานการณ์วกิ ฤต ทรัพยากร การเงนิ และสวสั ดิการ ทุกหนว่ ยสานกั /กอง กค.สป. กค.สป. การประชาสมั พนั ธ์ แผนและข้อสง่ั การ การจัดหาสถานทป่ี ฏบิ ตั งิ าน สน.สป. สนผ.สป. สนผ.สป. /ศปข.มท. การอพยพ ติดตามสถานการณ์ ระบบการส่อื สาร กก.สป. สนผ.สป. /ศปข.มท. ศสส.สป. ยนื ยนั ความปลอดภยั ของบุคลากร กจ.สป. ชดุ รักษาความปลอดภัย กค.สป. /อส. ชุดประเมนิ ความเสยี หาย กค.สป. แผนภาพท่ี ๓ โครงสรา้ งศนู ยป์ ฏิบัติการฉุกเฉนิ แผนดาเนินธรุ กจิ อย่างต่อเนอื่ งสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 14
(3) การยืนยนั ความปลอดภัยของเจา้ หน้าที่ กอ่ นเกิดเหตุ : สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (ทีมประเมินสถานการณ์) กาหนดขั้นตอนในการ ยนื ยนั ความปลอดภัยของเจา้ หน้าที่ เจ้าหน้าที่จะต้องทาตามขั้นตอนทีก่ าหนดได้ทันทีท่ีเกิดเหตุขึ้น หน่วยงานควรจัด ฝึกซ้อม (หน่วยงานเก่ียวกับการฝึกซ้อมแผน) เพื่อทดสอบว่าเจ้าหน้าท่ีสามารถทาตามข้ันตอนได้หรือไม่ และต้องใช้ เวลาเท่าใดในการยืนยันความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ท้ังหมด ควรมีข้ันตอนกาหนดว่า เจ้าหน้าท่ีจะติดต่อกับ หนว่ ยงานได้อยา่ งไร ตลอดจนมีการระบุช่องทางการสอื่ สารหลายช่องทาง (อาทิ โทรศัพท์ อีเมล์ แอบพลิเคช่ัน ฯลฯ ) เป็นช่องทางสารอง กจ.สป. รายงานความปลอดภัย ปมท. ของบคุ ลากรตอ่ ปมท. รอง ปมท. 3 ฝุาย กจ.สป. รายงานความปลอดภยั ของ บุคลากรตอ่ กจ.สป. ตอ่ กจ.สป. ผอ.สานัก/กอง/ศนู ย์ บคุ ลากรรายงานความปลอดภยั ตอ่ บคุ ลากร ผอ.สานัก/กอง/ศูนย์ ต่อ กจ.สป. แผนภาพท่ี 4 ขั้นตอนการยืนยันความปลอดภัยของบคุ ลากร (๔) การยืนยนั ความปลอดภัยในการเดนิ ทาง เม่ือเกิดภัยพิบัติเป็นวงกว้าง สาธารณูปโภคหลักอาจได้รับความเสียหาย สานักงานปลัดกระทรวง มหาดไทยจะพิจารณาตัดสินใจว่าหากให้เจ้าหน้าท่ีเดินทางกลับบ้านจะปลอดภัยหรือไม่ หรือจาเป็นต้องให้อยู่ใน สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย โดยพิจารณาจากการเฝาู ระวังภัยพบิ ัติ ข้อมูลการคมนาคม และพน้ื ทเ่ี สี่ยงตา่ งๆ แผนดาเนนิ ธรุ กจิ อย่างต่อเนอ่ื งสาหรับการบรหิ ารความพรอ้ มต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 15
(๕) การควบคุมสถานการณ์ และปอ้ งกนั ความเสยี หายปลกี ยอ่ ย เม่ือเกิดภัยพิบัติ และสถานการณ์อันตราย สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยต้องดาเนินการ ควบคุมสถานการณ์ ดูแลความปลอดภัยของเจ้าหน้าท่ี และปูองกันภัยท่ีอาจเกิดตามมาหลังจากการเกิดภัย พบิ ตั คิ รง้ั แรก เช่น การควบคมุ เพลงิ ไหม้ เป็นตน้ (๖) การสารวจความเสยี หาย เม่อื ควบคมุ สถานการณไ์ ด้และมน่ั ใจวา่ ปลอดภยั สานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทยต้องตรวจสอบ ความเสียหายในหน่วยงานทันที และต้องวางแผนการซ่อมแซมหรือฟื้นฟูตามความจาเป็น โดยต้องเริ่ม กระบวนการฟน้ื ฟทู ันทีท่ ส่ี ามารถทาได้ (๗) การคมุ้ ครองทรพั ย์สนิ หลังจากทราบผลการสารวจความเสียหายแล้ว สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยต้องดาเนินการ คมุ้ ครองและรักษาอปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมือ โดยใช้ผลจากการสารวจความเสียหาย เชน การวางมาตรการปูองกัน ไมใหเ้ กดิ ความเสยี หายมากข้ึน หรอื ปองกันการลกั ขโมย เป็นตน้ (๘) การรวบรวม และแบง่ ปันข่าวสาร สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยต้องดาเนินการติดตามและรวบรวมข้อมูลข่าวสารจากหลาย ช่องทาง และต้องติดต่อสื่สารข้อมูลด้านภัยพิบัติท่ีเกิดขึ้นกับหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง เช่น หน่วยงานราชการ สถาบันนการเงิน หน่วยงานสาธารณูปโภคต่างๆ เพ่ือแจ้งความคืบหน้าความเสียหาย แนวทางการฟ้ืนฟู สถานการณท์ ีเ่ กดิ ข้ึนให้ผบู้ ริหารทราบ เพ่ือกาหนดแนวทางการปรับปรุง ฟ้ืนฟู ตลอดจนแจ้งเวียนแนวทางการ ดาเนนิ การ โดยควรมีขอ้ มูลดังต่อไปน้ี 1) รายละเอยี ดเก่ียวกับภัยพิบตั ิ 2) ความเสียหายในพนื้ ท่ี (รวมถงึ สาธารณปู โภคท่จี าเปน็ และชอ่ งทางการคมนาคม) 3) การแจง้ เตอื นจากรัฐบาลหรือหน่วยงานทอ้ งถน่ิ ๓.๒ กลยุทธ์แผนบริหารความต่อเนื่องในสภาวะวิกฤต (Business Continuity Strategy) ของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กลยุทธ์แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเน่ืองสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตของ สานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทยฉบับนี้ใช้รองรับสถานการณ์กรณีหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวง มหาดไทย มีความเสี่ยง/ภัยคุกคาม ด้านอัคคีภัย อุทกภัย และชุมนุมประท้วง/จลาจล และเกิดผลกระทบต่อ ทรัพยากรทุกด้านของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย โดยบุคลากรไม่สามารถเข้ามาปฏิบัติงานในพื้นที่ ปฏิบัตงิ านหลกั ได้ ดังนี้ แผนดาเนินธรุ กิจอยา่ งต่อเนอ่ื งสาหรบั การบรหิ ารความพรอ้ มต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 16
ท่ี ทรพั ยากร กลยุทธ์แผนบรหิ ารความต่อเน่ืองของ สป.มท สาคญั ๑ อาคาร/ - พ้นื ท่ีสารองการปฏิบัติงาน สถานที่ ๑) ในช่วงเกิดเหตุภายใน ๒๔ ชั่วโมง ใช้สถานท่ีปฏิบัติงานสารอง ได้แก่ กรมโยธาธิการและ ปฏิบตั งิ าน หลัก ผังเมือง กรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย วิทยาลัยการปกครอง สานักบริหารการทะเบียน คลอง 9 กรมการปกครอง ๒) หลังจากน้ันในช่วง ๒-๗ วัน และ๒ สัปดาห์หรือขึ้นไป จะมีหน่วยงานเพ่ือให้ใช้เป็นสถานที่ ปฏบิ ตั งิ านสารองตามท่หี ัวหน้าคณะบริหารฯ ทมี BCP เหน็ เหมาะสม 3) กาหนดให้ปฏิบัติงานท่ีบ้าน/สถานที่อื่น สาหรับภารกิจท่ีมีลักษณะงาน ท่ีสามารถ ปฏบิ ัตงิ านทบ่ี า้ น/สถานทอ่ี ่นื ได้ โดยหนว่ ยงานต้องสนบั สนนุ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4) การจัดประชมุ ออนไลน์ หมายเหตุ - ในช่วงเกิดเหตุ การกาหนดสถานท่ีสารองในพ้ืนที่ต่างๆของประเภทความเสี่ยง/ภัยคุกคามฯ ให้กับหน่วยงานของ สป.มท. ที่ได้กาหนดเป็นพ้ืนที่ข้างต้นน้ัน อาจไม่ได้ใช้พื้นที่ท้ังหมด โดยหากภายหลังการตรวจสอบพ้ืนท่ีภายใน สป.มท. พบว่ามีความเสียหายไม่มาก หรือ เสียหายเปน็ บางสว่ น ก็ยังสามารถใช้พืน้ ที่ภายในท่ี สป.มท. ท่ีไม่ได้รับความเสียหายเป็นพื้นที่ ปฏิบัติงานต่อไปได้ และกาหนดให้มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย (อส.) ปฏิบัติหน้าท่ีท่ี สป.มท. ตลอดเวลาภายหลังจากเกดิ อุบัตกิ ารณ์ขน้ึ - กระบวนงานท่ีมิใช่งานหลัก สามารถดาเนินการทางานนอกสถานที่ (Work from home) ตามมติ ค.ร.ม. เมอื่ วนั ท่ี ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๓ ได้ ๒ ดา้ นวสั ดุ - กาหนดให้มีการจัดหาคอมพิวเตอร์สารอง ท่ีมีคุณลักษณะเหมาะสมกับการใช้งาน พร้อม อปุ กรณ์ท่ี อุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมโยงต่อผ่านอินเตอร์เน็ตเข้าสู่ระบบเทคโนโลยีของ สป.มท. สาคญั / กรมในสงั กดั มท. กรมบัญชีกลาง หรอื หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องได้ การจัดหา - กรณมี คี วามฉุกเฉนิ เร่งด่วน จาเป็นใหม้ ีแนวทางการทาเรอ่ื งยืมคอมพิวเตอร์สารองจากส่วน จัดส่งวสั ดุ ราชการอ่ืน ๆ ในสงั กดั มท. อปุ กรณ์ที่ - กาหนดให้ใชค้ อมพิวเตอรแ์ บบพกพา (Notebook/Netbook) ของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน สาคัญ ได้เปน็ การช่วั คราว หากมีความจาเปน็ เร่งดว่ นในช่วงระหวา่ งการจัดหาคอมพวิ เตอร์สารอง - กาหนดให้จัดเก็บวัสดุสิ้นเปลืองในปริมาณที่เหมาะสม โดยให้ทีมสนับสนุน เป็นจุดศูนย์กลาง พิจารณา ๓ ด้าน - ใหศ้ นู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร สป. สารองข้อมูลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี และข้อมูลสาคญั ไว้ในระบบการสารองข้อมลู ไว้ในสถานที่อน่ื สารสนเทศ - ข้อมูลสาคัญท่ีไม่ได้เชื่อมโยงระบบเครือข่ายให้สานัก/กองสารองไว้ในหน่วยงาน ผ่านอุปกรณ์ และข้อมูล พกพาหรอื อปุ กรณ์ทสี่ ามารถเรยี กใชไ้ ด้ ทส่ี าคัญ - ดาเนินการบันทึกข้อมูลด้วยระบบมือในรูปแบบท่ีดาเนินการได้ และให้ดาเนินการบันทึก ขอ้ มูลในระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ - จัดเก็บข้อมูลเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลกลาง ที่สามารถเข้าถึงได้จากสถานท่ีอ่ืน ๆ ภายนอก สป.มท. เพ่ือใหบ้ คุ ลากรในหน่วยงานทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูล และนาไปใช้ในการปฏิบตั ภิ ารกิจของหนว่ ยงาน แผนดาเนินธุรกิจอย่างตอ่ เน่อื งสาหรับการบริหารความพร้อมตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 17
