คำนำ
๑ บทท่ี ๑ ทำไมตอ้ ง \"CAST\" นำยสุทธพงษ์ จลุ เจริญ ปลัดกระทรวงมหำดไทย
๒ บทที่ ๒ ทศั นศึกษำตวั อย่ำงควำมสำเรจ็ พื้นที่พฒั นำคุณภำพชีวติ ตำมหลักทฤษฎีใหมป่ ระยุกต์สู่ โคก หนอง นำ โดย ทีมวทิ ยำกร ศพช.อดุ รธำนี ปี ๒๕๖๒ นายสุทธิพงษ์ จลุ เจรญิ ปลดั กระทรวงมหาดไทย และอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนในขณะน้ัน มีนโยบายแนวคิด ที่จะสร้างตาบลเข้มแข็ง ม่ันคง มั่งค่ัง ย่ังยืน ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยหนง่ึ ในน้ันก็คือ โครงการ โคก หนอง นา โมเดล ซ่ึงศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุดรธานี ได้รับมอบหมาย ให้พัฒนาพื้นที่และจัดการฝึกอบรม ให้เป็นแหล่งเรียนรู้สาหรับ ประชาชนเข้ามาเรียนรู้และศึกษาดูงาน กจิ กรรม โคก หนอง นา มกราคม ๒๕๖๓ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุดรธานี ร่วมกับ เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ ดาเนินการสารวจและเลือกพ้ืนท่ีประมาณ ๖๐ ไร่ ซึ่งเป็นพ้ืนที่แห้งแล้ง ลักษณะดินเป็นดินลูกรังปนทราย ประกอบกับน้าใต้ดินเป็นช้ันเกลือ ใกล้เคียงกับพ้ืนที่ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคนี้ นับเป็นความท้าทายอย่างย่ิง ในการนาหลักสิกรรมธรรมชาติมาปรับใช้ ให้เป็นแหล่ง เรียนรู้ โคก หนอง นา สาหรับประชาชนโดยวางแผน การทางานแบง่ พนื้ ที่เป็นแปลง ๆ โดยใช้พ้ืนท่ีหนองเป็น จุดศูนย์กลาง การพฒั นาพน้ื ที่ของ ศพช.อุดรธานี ดาเนินงาน โดยเริ่มจากการขุดหนอง ขุดคลองไส้ไก่ นาน้ามาใช้ ในการทานา และปลูกผัก เพ่ือให้พอกินก่อน จากน้ัน เสรมิ ด้วยการปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง โดยใช้ หลักกสิกรรมธรรมชาติ จากการพัฒนาพ้ืนที่ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุดรธานี จึงกลายเป็นแหล่งเรียนรู้ทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ่โู คกหนองนา โดยมฐี านเรยี นรจู้ านวนท้ังส้นิ ๑๓ ฐานเรียนรู้ พ้ืนที่ที่พัฒนาเป็นตัวอย่างของความสาเร็จ จากลงมือทา ลงมอื ปฏิบตั ิ ตามบริบทของพ้ืนที่ ซึ่งความสาเร็จมาจากการบริหารพื้นท่ีและ การจดั การท่เี ป็นระบบ พนื้ ท่ีของความสาเร็จมีการบริหารจดั การ ดังนี้ ตัวอย่างความสาเรจ็ โคกหนองนาในพน้ื ที่ ๑ งาน สาหรับครัวเรือน ที่ไม่มีพ้ืนที่มากนัก โดยย่อส่วนการปลูกป่า ๕ ระดับ ที่ใช้ไม้ยืนต้นระดับกลาง