ท่ี ทรัพยากร กลยทุ ธ์แผนบรหิ ารความต่อเน่อื งของ สป.มท สาคัญ - กาหนดใหใ้ ช้บคุ ลากรสารองทดแทนในหน่วยงาน ส่วน/ฝาุ ย หรือกลุ่มงานเดียวกนั ๔ ดา้ น บคุ ลากร - กาหนดใหใ้ ช้บุคลากรนอกฝาุ ยงานหรอื กลุ่มงานในกรณที ่บี ุคลากรไมเ่ พยี งพอหรือขาดแคลน ๕ ด้านหน่วยงาน - กาหนดให้จัดหาอุปกรณ์เช่ือมโยงระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตแบบสาหรับผู้ให้บริการ ทเ่ี กยี่ วข้อง/ โทรศัพท์มือถือ เชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญของหน่วยงานฝุาย ผู้ให้บริการ อินเตอรเ์ นต็ ในกรณีทผ่ี ใู้ ห้บรกิ ารเชอ่ื มโยงเครือขา่ ยไมส่ ามารถให้บริการได้ ที่สาคัญ/ - ประสานงานการไฟฟูานครหลวงเพื่อจ่ายกระแสไฟฟูาในพื้นที่ปฏิบัติงานสารอง เพิ่มกาลัง การจ่ายไฟ เพอ่ื รองรบั ปรมิ าณการใช้สาหรบั การกู้คนื สถานการณส์ สู่ ภาวะปกติ ผู้มสี ว่ นได้ - ประสานงานการประปานครหลวงเพ่อื จดั หาน้าประปา และหากจาเป็นต้องใช้รถบรรทุกน้า สว่ น เสีย ต้องจัดหารถบรรทกุ นา้ จดั ส่งในพืน้ ทป่ี ฏิบัติงานสารองดว้ ย - มีช่องทางการประสานงานท่ีสามารถติดต่อ/ประสานงานกับคู่ค้า / ผู้ให้บริการที่สาคัญ เปน็ หนา้ ทีข่ องทมี งาน การบริหารความตอ่ เน่อื งด้านค่คู า้ - ใช้ระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนการทางานร่วมกับคณะกรรมการต่าง ๆ อาทิ ระบบ การประชมุ ออนไลน์ ระบบรบั -สง่ เอกสารอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เป็นตน้ ๓.๓ กระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉิน (Call Tree)1 กระบวนการแจง้ เหตุฉกุ เฉนิ กาหนดแนวทางดาเนนิ การ ดังนี้ - ถ้าเหตุการณ์เกิดขึ้นในเวลาทาการ ให้ดาเนินการติดต่อบุคลากรหลักโดยติดต่อผ่านเบอร์ โทรศพั ทข์ องหนว่ ยงานเปน็ ชอ่ งทางแรก - ถ้าเหตกุ ารณ์เกิดข้ึนนอกเวลาทาการหรือสถานที่ปฏิบัติงานหลักได้รับผลกระทบ ให้ดาเนินการ ตดิ ตอ่ บุคลากรหลักโดยติดต่อผา่ นเบอร์โทรศัพท์มือถอื เปน็ ช่องทางแรก - ถ้าสามารถตดิ ต่อบคุ ลากรหลักได้ใหแ้ จ้งข้อมลู แก่บคุ ลากรหลกั ของหนว่ ยงานทราบ ดังต่อไปนี้ ๑) สรปุ สถานการณข์ องเหตกุ ารณฉ์ ุกเฉนิ และการประกาศใชแ้ ผนการบรหิ ารความต่อเนื่อง ๒) เวลาและสถานท่ีสาหรับการนัดประชุมเร่งด่วนของหน่วยงาน สาหรับผู้บริหารของ หนว่ ยงานและทีมงานบริหารความตอ่ เน่อื ง ๓) ข้ันตอนการปฏิบัติงาน เพ่ือบริหารความต่อเนื่องต่อไป เช่น สถานท่ีรวมพลในกรณีที่มี การย้ายสถานทท่ี าการ โดยเร่ิมจากหัวหน้าคณะบรหิ ารความต่อเนอ่ื งรบั ทราบสถานการณว์ ิกฤต - ผปู้ ระสานงานทีมบรหิ ารความต่อเน่ืองฯ แจง้ หวั หน้าทีมงานบริหารความต่อเน่ืองฯ แตล่ ะทีม - หัวหนา้ ทมี บริหารความต่อเนื่องฯ แต่ละทมี แจง้ ทมี งานฯ (บคุ ลากรหลัก) คนท่ี ๑ - ทีมงานฯ (บุคลากรหลัก) คนที่ ๒ แจ้งทีมงาน (บุคลากรหลัก) คนท่ี ๓ ต่อเน่ืองไปจนกระท่ัง ครบทุกคนในทีมบรหิ ารความต่อเนอ่ื งฯ แตล่ ะทีม 1 กระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉินหรือ Call Tree คือกระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉินให้กับสมาชิกในคณะบริหารความต่อเนื่องและ ทีมงานบริหารความต่อเนื่องที่เก่ียวข้องตามผังรายช่ือทางโทรศัพท์ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือการบริหารจัดการขั้นตอนในการ ติดต่อบคุ ลากรในหนว่ ยงาน ภายหลงั จากมกี ารประกาศเหตกุ ารณฉ์ ุกเฉิน หรือภาวะวกิ ฤตของสานกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย แผนดาเนินธุรกจิ อยา่ งตอ่ เนื่องสาหรับการบริหารความพร้อมตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 18
- เมื่อทีมงานฯ (บุคลากรหลัก) คนสุดท้ายในทีม ได้รับแจ้งข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ให้ติดต่อ กลบั ไปยังหวั หนา้ ทีม เพื่อยนื ยันการรบั ทราบและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมลู - กรณีท่ีไม่สามารถติดต่อบุคลากรหลักได้ ให้ติดต่อบุคลากรรองต่อๆ ลงไปตามลาดับ ทก่ี าหนดไวใ้ นรายชอ่ื ทีมบรหิ ารความต่อเนอื่ งฯ หัวหน้าคณะบริหารความต่อเน่ืองฯ ( ปมท.) รองหวั หนา้ คณะบริหารความตอ่ เน่ืองฯ ( รอง ปมท. ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ) ผปู้ ระสานงานคณะบริหารความต่อเน่อื งฯ ( ผช.ปมท. ทไี่ ด้รบั มอบหมาย)* (ผอ.สนผ.สป. ผอ.กก.สป. เปน็ ผูช้ ว่ ยเลขานกุ ารรว่ ม) หวั หน้าทีมบริหาร หวั หน้าทีมบรหิ าร หวั หน้าทีมบริหาร ทีมประเมนิ สถานการณ์ ทีมอานวยการภาวะฉกุ เฉิน ทีมฟนื้ ฟู ( ผอ.สนผ.สป.)* (ผอ. สนผ.สป. )* ( ผอ.กค.สป.)* ผอ.ศปข.มท. ผอ.ศสส.สป. ผอ.ศสส.สป. ผอ.สตร.สป. ผอ.ศสส.สป. ผอ.กจ.สป. ผอ.สน.มท. ผอ.ตท.สป. ผอ.สบจ.สป. ผอ.สกม.สป. ผอ.สตร.สป. ผอ.สกม.สป. ผอ.สดร.สป. ผอ.สถ.สป. ผอ.สบจ.สป. ผอ.สดร.สป. บคุ ลากรหลักคนท่ี 1 บุคลากรหลักคนท่ี 1 บคุ ลากรหลักคนท่ี 1 บุคลากรหลักคนท่ี 2 บุคลากรหลักคนท่ี 2 บุคลากรหลักคนที่ 2 บคุ ลากรหลักคนที่ 3 บุคลากรหลักคนท่ี 3 บคุ ลากรหลักคนท่ี 3 หวั หน้าทมี บริหาร หัวหนา้ ทีมบริหาร หวั หนา้ ทีมบริหาร ทีมสนับสนนุ ทมี สื่อสารและประชาสัมพนั ธ์ ทีมฝึกซ้อมแผน ( ผอ.กค.สป.) ( ผอ.ศสส.สป.)* ( ผอ.สน.สป.)* ผอ.กจ.สป. ผอ.สดร.สป. ผอ.ศสส.สป. ผอ.กจ.สป. ผอ.สดร.สป. ผอ.ศสส.สป. ผอ.ศปข.มท. ผอ.สถ.สป. ผอ.ตภ.มท. ผอ.ตภ.สป. (หวั หนา้ ทกุ หนว่ ยงาน) บคุ ลากรหลักคนที่ 1 ผอ.กสป.สป. ผอ.ศปท.มท. บคุ ลากรหลกั คนท่ี 1 บคุ ลากรหลักคนท่ี 2 บคุ ลากรหลกั คนท่ี 2 บคุ ลากรหลกั คนท่ี 3 บุคลากรหลักคนท่ี 3 แผนภาพท่ี 5 แสดง Call Tree เพอ่ื บรหิ ารสถานการณ์วกิ ฤตของ สป.มท. แผนดาเนินธรุ กิจอย่างต่อเนือ่ งสาหรับการบรหิ ารความพรอ้ มต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 19
๓.๔ ขน้ั ตอนการบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ ให้ สานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทยสามารถปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤตได้อย่างต่อเนื่องเป็น ระบบและมปี ระสิทธภิ าพ จึงกาหนดข้ันตอน/แนวทางปฏิบัติกรณีเกิดสภาวะวิกฤตใน ๔ กรณี คือ ๑) อัคคีภัย ๒) อทุ กภยั ๓) การชุมนมุ /จลาจล ๔) โรคระบาด โดยระบุข้นั ตอน/แนวทางทีผ่ ู้เกย่ี วขอ้ งตอ้ งถือปฏิบัติตามห้วงเวลา ของการเกิดเหตกุ ารณ์ ในแตล่ ะเหตุการณ์ แบง่ ออกเป็น ๓ หว้ งเวลา ได้แก่ ๑. เมอ่ื เรมิ่ มสี ถานการณ์ ๒. เมือ่ เหตุการณ์พฒั นาส่สู ภาวะวกิ ฤต ซึ่งจะเป็นผลทาใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านของ สป.มท. ตอ้ งหยดุ ชะงักลง 3. เม่อื เหตุการณก์ ลับเขา้ สู่สภาวะปกติ ๓.๔.๑ กรณเี กดิ อคั คภี ยั ๑) เม่อื เรมิ่ มเี หตุการณ์เกิดอคั คีภัย กาหนดใหถ้ ือปฏิบตั ิตาม “แผนปอู งกนั และระงบั อคั คีภัยของ สป.มท.” ๒) เมื่อเหตกุ ารณ์กลบั เข้าสูส่ ภาวะปกติ ๒.๑) ทุกสานัก/กอง ท่ีได้รับผลกระทบจากเหตุอัคคีภัย สารวจความเสียหาย รายงานต่อ ปลดั กระทรวงมหาดไทย (รายละเอยี ดตามทีมอานวยการภาวะฉุกเฉนิ ประสานงาน) ๒.๒) ทีมบริหารความต่อเนื่อง (ทีมอานวยการภาวะฉุกเฉิน ทีมสนับสนุน) ดาเนินการจัดหา สถานท่ีปฏิบัติงานสารอง วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ ท่ีจาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานให้กับทุกส่วน ท่ีได้รับผลกระทบ จากอคั คีภัย ๒.๓) ทีมงานบรหิ ารความต่อเน่ือง (ทีมฟื้นฟู) ดาเนินการวางระบบเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ณ สถานทปี่ ฏบิ ัตงิ านสารองให้กบั ทุกสานัก/กองได้รบั ผลกระทบ ๒.๔) กาหนดเปูาหมายใหส้ ามารถเรมิ่ ปฏิบัติงานได้ภายใน ๗๒ ช่ัวโมง นับจากเหตุการณ์กลับ เข้าสูส่ ภาวะปกติ ๒.๕) จัดให้มีการศกึ ษา ถอดบทเรียนอยา่ งเป็นระบบเพ่อื ใชเ้ ป็นข้อมลู การบริหารจดั การภัยในอนาคต Flow Chart ขน้ั ตอนบรหิ ารความตอ่ เน่อื ง : กรณเี กดิ อัคคภี ัย ๑. เมอ่ื เกิดเหตุ ๒. เม่ือเหตกุ ารณก์ ลบั เข้าสู่สภาวะ กาหนดใหถ้ ือปฏิบตั ิตาม ตรวจสอบความเสียหาย “แผนปูองกนั และระงบั (ทมี ฟืน้ ฟู) อัคคีภัย” ของ สป.มท. (ทุกสานกั /กอง) (ทมี อานวยการภาวะฉุกเฉนิ ) ประสานงานทมี งานเตรยี มความ พร้อมของสถานท่ีปฏิบตั งิ าน สารอง (ผู้ประสานงานฯ) วางระบบเครอื ข่ายIT ณ สถานท่ี ปฏบิ ตั ิงานสารอง (ทมี ฟน้ื ฟ)ู กาหนดเปาู หมายใหท้ างานได้ ภายใน ๗๒ ชม. (ทุกสานัก/กอง ) ศกึ ษาถอดบทเรียน (ทมี ฝกึ ซ้อมแผน /คณะทางาน บริหารแผนฯ) แผนดาเนินธรุ กจิ อยา่ งต่อเน่ืองสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 20
๓.๔.๒. กรณีเกิดอุทกภัย ๑) เม่ือเร่ิมเหตุการณ์ ๑.๑) ทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (ทีมประเมินสถานการณ์) ทาหน้าท่ีในการติดตามข้อมูล ข่าวสารและสถานการณ์การเกิดอุทกภัยอย่างใกล้ชิด วิเคราะห์แนวโน้ม และรายงานผู้บังคับบัญชาทุกระยะ และแจง้ เวยี นให้ทุกส่วนทราบถงึ สถานการณ์ ๑.๒) ผปู้ ระสานงานทีมบรหิ ารความตอ่ เน่ืองฯ ประสานติดตามสถานการณ์จากทีมงานบริหาร ความต่อเนอ่ื ง (ทีมประเมนิ สถานการณ)์ ๑.๓) ทกุ สานัก/กอง จดั ให้มีการ Back up ข้อมลู ท่ีจาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานซ่ึงไม่ได้อยู่ใน ระบบสารสนเทศ หรือระบบข้อมูลกลาง ลงอุปกรณ์สารองข้อมูล อาทิ External Hard disk แผ่น CD ฯลฯ เพ่อื ปูองกนั ความเสยี หายของข้อมูล รวมถึงเป็นการเตรียมขอ้ มูลสาหรับการปฏิบัตงิ านในสภาวะวกิ ฤต ๑.๔) ทีมงานบริหารความต่อเน่ือง (ทีมอานวยการภาวะฉุกเฉิน ทีมสนับสนุน ) ประสานงาน ในการเตรียมจัดหาสถานท่ีปฏิบัติงานสารอง เคร่ืองมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ เพ่ือเตรียมรับกับสถานการณ์หาก ลุกลามเขา้ สู่สภาวะวิกฤต ๑.๕) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเน่ืองฯ แจ้งรองหัวหน้าคณะบริหารความต่อเน่ือง และหัวหน้าทีมงานบริหารความต่อเนื่องฯ แต่ละทีมเพื่อแจ้งข้อมูลให้กับบุคลากรในทีมฯ ตามกระบวนการ Call Tree*** ตามข้อ ๓.๓ เพอ่ื ทราบและเตรยี มพร้อมในเบื้องตน้ ๒) เมื่อเหตุการณ์ลุกลามเข้าสู่สภาวะวิกฤต ซึ่งจะเป็นผลทาให้การปฏิบัติงานของ สป.มท. ตอ้ งหยดุ ชะงักลง ๒.๑) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง ประสานงานกับทีมงานบริหารความต่อเนื่อง ฝาุ ยสถานท่ฯี และฝุายอุปกรณ์ เตรียมความพร้อมของสถานท่ีปฏิบัติงานสารอง เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ ให้เรยี บรอ้ ยพร้อมสาหรบั การปฏบิ ตั ิงานของคณะบรหิ ารความต่อเนอื่ ง และทมี งานบริหารความตอ่ เน่ือง ๒.๒) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเน่ือง เสนอปลัดกระทรวงมหาดไทยในฐานะหัวหน้า คณะบริหารความต่อเน่ืองประกาศใช้แผนบริหารความต่อเนื่อง ๒.๓) ผู้ประสานงานคณะบรหิ ารความตอ่ เน่ือง แจ้งหัวหน้าทีมงานบริหารความต่อเนื่อง เพื่อแจ้ง ขอ้ มลู ให้กับบุคลากรในทีมฯ ตามกระบวนการ Call Tree เพอ่ื ทราบการประกาศใช้และปฏิบัติตามแผนบริหาร ความต่อเนอื่ ง (กรณีทบ่ี ุคลากรหลกั ไมส่ ามารถปฏิบตั งิ านได้ ให้แจง้ บุคลากรสารอง) ๒.๔) ทีมงานบริหารความต่อเนื่อง ไปรายงานตัวเพ่ือปฏิบัติหน้าท่ี ณ สถานที่ปฏิบัติงาน สารองท่ีกาหนด ภายใน ๒๔ ช่วั โมง นบั ตงั้ แต่ที่ได้รับแจ้งจากหวั หนา้ ทีมฯ ๒.๕) ประชุมคณะบริหารความต่อเนื่อง เพื่อสรุปสถานการณ์ ความพร้อมของบุคลากร เคร่ืองมอื วสั ดุ อปุ กรณ์ ฯลฯ รวมถึงรับทราบนโยบาย แนวทางในการปฏิบตั งิ าน ๒.๖) ทีมงานบรหิ ารความตอ่ เน่อื ง (ทมี ฟ้ืนฟ)ู ปฏิบตั งิ านตามกระบวนงานทีร่ บั ผดิ ชอบ ๒.๗) ทีมงานบรหิ ารความตอ่ เนื่อง (ทมี สนับสนุน) เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดหาอาหาร น้าดื่ม ที่พัก (กรณีจาเปน็ ) เพ่ือสนบั สนุนการปฏิบตั งิ าน ๒.๘) หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่อง ติดตามการปฏิบัติงานของทีมงานบริหารความ ต่อเนื่อง แก้ไขปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดข้ึน รวมถึงติดตามสถานการณ์ว่าได้กลับไปสู่สภาวะปกติแล้วหรือไม่ เพ่อื ตัดสินใจในการกลับมาปฏบิ ัติงาน ณ ท่ีตง้ั ปกติ แผนดาเนนิ ธุรกจิ อย่างตอ่ เนอ่ื งสาหรบั การบริหารความพรอ้ มต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 21
๓) เมอ่ื เหตุการณก์ ลบั เข้าส่สู ภาวะปกติ ๓.๑ ทีมงานบริหารความต่อเน่ือง (ทีมฟื้นฟู) และทุกสานัก/กอง ตรวจสอบความเสียหาย (ถา้ มี) และดาเนนิ การเพอื่ ให้เขา้ สู่การทางาน ในสภาวะปกติ ๓.๒ จัดใหม้ ีการศกึ ษา ถอดบทเรยี นอย่างเปน็ ระบบเพ่ือใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู การบรหิ ารจดั การภัยในอนาคต Flow Chart ขน้ั ตอนบรหิ ารความตอ่ เน่ือง : กรณเี กดิ อุทกภยั ๑. เมอ่ื เริ่มมเี หตกุ ารณ์ ๒. เมื่อสถานการณเ์ ขา้ สู่สภาวะ ๓. เม่อื เหตุการณก์ ลบั เข้าส่สู ภาวะ วิกฤติ ประสานตดิ ตามขอ้ มูลขา่ วสาร ตรวจสอบความเสยี หาย รายงานผบู้ ังคบั บญั ชา ประสานงานทมี งานเตรียมความ พร้อมของสถานท่ีปฏิบตั ิงาน (ทีมฟน้ื ฟู) (ทมี ประเมนิ สถานการณ์) สารอง ศกึ ษาถอดบทเรียน Back up ข้อมลู ท่จี าเป็น (ทีมฝึกซ้อมแผน / สาหรบั การปฏิบตั งิ าน (ผู้ประสานงานฯ) คณะทางานบรหิ ารแผนฯ) (ทุกสานัก/กอง) เสนอ ปมท. ประกาศใช้ แผนบรหิ ารความต่อเนื่องฯ (ผู้ประสานงานฯ) ประสานงานเตรียมจัดหา แจ้งหัวหน้าทมี งานฯ สถานท่ปี ฏบิ ัตงิ านสารอง ดาเนินการตามระบบCall Tree (ทมี สนับสนุน) (ผู้ประสานงานฯ) แจง้ หวั หนทา้ มี คทณ่ี ะ..บ. ริหารความ วางตัวภายใน 24 ชม. ณ สถานที่ปฏิบตั งิ านสารอง ต่อเน่อื งฯดาเนินการตามระบบ Call Tree (ทีมสนับสนุน) (ผปู้ ระสานงานฯ) ประชมุ คณะบริหารความตอ่ เนือ่ งฯ เพ่อื สรปุ สถานการณ์ ... (ทกุ สานัก/กอง) (ทีมอานวยการภาวะฉกุ เฉนิ ) ปฏบิ ตั ิงานตามกระบวนงาน ทรี่ ับผดิ ชอบ (ทุกสานัก/กอง) จัดหาอาหาร น้าดื่ม เพื่อสนับสนุน การปฏิบัติงาน (ทีมสนบั สนุน) ตดิ ตามการปฏิบัตงิ าน ของทีมงาน (ผปู้ ระสานงานฯ) ๓.๔.๓ กรณีเหตกุ ารณ์ชมุ นมุ ประทว้ ง /จลาจล กาหนดมาตรการ/แนวทางการดาเนินงานของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยได้กาหนด มาตรการในการปูองกนั และระงบั การชุมนุมประทว้ งและก่อการจลาจลไว้ ๓ ข้นั ตอน ดงั น้ี ๑) ก่อนเกดิ เหตุ ๑.๑ ทีมประเมินสถานการณ์ติดตามข้อมูลข่าวสารจากเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้น และรายงาน หัวหน้า ทีมบริหารความเสียง และผู้ประสานงานคณะบริหารความความต่อเนื่องฯ เพื่อทราบสถานการณ์ และเตรียม วางแผนในการบริหารสถานการณ์ ๑.๒ จัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน” พร้อมทั้งจัดเจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบ เพ่ือบริหารรองรับ สถานการณ์ การชุมนุมประท้วง และก่อการจลาจล ตรวจสอบเงื่อนไข ประเด็นปัญหาความเดือดร้อน ความ แผนดาเนนิ ธรุ กจิ อยา่ งต่อเนื่องสาหรับการบริหารความพร้อมตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 22