๓ ไม้พุ่ม ไม้เลื้อย ไม้หัว และพืชผักล้มลุก และข้าวแทน เพื่อมุ่งเน้น ไปสู่ความพอกนิ เป็นเบอ้ื งต้น ซึ่งองค์ประกอบในจุดน้ีก็จะครบมีท้ัง โคก หนอง และมีท้ังนาก็ยังสามารถปลูกข้าวได้ โดยผลผลิตต่อ หน่ึงฤดูกาลก็จะได้ประมาณ ๑ กระสอบทาให้เลี้ยงคนหนึ่งคนใน ระยะเวลา ๓๐ วนั ได้ สว่ นผักกส็ ามารถปลกู หมุนเวยี นไปตามฤดูกาล ต้นน้า คือ ส่วนของ โคก ประกอบไปด้วย ป่า ๕ ระดับ ผสานกับคลองไส้ไก่ จากแนวคิดท่ีจะเก็บฝน ตกลงมา และน้าที่ไหลผา่ นมาต้องเก็บไว้ให้ได้มากท่ีสุด มีคลองไส้ไก่ ประมาณ ๓๐๐ เมตร คดเค้ียวไปตามลักษณะ บรบิ ทพืน้ ท่ี การกักเกบ็ น้าโดยการนานา้ เติมหนอง จากน้าฝน น้าบาดาล เก็บไว้ในรากของต้นไม้ก่อน คือการปลูกป่าบนโคก ให้ต้นไม้เก็บน้า ไว้และพอเข้าสู่หน้าแล้ง น้าจากต้นไม้ก็จะค่อย ๆ ระบายออกมาสู่ หนอง และป่าที่ประกอบด้วยพืชพันธ์ุสมุนไพร ต้นไม้หลายชนิด เป็นหวั ใจให้กับโคก หนอง นา การเก็บน้าในอีกรูปแบบคือ อธรรมปราบอธรรม น่ันก็คือนาน้าเสียจากอาคารที่พัก มาเก็บเอาไว้ใน หลุมขนมครก แล้วใชอ้ าทเิ ช่นผักตบชวา ผักบุ้ง บาบัดน้าเสีย รวมถึงให้น้าท่ีดีเข้ามาเพ่ือจะมาเจือจาง ก่อนไหล ไปสู่หนองกลาง เม่ือนา้ มาถึงหนองกลางกม็ ีคลองไสไ้ ก่หมนุ เวยี นน้าใหก้ ลับมาเหมือนเดิม เพื่อท่ีจะสามารถเก็บน้า ใหอ้ ยูใ่ นแปลงนานท่ีสุด แล้วคอ่ ยออกสู่หนองใหญ่ หนองลูกใหญส่ ดุ ในมีพนื้ ที่ มีขนาด ๒ ไร่ รูปแบบเป็นหนองมีหนึ่งตะพัก ความลึกเริ่มต้ังแต่ ๒ ถึง ๖ เมตร ใน ๒ ปแี รกของการขุดหนองลูกนี้ ยังไม่สามารถกักเก็บน้าไว้ใช้ได้ตลอดท้ังปี จากสภาพดิน และปริมาณการใช้ จนฤดูกาลที่ผ่านมา หลักจากสามารถขุด คลองไส้ไก่ ครบระบบ บนส่วนที่เป็นโคก เห็นได้ชัดขึ้นว่า พื้นที่หนองขนาด ๒ ไร่นี้ เพียงพอ ต่อความต้องการของแปลงพื้นทนี่ า ทมี่ ีพ้นื ทเ่ี กือบ ๒ ไรโ่ ดยทาการปลูกข้าวเจ้า และข้าวเหนียวสลับไปแต่ละปี โดยมีพื้นที่ รอการขยายอกี ประมาณ ๑๐ ไร่ ผลสาเรจ็ ของ โคก หนอง นา โมเดล ศพช.