ขัดแย้งที่มีในพ้ืนที่ เพ่ือเตรียมการปูองกันและแก้ปัญหาและปฏิบัติตามแผนการปูองกันและระงับการชุมนุม ประทว้ ง และกอ่ การจลาจล ๑.๓ “ศูนยป์ ฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ ” กาหนดแผนบริหารสถานการณ์ฯ และประเมนิ สถานการณ์ ๑.๔ ซักซอ้ มและใชก้ ระบวนการ Call Tree เพื่อการประสานงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ๒) ขณะเกดิ เหตุ ๒.๑) ปฏบิ ตั ิการตามแผนรองรับสถานการณฉ์ กุ เฉินของ “ศนู ยป์ ฏิบัตกิ ารฉกุ เฉิน” ๒.๒) ทีมบริหาร (ฝุายฝึกซ้อมแผน) รับแนวทางอพยพตามข้อ ๒.๑ และใช้กระบวนการ Call Tree แจ้งการอพยพตามแผนอพยพท่ีกาหนด ๓) เมอื่ เหตุการณก์ ลับเขา้ สสู่ ภาวะปกติ ๓.๑ กรณหี ลงั เหตุการณไ์ มม่ ผี ลกระทบตอ่ สานกั งาน/อุปกรณ์ ทุกสานัก/กอง ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ชุมนุมประท้วงและก่อการจลาจล สารวจความเสียหาย รายงานตอ่ ปลดั กระทรวงมหาดไทย ๓.๒ กรณีหลังเหตุการณม์ ผี ลกระทบต่อสานกั งาน/อปุ กรณ์(เหมือนกรณอี คั คภี ัย) ๓.๒.๑) ทีมบริหารความเสี่ยง (ทีมฟ้ืนฟู) และทุกสานัก/กอง ที่ได้รับผลกระทบจาก เหตุการณ์ชุมนุมประท้วงและก่อการจลาจล สารวจความเสียหาย รายงานต่อปลัดกระทรวงมหาดไทย (รายละเอียดตามทมี ฯ ฝาุ ยสถานท่ีประสานงาน) ๓.๒.๒) ทมี บรหิ ารความต่อเน่ือง (ทีมฟื้นฟู) ดาเนินการจัดหาสถานท่ีปฏิบัติงานสารอง วสั ดุ อปุ กรณ์ ฯลฯ ทีจ่ าเป็นสาหรับการปฏิบัติงานให้กับทุกส่วน ท่ีได้รับผลกระทบจากการชุมนุมประท้วงและ กอ่ การจลาจล ๓.๒.๓) ทีมงานบริหารความต่อเน่ือง (ทีมฟ้ืนฟู) ดาเนินการวางระบบเชื่อมโยง เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ณ สถานท่ีปฏิบัตงิ านสารองใหก้ ับทกุ สานกั /กองไดร้ บั ผลกระทบ ๓.๒.๔) กาหนดเปูาหมายให้สามารถเร่ิมปฏิบัติงานได้ภายใน ๗๒ ชั่วโมง นับจาก เหตุการณ์กลับเข้าสสู่ ภาวะปกติ ๓.๓ จัดให้มีการศึกษา ถอดบทเรียนอย่างเป็นระบบเพ่ือใช้เป็นข้อมูลการบริหารจัดการภัย ในอนาคต แผนดาเนนิ ธรุ กจิ อยา่ งต่อเนอื่ งสาหรบั การบรหิ ารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 23
Flow Chart ขนั้ ตอนบริหารความตอ่ เน่อื ง: กรณีเหตชุ ุมนุมประทว้ ง /จลาจล กอ่ นเกดิ เหตุ ขณะเกิดเหตุ หลงั เกดิ เหตุ ติดตามข่าวสาร และรายงาน “ศูนยป์ ฏบิ ัติการฉกุ เฉิน”แจ้ง ตรวจสอบความ ปมท. และผู้ประสานงานคณะ แผนปฏิบัตกิ าร เสยี หาย บริหารความความต่อเน่ืองฯ (ผูป้ ระสานฯ) (ทีมฟ้นื ฟู)-ทุกสานัก/กอง) (ทีมประเมินสถานการณ์) (ทกุ สานกั /กอง) รับแนวทางอพยพ จัดต้ัง “ศนู ย์ปฏิบัตกิ าร ใช้กระบวนการ Call Tree กรณไี ม่กระทบ กรณีกระทบ ฉุกเฉิน” ตอ่ สถานท่ี ต่อสถานที่ (ผูป้ ระสานฯ) (ทมี อานวยการภาวะฉกุ เฉิน)/ปมท.) ปฏิบัตงิ าน ปฏิบัตงิ าน ... “ศูนย์ปฏิบตั ิการฉุกเฉิน” กลับเขา้ ประสานงานเตรยี ม กาหนดแผน อพยพ จัดหาสถานที่ ใช้กระบวนการ Call Tree ปฏิบัติงาน (ทมี อานวยการภาวะฉุกเฉิน)/ปมท.) ปฏิบัตงิ านสารอง (หัวหน้าทมี บรหิ ารฯ ทุกทีม) (ทีมสนับสนนุ / ซกั ซ้อมและใช้ ทกุ สานัก/กอง) (ทมี สนับสนุน) กระบวนการ Call Tree ... วางระบบเครือข่าย (ผูป้ ระสานฯ/ทุกสานัก/กอง) IT ณ สถานท่ี ปฏบิ ัติงานสารอง (ทมี สนบั สนนุ ) กาหนดเปา้ หมาย ให้สามารถ ปฏิบัติงานภายใน ๗๒ ชม. (ทกุ สานกั /กอง) ศึกษาถอดบทเรียน (ทีมฝกึ ซ้อมแผน /คณะ กรรมการฯ) ๓.๔.๔ กรณเี หตุการณ์โรคระบาดในมนษุ ย์ โรคระบาดในมนษุ ย์ เปน็ ภยั ประเภทหนึ่งที่มักเกิดขึ้นในพื้นท่ีใดพื้นท่ีหนึ่งแบบฉับพลัน และมีการ ระบาดท่ีรวดเร็ว รุนแรง สามารถแพร่กระจายจากพื้นท่ีหนึ่งไปสู่พื้นท่ีอื่นๆ หรือประเทศอื่นได้โดยง่าย โรคน้ัน อาจเป็นโรคติดต่อทางสัมผัสหรือไม่ก็ได้ ส่งผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ในพื้นท่ีเกิดโรคระบาดและ พ้ืนที่ใกล้เคียง กาหนดมาตรการ/แนวทางการดาเนินงานของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยได้กาหนด มาตรการต่อกรณีเหตกุ ารณโ์ รคระบาด ๓ ขนั้ ตอน ดงั นี้ ๑) ก่อนเกิดเหตุ การปูองกันและลดผลกระทบ มแี นวทาง ดงั น้ี 1.1 ประเมินความเสี่ยงจากโรคระบาด และผลกระทบจากการเกิดโรคระบาดเพื่อ กาหนดมาตรการในการบริหารจัดการภยั จากโรคระบาดและผลกระทบทเี่ กิดข้ึนใหเ้ หมาะสม ๑.๒ ฝึกซ้อมแผนปฏิบัติการปูองกันและบรรเทาภัยจากโรคระบาด / เตรียมดาเนินการ ตามมตคิ ณะรฐั มนตรีเมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๓ ๑.๓ วางแผนเตรียมสถานท่ีสารอง อุปกรณ์ ตลอดจน พัฒนาระบบเครือข่ายฐานข้อมูล สารสนเทศเพ่ือเชื่อมโยงกับหนว่ ยงานท่ดี แู ลและเกีย่ วขอ้ งกับการเกิดโรคระบาด ๑.๔ ให้ความรู้และความตระหนักแก่บุคลากรของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เก่ียวกับการปูองกันและปฏิบัติตนอย่างถูกต้องและปลอดภัยจากโรคระบาด ให้สามารถดูแลตนเอง และให้ ความชว่ ยเหลือซง่ึ กันและกันได้ตลอดชว่ งการระบาดใหญ่ แผนดาเนนิ ธุรกิจอยา่ งตอ่ เนือ่ งสาหรบั การบรหิ ารความพร้อมตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 24
๒) ขณะเกดิ เหตุ การบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน มีแนวทางดังน้ี ๒.1 เมอ่ื ไดร้ บั แจ้งเหตโุ รคระบาด หรอื ได้รบั ขอ้ มูลการเกิดโรคระบาดให้จัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการ ฉุกเฉนิ ” พรอ้ มทั้งจัดเจา้ หน้าท่รี ับผิดชอบและประสานกบั หน่วยงานด้านสาธารณสุขในพ้ืนที่ ๒.๒ แจ้งดาเนินการตามมาตรการของ “ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน” /มาตรการของรัฐบาล / มาตรการอ่นื ๆ เพื่อความปลอดภยั /เตรยี มความพรอ้ มต่อการปฏบิ ตั ิงานของเจ้าหน้าที่ (ตลอดจนดาเนินการ ตามมตคิ ณะรฐั มนตรเี ม่อื วันท่ี ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๓) อาทิ - ควบคุม และปูองกันการระบาด อาทิ ค้นหา /คัดกรอง /คัดแยก มีแนวทางการ ปูองกันการแพรก่ ระจายเช้ือ มี Innovation หรอื นา Technology Digital มาใช้ ฯลฯ - ตอบโต้ และบรรเทาทุกข์ อาทิ ดูแลจัดการรักษาพยาบาล จัดทรัพยากรท้ังกาลังคน และวสั ดุอปุ กรณ์ เวชภัณฑ์ มสี วัสดกิ าร/ประกนั ภัย บรู ณาการกบั หนว่ ยงานภายนอก หรือสนธกิ าลงั ฯลฯ - การประชาสมั พนั ธ์ อาทิ การประชาสัมพันธ์เชิงรุกใหข้ ้อมูลที่ถกู ต้อง จัดการข่าว ปลอมในสว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ งกับภารกจิ ใช้ Social Network เพอ่ื แจ้งขา่ วสารทีร่ วดเรว็ ฯลฯ ๓) เมอ่ื เหตกุ ารณก์ ลบั เข้าสู่สภาวะปกติ การจัดการหลงั เกดิ ภัย มแี นวทางดังนี้ ๓.๑ สรปุ ข้อมลู ตดิ ตามและประเมินความเสยี หาย ๓.๒ เยียวยา และฟ้ืนฟู อาทิ การให้ความช่วยเหลอื และสงเคราะหผ์ ปู้ ระสบภยั ๓.๓ ฟื้นฟูส่ิงสาธารณูปโภคสง่ เสรมิ สวสั ดกิ าร/ประกนั ภยั เปดิ รบั บรจิ าค ๓.๔ ประชาสัมพันธ์ สร้างขวัญ และกาลังใจเพื่อบุคลากรพร้อมในการปฏิบัติงานตลอดจนให้ ความชว่ ยเหลอื แก่บุคลากรท่ไี ดร้ บั ผลกระทบจากโรคระบาด ๓.๕ เฝาู ระวัง ควบคุมโรค ๓.๖ จัดให้มีการศึกษา ถอดบทเรียนอย่างเป็นระบบเพ่ือใช้เป็นข้อมูลการบริหารจัดการภัย จากโรคระบาดในอนาคต เฝาู ระวงั และควบคุมโรคที่อาจจะเกดิ ข้นึ แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสาหรับการบริหารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 25
Flow Chart ขนั้ ตอนบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื ง : กรณีโรคระบาดในมนษุ ย์ ๑. เมื่อเริ่มมเี หตุการณ์ ๒. เม่ือสถานการณเ์ ขา้ สู่สภาวะฉกุ เฉนิ ๓. เมือ่ เหตกุ ารณ์กลบั เขา้ สสู่ ภาวะ วกิ ฤติ ปกติ ประเมนิ ความเส่ียงจาก โรคระบาด จดั ตง้ั “ศนู ย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน” สรุปข้อมูล ตรวจสอบ ความเสียหาย (ทมี ประเมินสถานการณ์) (ทมี อานวยการภาวะฉุกเฉิน) (ทุกสานัก/กอง) เตรียมดาเนินการ แจง้ ดาเนนิ การตามแผนของ ฝึกซ้อมแผนปฏิบตั ิ “ศนู ย์ปฏิบัติการฉุกเฉนิ ” เยยี วยา ฟน้ื ฟู และดาเนินการตามมติ (ทีมประเมินสถานการณ์) คณะรฐั มนตรี วนั ที่ ๑๗ (ทมี ฟนื้ ฟ)ู (ทมี ฝกึ ซ้อมแผน) มนี าคม ๒๕๖๓ (ทุกสานัก/กอง) ฟ้ืนฟู สง่ เสรมิ (ทมี ฯ ฝาุ ยแผน / ทมี ฯ ฝาุ ยบคุ คล ) สวสั ดิการ รบั บริจาค เตรียมสถานที่ เตรยี ม พั นาระบบ (ทีมฟืน้ ฟ)ู (ทมี ฯ ฝาุ ย อปุ กรณ์ เครอื ข่าย สถานท่ี ) ฐานขอ้ มลู ประชาสัมพนั ธ์สร้าง (ทีม (ทีม สารสนเทศ ขวัญกาลังใจแก่ สนับสนุน) สนบั สนุน) (ทมี บคุ ลากร สนับสนนุ ) (ผู้บรหิ าร /ผ้ปู ระสานงาน) ใหค้ วามร/ู้ สร้างความตระหนัก (ทมี ส่อื สารและประชาสัมพันธ)์ (ทีมประเมินสถานการณ์) เฝูาระวัง ควบคมุ โรค (ทีมบรหิ ารฯ ฝุาย (ทีมฝึกซ้อมแผน) สถานท่ี) (ทมี ประเมนิ สถานการณ์) ทุกสานักงาน/กอง) ศึกษาถอดบทเรียน (ทีมประเมนิ สถานการณ์) (ทีมฝกึ ซ้อมแผน) / คณะกรรมการฯ) ๓.๕ การประมาณการความเสียหายเพื่อการฟ้นื ฟู สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยจดั ให้มีการประเมินความเสียหายท่ีเกิดขึ้น เพ่ือนามาใช้ในการ วางแผนด้านงบประมาณในการซ่อมแซม/ฟื้นฟูความเสียหาย เช่น ด้านอาคารสถานท่ี ด้านระบบการสื่อสาร ด้านวสั ดใุ นสานกั งาน เป็นตน้ ๓.๖ การฝึกซ้อมเพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ ตัวอยา่ งการฝกึ ซ้อมมรี ปู แบบตา่ งๆ ดงั นี้ - การซ้อมแผนอพยพ (Evacuation Drills) เป็นการฝึกซ้อมความรวดเร็วและความปลอดภัยใน การอพยพไปยังสถานทท่ี เี่ ตรียมไว้แบบฉับพลัน - การซ้อมระบบยืนยันความปลอดภัย (Safety Confirmation Exercises) ทดสอบและฝึกซ้อม โทรศัพท์ฉกุ เฉนิ ให้แก่เจา้ หน้าท่ีเพือ่ ยืนยนั สถานะความปลอดภยั - การฝึกซ้อมของศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน (Emergency Operation Center: EOC) คือ การทดสอบ และฝึกซ้อมการมารวมตัวกันของศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน (Emergency Operation Center: EOC) ตลอดจน แผนดาเนนิ ธุรกจิ อยา่ งตอ่ เน่ืองสาหรบั การบริหารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 26
การทางานตามบทบาทท่ีได้รับมอบหมายในการปฏิบัติงานศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน (Emergency Operation Center: EOC) - การฝึกการใช้ข้อมูลสารอง (Backup Data Recovery Exercise) เป็นการทดสอบและฝึกฝน การฟนื้ ฟู โดยใช้ข้อมลู สารองท่เี กบ็ ไว้ - การฝึกซ้อมการเริ่มดาเนินงานใหม่ (Operational Restart Exercise) คือ การทดสอบและ ฝกึ ซ้อมการกลบั มาดาเนนิ งานตามปกติภายหลงั จากที่การทางานถูกทาให้หยดุ ชะงกั ไป - การซ้อมดาเนินงานในสถานท่ีสารอง (Alternative Site Launch Exercise) คือ การทดสอบ และฝึกฝนการดาเนินงานในสถานท่สี ารองทีเ่ ตรยี มไว้หากเกิดเหตฉุ ุกเฉนิ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยสามารถพิจารณานารูปแบบดังกล่าวไปใช้ฝึกซ้อมแผนบริหาร ความตอ่ เนอ่ื งของหน่วยงาน ซ่ึงสามารถดาเนินการฝึกซ้อมได้ทุกรูปแบบท่ีหน่วยงานพิจารณาว่ามีความจาเป็น และสามารถดาเนินการได้ โดยควรพัฒนารูปแบบการฝึกซ้อมให้ซับซ้อนและหลากหลายมากข้ึนเพ่ือเพ่ิมขีด ความสามารถในการดาเนินภารกิจได้อยา่ งตอ่ เน่อื ง ๓.๗ การทบทวนและพัฒนาอย่างต่อเน่ือง (๑) การตรวจสอบและทบทวนแผนบรหิ ารความตอ่ เนือ่ ง เพื่อให้แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต ของ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยมีประสิทธิภาพสูงสุดหน่วยงานต้องตรวจสอบและทบทวนกิจกรรมในแผน บริหารความต่อเน่อื งของหนว่ ยงาน โดยตอ้ งพิจารณาประเด็นตา่ งๆ ดงั น้ี - กิจกรรมตา่ งๆ ในแผนบริหารความตอ่ เน่อื งฯ มีประสิทธผิ ลหรือไม่ - มปี ระเดน็ หรอื ปญั หาที่ต้องแกไ้ ขปรับปรุงหรอื ไม่ - มีความเปล่ยี นแปลงจากปัจจัยภายในหรือภายนอกอยา่ งไรบา้ งทีน่ ามาพจิ ารณา - มีประเดน็ หรอื กจิ กรรมใดที่ไม่ไดอ้ ยใู่ นแผนบรหิ ารความต่อเนื่องฯ แตค่ วรเพิ่มเติมเขา้ ไป (๒) การทบทวนการจดั การ นอกเหนือจากกระบวนการทบทวนและตรวจสอบท่ีกล่าวมาแล้ว ฝุายบริหารระดับสูงสุด ของสานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทยต้องมีการซกั ซอ้ มแผนดาเนนิ ธรุ กิจอยา่ งต่อเนื่องสาหรับการบริหารความ พร้อมต่อสภาวะวิกฤตของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยแบบและติดตามประเมินผลปีละหนึ่งคร้ัง เพื่อให้ แน่ใจว่ามีการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพและระบบปฏิบัติการยังคงใช้ได้ผลอยู่ รวมท้ังกาหนดระยะเวลาใน การทบทวนและปรับปรุงแผนทุก 3 ปี นอกจากน้ียังต้องทาความเข้าใจด้วยว่าการทบทวนของฝุายบริหาร เสมอื นเปน็ ตัวกระตนุ้ ทดี่ ีต่อภารกิจในการนาวงจร PDCA มาดาเนนิ งานจนครบสมบูรณ์ *ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุงแผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเน่ืองสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะ วกิ ฤตของสานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย (BCP) ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ จาเป็นต้องได้รับการปรับปรุงใหม้ ีความทันสมัย และเป็นปัจจุบัน โดยมีปัจจัยหลายด้านที่มีส่วนสนับสนุนให้แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสาหรับการ บริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (BCP)lมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน เช่น การศกึ ษาองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่เก่ียวข้อง กับภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ๆ การปรับเปลี่ยนบุคลากรให้มีส่วนร่วม ในการดาเนินการตามแผนอย่างท่ัวถึง เป็นต้น ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้จะส่งเสริมให้แผน BCP ของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยสามารถรับมือกับ สภาวะวิกฤตที่อาจเกิดขนึ้ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี แตท่ ัง้ น้ี แผน BCP ท่ดี คี วรนาไปใช้ปฏบิ ัตไิ ดโ้ ดยง่าย ไม่เกิดความสับสน ในการปฏิบัติ ซึ่งสานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทยควรเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ รวมทั้งมีการฝึกซ้อมแผน BCP อย่างสมา่ เสมอดว้ ย แผนดาเนินธรุ กจิ อย่างต่อเนือ่ งสาหรบั การบรหิ ารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 27
ภาคผนวก แผนดาเนนิ ธรุ กิจอยา่ งต่อเน่อื งสาหรบั การบรหิ ารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 28 21 หนา้ 18
แผนดาเนนิ ธรุ กจิ อย่างตอ่ เน่อื งสาหรบั การบรหิ ารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 29 21 หน้า 18
แผนดาเนนิ ธุรกจิ อย่างตอ่ เน่อื งสาหรบั การบริหารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 30 21
2. ช่องทางการตดิ ต่อส่ือสาร Call Tree ของ สป.มท. บุคลากรหลกั บทบาท บุคลากรสารอง ชื่อ เบอร์ติดต่อ หวั หน้าคณะ ชอ่ื เบอรต์ ดิ ต่อ ปมท. 08 1174 3940 บรหิ ารฯ รองปลัดกระทรวง (ม) 08 1820 4153 รองหัวหนา้ คณะบรหิ ารฯ รองปลัดกระทรวง (ส) 06 3219 8457 รองปลัดกระทรวง (ถ) 08 9897 9286 รองปลัดกระทรวง (บ) 06 1402 3418 ผู้ช่วยปลดั กระทรวงทีไ่ ด้รับ 08 9203 3987 รองปลัดกระทรวง (ม) 08 1820 4153 มอบหมาย รองปลดั กระทรวง (ส) 06 3219 8457 รองปลดั กระทรวง (ถ) 08 9897 9286 ผู้ประสานงาน ผอ.สนผ.สป. 08 5484 2083 รองปลัดกระทรวง (บ) 06 1402 3418 คณะบรหิ ารฯ ผอ.กก.สป. 08 4874 3484 ผู้ช่วยปลัดกระทรวง 08 9203 3987 มหาดไทยทไ่ี ดร้ บั ผู้ประสานงานหลัก ผชช. เฉพาะด้านนโยบายและ 0 2223 4920 มอบหมาย 0 2222 4156 สนผ.สป. ยทุ ธศาสตร์ 08 9897 9306 ผอ.สนผ.สป. 08 5484 2083 ผปู้ ระสานงานหลัก ผอ. กลมุ่ งานประสานราชการ 06 1387 3626 ผอ.กก.สป. 0 2221 3822 กก.สป. ผอ. กลุ่มงานอานวยการ 08 5484 2015 ผอ.สดร.สป. 08 4874 3484 ผปู้ ระสานงานหลัก ผชช. เฉพาะด้านพัฒนาและ 0 2221 9200 ผอ.สบจ.สป. 0 2221 5963 สดร.สป. สง่ เสรมิ การบริหารราชการจังหวัด 08 9203 4267 ผอ.ศสส.สป. 08 4432 8080 ผู้ประสานงานหลัก ผอ. กลุ่มงานยุทธศาสตร์ 0 2281 1567 ผอ.สตร.สป. 0 2221 9096 สบจ.สป. สารสนเทศและการส่ือสาร 08 1745 0966 ผอ.สกม.สป. 08 9897 9298 ผปู้ ระสานงานหลัก ผอ. กลมุ่ งานสนบั สนุนผ้ตู รวจ 0 2221 7885 ผอ.สกถ.สป. 0 2282 6581 ศสส.สป. ราชการ 08 5484 2451 ผอ.กจ.สป. 08 9897 9299 ผปู้ ระสานงานหลัก ผชช. ด้านกฎหมาย 0 2222 2849 ผอ.ตท.สป. 0 2222 1812 สตร.สป. ผชช. เฉพาะด้านการบริหารงาน 08 5484 2096 ผอ.กค.สป. 08 9897 9268 ผูป้ ระสานงานหลัก บุคคลส่วนท้องถน่ิ 08 1970 0069 0 2221 9103 สกม.สป. ผชช. เฉพาะดา้ นการบรหิ าร 0 2226 1811 ผอ.สน.สป. 08 9897 9300 ผู้ประสานงานหลัก ทรพั ยากรบคุ คล 08 9897 9293 หน.กพร.สป. 0 2222 2149 สกถ.สป. ผอ. กลุ่มงานกจิ การตา่ งประเทศ 0 2224 6190 ผอ.ศปข.มท. 08 1938 2617 ผปู้ ระสานงานหลกั ผอ. กลุ่มงานบรหิ ารการพสั ดุ 08 1854 5861 ผอ.กสป.สป. 0 2221 1134 กจ.สป. ผอ. กลุ่มงานบรหิ ารงบประมาณ 08 5484 2477 08 5484 2214 ผปู้ ระสานงานหลัก หวั หน้าฝาุ ยบรหิ ารงานทว่ั ไป 08 5484 2012 0 2224 6191 ตท.สป. ผอ. กลมุ่ งานเผยแพร่การ 08 1815 4021 09 2350 5558 ผู้ประสานงานหลัก ประชาสมั พันธ์ 0 2223 3028 0 2221 0837 กค.สป. นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน 06 3208 9264 08 5484 2056 ผู้ประสานงานหลัก ชานาญการพเิ ศษ 0-2622-0960๐ สน.สป. ผอ. กลุ่มงานวเิ คราะหแ์ ละ 08-5484-2070 0 2222 1871 ผู้ประสานงานหลัก ประมวลการขา่ ว 0 2221 0818 06 3219 6636 กพร.สป. ฝุายประสานงานผ้บู รหิ าร 08 4387 8705 0-2622-0960 ผปู้ ระสานงานหลัก 0 2221 6096 08-1930-3950 ศปข.มท. 08 4387 8704 0 2226 4819 ผปู้ ระสานงานหลัก 08 5944 1944 กสป.สป. 0 2223 9838 08 1930 3901 แผนดาเนนิ ธรุ กิจอย่างตอ่ เนื่องสาหรับการบริหารความพรอ้ มต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 31 21 หน้า 18
บคุ ลากรหลกั บทบาท บคุ ลากรสารอง ช่อื เบอร์ตดิ ต่อ ชื่อ เบอรต์ ิดตอ่ ผอ.ศปท.มท. ผปู้ ระสานงานหลัก หน. ฝุายปูองกันและปราบปราม 0 2221 6096 หน.ตภ.มท. 0 2225 5521 ศปท.มท. การทุจริต 08 1495 7643 หน.ตภ.สป. 08 5484 2027 ผปู้ ระสานงานหลัก นกั วชิ าการตรวจสอบภายใน 0 2622 2541 0-2622-2541 ตภ.มท. ชานาญการพเิ ศษ 06 5526 1872 08-9897-9309 ผูป้ ระสานงานหลัก นักวิชาการตรวจสอบภายใน 0 2223 1196 0 2223 1196 ตภ.สป. ชานาญการ 06 3203 5503 08 5484 2131 **อน่ื ๆ หวั หนา้ สานักงานรัฐมนตรฯี เบอร์ติดตอ่ ๐๘ ๕๔๘๔ ๒๒๔๐ แผนดาเนนิ ธรุ กิจอยา่ งตอ่ เนอ่ื งสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 32 24 หนา้ 16
3. รายชอ่ื ของทมี บริหารความต่อเนือ่ งของสานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย ทมี งานบริหารความตอ่ เน่อื งฯ ทมี ประเมินสถานการณ์ หัวหน้าทีม บุคลากรหลัก บคุ ลากรสารอง ช่ือ- สกลุ เบอร์โทร ชอ่ื - สกลุ เบอร์โทร นางสาววรษิ ฐา สงวนเสริมศรี 08 5484 2083 นางจรยิ า ชุมพงศ์ 08 9897 9306 ทีมงาน บคุ ลากรหลัก บคุ ลากรสารอง ชอื่ - สกลุ เบอร์โทร ช่อื - สกลุ เบอรโ์ ทร นายสกล ศักดกิ์ าจร 08 5484 2095 นายจิตตวิ ัตร ยศหนัก 08 5484 2095 นายจรญู ปงหาญ 08 9897 9302 นางสาวนภัสวรรณ ภเู่ จริญ 08 9897 9302 นางสาวสุขใจ กาญจนพบิ ลู ย์ 08 5484 2049 นายวฒุ ิ แตงทรพั ย 08 5484 2089 นางสาวขนิษฐา จิรพิทักษ์ 08 1900 4466 นางสาวเบ็ญจรัศม์ มาประณีต 06 5724 9594 นางศิโรรตั น์ ชินอกั ษร 08 9201 9393 นางสาวมาลินดา เทวาพิทักษ์ 08 1448 3443 นายศกั ดาวธุ ศักดิเศรษฐ์ 08 5484 2065 นายสมพร ย้ิมเผือก 09 2265 9251 นายเอกพงษ์ ศิริพนั ธ์ 08 5484 2016 นายเอกลักษณ์ อุปรริ ตั น์ 08 5143 8243 นางสาวชษุ ณฎา ขาวมะลิ 06 1417 2741 นางสาวอนัญญา สภุ าพนั ธุ์ 09 4985 4614 แผนดาเนินธุรกิจอยา่ งตอ่ เนื่องสาหรับการบรหิ ารความพร้อมตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 33 21
ทีมงานบริหารความต่อเนอื่ งฯ ทีมอานวยการภาวะฉุกเฉนิ หวั หนา้ ทีม บุคลากรหลัก บคุ ลากรสารอง ชอ่ื - สกลุ เบอร์โทร ชอื่ - สกลุ เบอร์โทร นางสาววรษิ ฐา สงวนเสริมศรี 08 5484 2083 นางจรยิ า ชุมพงศ์ 08 9897 9306 ทมี งาน บุคลากรหลัก บคุ ลากรสารอง ชอ่ื - สกลุ เบอร์โทร ชือ่ - สกลุ เบอร์โทร นายสกล ศกั ดก์ิ าจร 08 5484 2095 นายจิตตวิ ัตร ยศหนกั 08 5484 2095 นายศกั ดาวุธ ศกั ดิเศรษฐ์ 08 5484 2065 นายสมพร ย้มิ เผือก 09 2265 9251 นางสาวสุขใจ กาญจนพบิ ูลย์ 08 5484 2049 นายวุฒิ แตงทรัพย 08 5484 2089 นางศโิ รรัตน์ ชนิ อักษร 08 9201 9393 นางสาวมาลนิ ดา เทวาพทิ ักษ์ 08 1448 3443 นายเอกพงษ์ ศิรพิ ันธ์ 08 5484 2016 นายเอกลักษณ์ อุปรริ ัตน์ 08 5143 8243 นายจรูญ ปงหาญ 08 9897 9302 นางสาวนภัสวรรณ ภู่เจรญิ 08 9897 9302 นางสาวขนษิ ฐา จริ พิทักษ์ 08 1900 4466 นางสาวเบ็ญจรัศม์ มาประณีต 06 5724 9594 นางสาวชษุ ณฎา ขาวมะลิ 06 1417 2741 นางสาวอนัญญา สุภาพันธ์ุ 09 4985 4614 แผนดาเนนิ ธุรกิจอยา่ งต่อเนือ่ งสาหรบั การบรหิ ารความพร้อมตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 34 21
ทีมงานบริหารความต่อเนื่องฯ ทีมสนบั สนุน หัวหน้าทีม บุคลากรหลกั บคุ ลากรสารอง ชือ่ - สกลุ เบอรโ์ ทร ช่ือ- สกลุ เบอรโ์ ทร นางโสรยา พานิชพงศ์ 08 5484 2083 นางสาวเบญจวรรณ มเี ผือก 08 5484 2477 ทมี งาน บุคลากรหลัก บุคลากรสารอง ชื่อ- สกลุ เบอร์โทร ชอ่ื - สกลุ เบอร์โทร นางสาวเบญจวรรณ มเี ผอื ก 08 5484 2477 นายขจัด หงอสกลุ 06 5526 1591 นางปานจิตต์ มงั คลษั เฐียร 08 5484 2012 นางสาวทพิ ธชิ า บารุงจิตต์ 06 2323 5136 นางนยั น์ภรณ์ เกิดพุ่ม 09 8897 9972 นางสาวระพวี รรณ หวัง 06 5526 1371 ประเสริฐ นางนงเยาว์ บุญญาภริ มย์ 08 9897 9260 นางสาวกมลชนก หงอสกุล 09 5953 9289 นางสาววราภรณ์ ตนั ตสุรฤกษ์ 08 1815 4021 นางสโรชา สขุ ศรนี วล 08 5353 0217 แผนดาเนนิ ธรุ กิจอย่างต่อเนอื่ งสาหรบั การบรหิ ารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 35 21 หนา้ 18
ทมี งานบริหารความตอ่ เนื่องฯ ทีมฟื้นฟู หัวหนา้ ทีม บุคลากรหลัก บคุ ลากรสารอง ช่อื - สกลุ เบอร์โทร ชอื่ - สกลุ เบอร์โทร นางโสรยา พานิชพงศ์ 08 5484 2083 นางสาวเบญจวรรณ มเี ผอื ก 08 5484 2477 ทีมงาน บคุ ลากรหลกั บคุ ลากรสารอง ชอื่ - สกลุ เบอร์โทร ชือ่ - สกลุ เบอรโ์ ทร นางสาวเบญจวรรณ มเี ผือก 08 5484 2477 นายขจดั หงอสกลุ 06 5526 1591 นางปานจิตต์ มังคลษั เฐยี ร 08 5484 2012 นางสาวทพิ ธิชา บารงุ จติ ต์ 06 2323 5136 นางนงเยาว์ บญุ ญาภริ มย์ 08 9897 9260 นางสาวกมลชนก หงอสกุล 09 5953 9289 นางนัยน์ภรณ์ เกิดพุ่ม 09 8897 9972 นางสาวระพวี รรณ หวังประเสรฐิ 06 5526 1371 นางสาววราภรณ์ ตนั ตสรุ ฤกษ์ 08 1815 4021 นางสโรชา สขุ ศรีนวล 08 5353 0217 แผนดาเนินธุรกจิ อย่างตอ่ เนือ่ งสาหรับการบรหิ ารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 36 21 หนา้ 18
ทีมงานบริหารความต่อเนื่องฯ ทีมสื่อสารและประชาสมั พนั ธ์ หวั หนา้ ทีม บุคลากรหลัก บุคลากรสารอง ชอ่ื - สกลุ เบอรโ์ ทร ชอื่ - สกลุ เบอร์โทร นางสาวปาณสิ รา กาญจนะจิตรา 06 3219 6636 นางอมราภรณ์ ทรงอาวุธ 08 4387 8695 ทมี งาน บุคลากรหลัก บุคลากรสารอง ช่อื - สกลุ เบอรโ์ ทร ชือ่ - สกลุ เบอร์โทร นางอมราภรณ์ ทรงอาวธุ 08 4387 8695 นางโชตกิ า บญุ เหลอื 09 0980 2890 นางสาวประภสั สร เขม็ ทรพั ย์ 08 9884 8448 แผนดาเนนิ ธรุ กิจอยา่ งต่อเนือ่ งสาหรบั การบริหารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 37 21 หนา้ 18
4. ขั้นตอนการบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื งและกอบกกู้ ระบวนการ วนั ท่ี 1 (ภายใน 24 ชัว่ โมง) การตอบสนองต่อเหตกุ ารณท์ นั ที ในการปฏบิ ัตกิ ารใดๆ ให้บุคลากรของฝุายฯ คานึงถึงความปลอดภยั ในชีวติ ของตนเองและบุคลากรอ่นื ๆ และปฏบิ ตั ิตามแนวทางและแผนเผชญิ เหตุและข้นั ตอนการปฏิบัติงานที่หนว่ ยงานตนเองและสานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทยอยา่ งเคร่งครัด ขั้นตอนและกิจกรรม บทบาทความรับผิดชอบ ดาเนนิ การ แล้วเสร็จ - แจ้งเหตุฉุกเฉิน วิกฤติ ตามกระบวนการ Call Tree หัวหนา้ ทมี งานบรหิ ารความ ให้กับบุคลากรในหน่วยงาน ภายหลังได้รับแจ้งจาก ตอ่ เนอื่ งของหน่วยงาน หวั หน้าคณะบริหารความต่อเน่อื งของหน่วยงาน - จดั ประชุมคณะทางานบริหารความตอ่ เนื่อง เพ่อื ประเมิน คณะทางานบรหิ ารความต่อเนอ่ื ง ความเสียหาย ผลกระทบต่อการดาเนินงาน การ ให้บริการ และทรัพยากรสาคัญที่ต้องใช้ในการบริหาร ความต่อเนือ่ ง - ทบทวนกระบวนงานท่ีมีความเร่งด่วน หรือส่งผลกระทบ อย่างสูง (หากไม่ดาเนินการ) ดังนั้น จาเป็นต้อง ดาเนนิ งานหรอื ปฏิบัติดว้ ยมือ (Manual Processing) - ระบุและสรุปรายช่ือบุคลากรในหน่วยงานที่ได้รับ ผู้ประสานงานหลกั ของหน่วยงาน บาดเจ็บหรอื เสียชีวิต - รายงานหวั หน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน คณะทางานบริหารความต่อเน่ือง/ ผู้ประสานงานหลักของหน่วยงาน ทราบ โดยครอบคลุมประเด็นดังนี้ • จานวนและรายช่ือบุคลากรท่ีได้รับบาดเจ็บ / เสียชวี ติ • ความเสียหายและผลกระทบต่อการดาเนินงานและ การให้บรกิ าร • ทรัพยากรสาคัญที่ต้องใช้ในการบริหารความ ต่อเนื่อง • กระบวนงานท่ีมีความเร่งด่วนและส่งผลกระทบ อย่างสูงหากไม่ดาเนินการ และจาเป็นต้อง ดาเนนิ งานหรอื ปฏบิ ัติงานด้วยมือ - สอื่ สารและรายงานสถานการณ์แก่บุคลากรในหน่วยงาน ผ้ปู ระสานงานหลักของหนว่ ยงาน ให้ทราบ ตามเน้ือหาและข้อความที่ได้รับการพิจารณา แ ล ะ เ ห็ น ช อ บ จ า ก ค ณ ะ บ ริ ห า ร ค ว า ม ต่ อ เ นื่ อ ง ข อ ง หนว่ ยงานแลว้ - ประเมนิ และระบุกระบวนการหลกั และงานเร่งดว่ น คณะทางานบริหารความตอ่ เน่ือง ที่จาเป็นตอ้ งดาเนินการให้แล้วเสร็จ ภายใน 1 - 5 วัน ข้างหนา้ แผนดาเนินธรุ กิจอย่างตอ่ เนือ่ งสาหรบั การบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 38 21
วันท่ี 1 (ภายใน 24 ชั่วโมง) การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทนั ที ในการปฏิบตั กิ ารใดๆ ให้บคุ ลากรของฝุายฯ คานึงถึงความปลอดภยั ในชีวิตของตนเองและบุคลากรอน่ื ๆ และปฏบิ ัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุและข้นั ตอนการปฏิบัติงานที่หน่วยงานตนเองและสานกั งาน ปลดั กระทรวงมหาดไทยอยา่ งเครง่ ครดั - ประเมินศักยภาพและความสามารถของหน่วยงานฯ ใน คณะทางานบรหิ ารความตอ่ เน่ือง/ การดาเนินงานเร่งด่วนข้างต้น ภายใต้ข้อจากัดและ หวั หนา้ ทีมประเมนิ สถานการณ์ สภาวะวกิ ฤต พร้อมระบุทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ในการ และหัวหน้าคณะบรหิ ารความ บรหิ ารความต่อเน่ืองตามแผนการจัดหาทรัพยากร ตอ่ เนอ่ื งท้งั 5 ดา้ น - รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ ผู้ประสานงานหลกั ของหนว่ ยงาน ต่อเนื่องของหน่วยงานทราบ พร้อมขออนุมัติการ ดาเนินงานหรือปฏิบัติงานด้วยมือ (Manual Processing) สาหรับกระบวนงานท่ีมีความเร่งด่วนและส่งผลกระทบ อยา่ งสูงหากไม่ดาเนนิ การ - ติดต่อและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการ หัวหน้าและทีมงานบรหิ าร จัดหาทรัพยากรท่ีจาเป็นต้องใช้ในการบริหารความ ความตอ่ เนอ่ื งของแต่ละดา้ น หัวหน้าทีมประเมินสถานการณ์ ต่อเนอื่ ง ได้แก่ หวั หนา้ ทีมอานวยการภาวะฉุกเฉิน สถานท่ีปฏิบตั งิ านสารอง หัวหน้าทมี สนับสนนุ วสั ดอุ ปุ กรณท์ ่ีสาคัญ หัวหนา้ ทีมฟ้นื ฟู เทคโนโลยสี ารสนเทศและขอ้ มลู ที่สาคัญ บุคลากรหลกั หวั หน้าทีมสื่อสารและ คคู่ ้า/ผ้ใู หบ้ รกิ ารท่สี าคัญ/ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสีย ประชาสมั พนั ธ์ - พิจารณาดาเนินการหรือปฏิบัติงานด้วยมือ (Manual) คณะทางานการบรหิ าร เฉพาะงานเร่งด่วน หากไม่ดาเนินการจะส่งผลกระทบ ความตอ่ เนอ่ื ง อย่างสูงและไมส่ ามารถรอได้ ท้ังน้ี ต้องได้รับการอนุมตั ิ - ระบุหนว่ ยงานที่เปน็ คคู่ า้ /ผู้ให้บริการสาหรบั งานเรง่ ด่วน หัวหน้าทมี ด้านคู่คา้ /ผใู้ ห้บริการ เพ่ือแจง้ สถานการณแ์ ละแนวทางในการบริหารงานใหม้ ี ความต่อเน่ืองตามความเห็นของคณะบริหารความตอ่ เน่ือง - บันทกึ (Log Book) และทบทวนกิจกรรมและงานต่างๆ คณะทางานการบรหิ าร ที่ทีมงานบริหารความต่อเนื่องต้องดาเนินการ (พร้อม ความตอ่ เนื่อง ระบรุ ายละเอยี ด ผดู้ าเนินการ และเวลา) อย่างสม่าเสมอ - แจ้งสรุปสถานการณ์และขั้นตอนการดาเนินการ สาหรับ หวั หน้าคณะทางานบริหาร ในวันถัดไป ให้กับบุคลากรหลักในฝุายฯ เพ่ือรับทราบ ความตอ่ เนอื่ ง และดาเนินการ อาทิ แจ้งวัน เวลา และสถานที่ ปฏบิ ัตงิ านสารอง - รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ คณะทางานบรหิ ารความตอ่ เนอื่ ง ตอ่ เนือ่ งของหน่วยงานอยา่ งสมา่ เสมอหรือตามที่ได้กาหนดไว้ แผนดาเนนิ ธรุ กิจอย่างตอ่ เนอ่ื งสาหรบั การบรหิ ารความพร้อมตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 39 21 หนา้ 18
วนั ที่ 1 (ภายใน 24 ช่ัวโมง) การตอบสนองตอ่ เหตกุ ารณท์ นั ที ในการปฏบิ ัติการใดๆ ให้บุคลากรของฝุายฯ คานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากรอน่ื ๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชญิ เหตแุ ละขนั้ ตอนการปฏิบัตงิ านทห่ี นว่ ยงานตนเองและสานกั งาน ปลัดกระทรวงมหาดไทยอยา่ งเครง่ ครดั วันท่ี 2-7 วนั (การตอบสนองในระยะสน้ั ) ในการปฏิบตั ิการใดๆ ใหบ้ คุ ลากรของหนว่ ยงานคานงึ ถึงความปลอดภัยในชวี ิตของตนเองและบคุ ลากรอืน่ ๆ และปฏบิ ตั ติ ามแนวทางและแผนเผชญิ เหตุและขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงานท่หี นว่ ยงานตนเองและสานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทยกาหนดขึ้นอยา่ งเครง่ ครดั ขั้นตอนและกจิ กรรม บทบาทความรบั ผดิ ชอบ ดาเนนิ การ แลว้ เสรจ็ - ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรท่ี คณะทางานการบริหาร ได้รับผลกระทบ ประเมินความจาเป็นและระยะเวลาท่ี ความต่อเนื่อง ต้องใช้ในการกอบกู้คืน - ตรวจสอบกับหน่วยงาน ความพร้อมและข้อจากัดใน หัวหน้าทีมการบรหิ ารความ การจดั หาทรัพยากรท่ีจาเป็นต้องใช้ในการบริหารความ ตอ่ เนื่อง -หัวหนา้ ทีมประเมนิ สถานการ ตอ่ เนือ่ ง ได้แก่ - หวั หน้าทีมอานวยการภาวะฉุกเฉิน สถานท่ีปฏบิ ัตงิ านสารอง - หัวหนา้ ทมี สนับสนุน วัสดอุ ุปกรณท์ สี่ าคัญ - หวั หน้าทมี ฟ้นื ฟู เทคโนโลยีสารสนเทศและขอ้ มูลทส่ี าคัญ - หัวหน้าทีมส่ือสารและ บุคลากรหลัก ประชาสมั พนั ธ์ คู่คา้ /ผูใ้ หบ้ ริการทส่ี าคัญ/ผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี ขั้นตอนและกจิ กรรม บทบาทความรับผดิ ชอบ ดาเนินการ แลว้ เสรจ็ - รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเน่ืองของหน่วยงาน หัวหนา้ ทีมงานการบริหารความ ความพร้อม ข้อจากัด และข้อเสนอแนะ ในการจัดหา ต่อเนอ่ื ง ทรพั ยากรทจี่ าเปน็ ต้องใชใ้ นการบรหิ ารความต่อเนอื่ ง - ประสานงานและดาเนินการจัดหาทรัพยากรที่ หวั หน้าทมี บรหิ ารความต่อเนื่อง ของแต่ละดา้ น จาเปน็ ต้องใช้ในการบริหารความตอ่ เน่ือง ไดแ้ ก่ หัวหนา้ ทีมประเมินสถานการณ์ สถานที่ปฏิบัตงิ านสารอง หัวหน้าทีมอานวยการภาวะ วสั ดุอุปกรณท์ ีส่ าคัญ ฉกุ เฉิน เทคโนโลยสี ารสนเทศและข้อมลู ทีส่ าคญั หัวหนา้ ทีมสนับสนุน บุคลากรหลัก หวั หน้าทีมฟ้ืนฟู คคู่ า้ /ผใู้ หบ้ ริการท่สี าคญั /ผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี หั ว หน้ า ที ม ส่ื อ ส า ร แ ล ะ ประชาสมั พันธ์ หน้า 40 แผนดาเนินธรุ กจิ อย่างตอ่ เนอ่ื งสาหรบั การบรหิ ารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓
วนั ที่ 1 (ภายใน 24 ชัว่ โมง) การตอบสนองตอ่ เหตกุ ารณท์ ันที ในการปฏิบตั ิการใดๆ ให้บคุ ลากรของฝาุ ยฯ คานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชญิ เหตแุ ละขั้นตอนการปฏิบัติงานท่ีหนว่ ยงานตนเองและสานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทยอย่างเคร่งครดั - ดาเนินงานและให้บรกิ าร ภายใตท้ รพั ยากรที่จัดหา เพ่ือ หัวหนา้ ทมี บริหารความต่อเนื่อง แตล่ ะด้าน บริหารความต่อเนื่อง: สถานท่ีปฏบิ ัตงิ านสารอง วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ เทคโนโลยสี ารสนเทศและขอ้ มูลท่ีสาคญั บคุ ลากรหลกั คู่คา้ ผู้ให้บริการทส่ี าคญั / - แจ้งสรุปสถานการณ์และข้ันตอนการดาเนินการต่อไป หัวหน้าและทมี งานบรหิ ารความ ตอ่ เนือ่ ง สาหรบั ในวันถดั ไป ใหบ้ ุคลากรในหน่วยงาน - บันทกึ (Log Book)และทบทวนกิจกรรมและงานต่างๆ ทมี งานบริหารความตอ่ เน่ือง ที่ทีมงานบริหารความต่อเนื่องของแต่ละด้าน(พร้อม แต่ละดา้ น ระบุรายละเอียด ผู้ดาเนินการ และเวลา อย่าง สม่าเสมอ) - แจ้งสรุปสถานการณ์และขั้นตอนการดาเนินการต่อไป หัวหน้าทมี งานบรหิ ารความ ต่อเนอ่ื งแตล่ ะดา้ น สาหรบั ในวนั ถัดไป ให้กบั บุคลากรในหนว่ ยงาน - รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ หัวหนา้ และทีมงานบรหิ ารความ ต่อเนอ่ื งแต่ละดา้ น ต่อเน่ืองของหน่วยงาน ตามเวลาท่ีได้กาหนดไว้ แผนดาเนนิ ธรุ กจิ อย่างต่อเนื่องสาหรบั การบริหารความพรอ้ มต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 41
วันที่ 8 การตอบสนองระยะกลาง (1 สัปดาห์) ในการปฏบิ ัตกิ ารใดๆ ใหบ้ ุคลากรของฝาุ ยฯ คานึงถงึ ความปลอดภัยในชวี ติ ของตนเองและบุคลากรอนื่ ๆ และปฏบิ ตั ิตามแนวทางและแผนเผชิญเหตแุ ละขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านท่ีหน่วยงานตนเองและสานักงาน ปลดั กระทรวงมหาดไทยกาหนดข้นึ อย่างเครง่ ครัด ขน้ั ตอนและกจิ กรรม บทบาทความรับผิดชอบ ดาเนนิ การ แล้วเสรจ็ - ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรท่ี หวั หน้าและทีมงานบริหาร ได้รับผลกระทบ และประเมินความจาเป็นและ ความตอ่ เน่ืองแตล่ ะดา้ น ระยะเวลาท่ีต้องใช้ในการกอบกู้คนื - ระบุทรัพยากรท่ีจาเป็นต้องใช้ เพ่ือดาเนินงานและ หัวหนา้ ทีมแต่ละดา้ น ให้บริการตามปกติ - รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเน่ืองของ หัวหน้าทีมงานบริหาร หน่วยงานสถานภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรท่ี ความต่อเน่ืองแตล่ ะด้าน ได้รับผลกระทบ และทรัพยากรท่ีจาเป็นต้องใช้เพื่อ ดาเนนิ งานและให้บรกิ ารตามปกติ - ประสานงานและดาเนินการจัดหาทรัพยากรที่ หัวหน้าและทมี งานบรหิ าร จาเปน็ ตอ้ งใชเ้ พื่อดาเนินงานและให้บรกิ ารตามปกติ: ความต่อเน่ือง หั ว ห น้ า ที ม ป ร ะ เ มิ น สถานที่ปฏิบัตงิ านสารอง สถานการณ์ วสั ดอุ ปุ กรณท์ ี่สาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและขอ้ มลู ที่สาคญั หัวหน้าทีมอานวยการภาวะ ฉกุ เฉนิ บุคลากรหลกั คคู่ า้ /ผใู้ ห้บรกิ ารทส่ี าคัญ/ผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย / หวั หน้าทีมสนบั สนุน หวั หนา้ ทมี ฟื้นฟู ผู้ใหบ้ ริการทีส่ าคญั หั ว หน้ าที ม ส่ื อ ส า ร แ ล ะ ประชาสัมพนั ธ์ - แจ้งสรุปสถานการณ์และการเตรียมความพร้อมด้าน หวั หน้า ทีมงานบรหิ าร ทรพั ยากรต่างๆ เพื่อดาเนินงานและให้บริการตามปกติ ความตอ่ เน่ืองหน่วยงาน ใหก้ บั บุคลากรในหนว่ ยงาน - บันทกึ (Log Book)และทบทวนกิจกรรมและงานต่างๆ ทมี งานบริหารความตอ่ เน่ือง ท่ีทีมงานบริหารความต่อเน่ืองของหน่วยงาน(พร้อม ของหน่วยงาน ระบุรายละเอียด ผู้ดาเนินการ และเวลา อย่ าง สมา่ เสมอ) - รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ หวั หน้าและทีมงานบริหาร ต่อเนอื่ งของหน่วยงาน ตามเวลาทไ่ี ด้กาหนดไว้ ความต่อเนื่องของแต่ละดา้ น แผนดาเนนิ ธุรกจิ อย่างต่อเนอ่ื งสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 42
5. สถานสารองทสี่ าหรบั เคลื่อนยา้ ยไปปฏบิ ตั ิงาน กรณเี กดิ สภาวะวกิ ฤต กรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย 3/12 ถ.อู่ทองนอก แขวงดุสิต เขตดสุ ิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทรศัพท์ 0-2243-0020 - 27, 0-2241-7470 - 84 และ มท.55050 - 58 โทรสาร 0-2241-7466, 0-2241-7499 แผนดาเนินธรุ กจิ อย่างตอ่ เนอื่ งสาหรบั การบริหารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 43 21 หนา้ 18
กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง (พระราม 6) 218/1 ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรงุ เทพฯ 10400 / เบอรโ์ ทรศัพท์ กลาง : 0-2299-4000 แผนดาเนินธุรกจิ อยา่ งต่อเนอื่ งสาหรับการบรหิ ารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 44 21 หน้า 18
กรมโยธาธิการและผงั เมอื ง (พระราม 9) 224 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320 / เบอร์โทรศพั ทก์ ลาง : 0-2201-8000 แผนดาเนนิ ธรุ กิจอยา่ งตอ่ เนอื่ งสาหรับการบรหิ ารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 45 21 หนา้ 18
วิทยาลัยการปกครอง กรมการปกครอง ถนนรงั สติ -นครนายก คลอง 6 อาเภอธญั บรุ ี จงั หวดั ปทมุ ธานี 12110 เบอร์ตดิ ตอ่ 0 2577 4402, 02 577 4404, 02 577 4429, 02 5774918 แผนดาเนินธรุ กจิ อย่างตอ่ เน่อื งสาหรับการบรหิ ารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หนา้ 46 21 หนา้ 18
สานกั บริหารการทะเบียน กรมการปกครอง 59 หมู่11 ถ. ลาลกู กาคลอง 9 ต.บึงทองหลาง อ.ลาลูกกา จ.ปทมุ ธานี 12150 โทร.0 2791 7142 แผนดาเนนิ ธรุ กจิ อย่างตอ่ เนือ่ งสาหรบั การบรหิ ารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของ สป.มท. ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หน้า 47 21
Search