อดุ รธานี ทมี่ าจากความรว่ มมอื ร่วมใจ ของประชาชน และบุคลากร เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ ร่วมกนั สร้างร่วมกนั พัฒนาจนเหน็ เปน็ ที่ประจักษแ์ ลว้ วา่ โคก หนอง นา ป่า และน้า ไดค้ ืนความอุดมสมบรู ณ์เปน็ แหลง่ อขู่ ้าวอ่นู ้า แม้พน้ื ทีท่ ่ีมีความเสือ่ มโทรมก็สามารถทาใหเ้ กิดข้ึนได้จรงิ ได้ และตลอดไป ส่ือวีดิทศั นป์ ระกอบตวั อย่างพื้นท่คี วามสาเร็จ โคก หนอง นา ศูนยศ์ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนอุดรธานี
๔ บทท่ี ๓ ทฤษฎีใหมด่ ำ้ นกำรบรหิ ำรจดั กำรทรัพยำกร ดิน น้ำ ป่ำ สู่กำรพฒั นำตำมหลกั กสกิ รรมธรรมชำติ โดย ทีมวิทยำกร ศพช.อุดรธำนี การฝึกปฏิบัติ ๑๐ ฐานเรยี นรู้ตามหลักกสกิ รรมธรรมชาติ ๑. ฐำนปยุ๋ หมกั ชีวภำพ : ปยุ๋ หมักแหง้ วทิ ยากรอธิบายถึงปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ ซ่ึงหมายถึง สารธรรมชาติที่ได้จากกระบวนการหมักบ่ม วัตถดุ ิบจากธรรมชาติตา่ ง ๆ ทง้ั พชื และสตั วจ์ นสลายตวั สมบูรณ์เปน็ ฮวิ มัส วิตามิน ฮอร์โมน และ สารธรรมชาติต่าง ๆ ซ่ึงเป็นท้ังอาหารของดิน ตัวเร่งการทางานของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ท่ีอาศัยอยู่ในดิน และอาศัยอยู่ปลายรากของพืช ทีส่ ามารถสรา้ งธาตอุ าหารกว่า ๙๓ ชนดิ ใหแ้ ก่พืช ประโยชน์ของป๋ยุ อินทรีย์ชีวภาพ ๑) เป็นอาหารของสิง่ มชี วี ิตในดนิ เช่น แบคทเี รยี เช้ือรา และแอคติโนมยั ซสี ๒) ให้ธาตุอาหาร และกระตุน้ ใหจ้ ลุ ินทรีย์ สรา้ งอาหารกวา่ ๙๓ ชนดิ แกพ่ ชื ๓) ช่วยปรบั ปรงุ คุณสมบัติ และโครงสร้างดินให้ดขี ้ึน ๔) ช่วยดูดซบั หรือดดู ยดึ ธาตอุ าหารไว้ให้แก่พืช ๕) ช่วยปรับค่าความเป็นกรด-ด่างของดนิ ให้อยู่ในระดับที่เหมาะแก่การเจริญเติบโตของพชื ๖) ชว่ ยกาจดั และตอ่ ตา้ นเชื้อจลุ นิ ทรยี ท์ ่กี ่อโรคตา่ ง ๆ ๗) ทาใหพ้ ชื สามารถสร้างพษิ ไดเ้ อง ช่วยให้ตา้ นทานโรคและแมลงได้ดี วิทยากรได้อธบิ ายสูตรการทาปุ๋ยแหง้ ซึง่ มวี ธิ ที าทแี่ ตกตา่ งกัน โดยยกตัวอย่าง สตู รป๋ยุ แหง้ ดงั น้ี ๑) สูตรหญ้าผสมขีไ้ ก่ - หญา้ สด ๕๐ กก. - ขีไ้ ก่ ๕ กก. - ไม่ควรเลือกไกท่ กี่ นิ ยาปฏชิ ีวนะ เพราะจะทาให้มีกลิ่นเหม็นเน่าและเป็น อันตรายต่อ จลุ ินทรยี ์ในดนิ และทป่ี ลายรากพชื วิธีทา นาหญ้าสด ๑๐ กก. ใส่ลงใน ถังหมักพลาสติกขนาด ๒๐๐ ลิตร ย่าให้ แน่น (จะสงู ประมาณ ๒๐ ซม.) โรยข้ีไก่ หมาด ๆ ๑ กก. ทบั ลงบนหญ้า ทาซา้ เชน่ เดมิ อีก ๔ ชัน้ ปดิ ฝาเก็บไว้ในท่ีร่ม จากนนั้ บ่มไวป้ ระมาณ ๔๕ วนั ข้ึนไปจะได้ปุย๋ น้าเข้มข้นคณุ ภาพดี วธิ ใี ช้ ผสมนา้ ๑ : ๒๐๐-๕๐๐ รดดนิ หรอื ผสมนา้ ๑ : ๓๐๐-๑๐๐๐ ฉดี ลาตน้ และใบ ๒) สตู รพืชผกั - เศษพืชผกั ผลไม้ทุกชนิด ๓ กก. - นา้ ตาลแดงหรอื กากน้าตาล ๑ กก. - น้าสะอาด ๑๐ ลติ ร - หวั เช้อื จลุ นิ ทรียเ์ ขม้ ขน้ ๑ ลิตร
๕ วิธีทา นาเศษผักผลไม้ให้เป็นช้ินเล็ก ๆ ใส่ในถังพลาสติก แยกผสมน้ากับน้าตาล ให้เขา้ กนั เปน็ เน้ือเดียว เตมิ หัวเช้อื จลุ ินทรีย์เข้มข้นลงไปจากน้ันนาไปเททับลงบนเศษผักผลไม้ในถังให้ทั่ว ใช้ไม้ไผ่ขัด กดให้เศษผักจมนา้ ปิดฝาให้สนทิ ไม่ให้ แสงและอากาศเข้า บ่มทง้ิ ไว้ในทรี่ ม่ ๙๐ วนั เป็นอย่างน้อย ก็จะได้ปุ๋ยน้า คณุ ภาพดกี ล่ินหอม และรสเปรยี้ ว (pH 3.3) เหมาะสาหรบั รดพชื ผกั ทุกชนิด ถา้ ต้องการรดผักชนิดไหนให้ ใช้ผัก ชนิดนนั้ หมกั เปน็ หลกั ร่วมกับพืช ผักทช่ี อบขนึ้ รว่ มกับผักชนดิ นั้น วธิ ีใช้ ผสมนา้ ๑:๑๐๐ รดดินหรอื ผสม น้า ๑ : ๒๐๐-๔๐๐ ฉดี พ่นใบและลาตน้ ๓) สูตรมลู สัตว์ - มูลสตั ว์ ๑ กระสอบ - แกลบ เศษใบไม้ หรือซังข้าวโพด ๑ กระสอบ - ขี้เถา้ แกลบ ๑ กระสอบ - ราออ่ น ๑ กระสอบ - น้าสะอาด ๑๐ ลติ ร (ถา้ วัตถุดบิ แห้งมากก็สามารถเพ่ิมปริมาณขึ้น) - หวั เช้อื จุลินทรยี ์เข้มขน้ ๑ ลิตร วธิ ที า นามลู สัตว์ แกลบ ขเี้ ถา้ แกลบ และราอ่อนมาผสมคลุกเคล้าให้เข้าเป็นเน้ือเดียวกัน ผสมนา้ กับหัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้นให้เข้ากัน รดลงบนกองวัสดุ และผสมให้เข้ากันจนมีความชื้นประมาณ ๓๕% โดยทดลองกาดู จะเกาะกันเป็นก้อนได้แต่ไม่เหนียว และเม่ือปล่อยทิ้งลงพ้ืนจากความสูงประมาณ ๑ เมตร ก้อนปุ๋ยจะแตก แต่ยังมีรอยนิ้วมือเหลืออยู่ คลุกเคล้าให้เข้ากันดี ตักปุ๋ยใส่กระสอบ และมัดปากถุงให้แน่น กองกระสอบป๋ยุ ซ้อนกนั เปน็ ชัน้ ๆ และควรวางเรียงกระสอบให้ห่างกัน เพื่อให้ความร้อนสามารถระบายออกได้ ท้ัง ๔ ด้าน เพื่อไม่ต้องกลับกระสอบทุกวัน ทิ้งไว้ประมาณ ๕ - ๗ วัน ตรวจดูว่ามีกล่ินหอมและไม่มีไอร้อน ก็สามารถนาไปใชง้ านและเกบ็ รกั ษาไวไ้ ดน้ าน วิธีใช้ ควรใช้ตั้งแต่ในขั้นตอนของการเตรียมดิน โดยผสมคลุกเคล้ากับดินในแปลง เสรจ็ แล้วคลุมดินด้วยฟางใบไม้หรือก่ิงไม้ และควรหมักดินท้ิงไว้ ๗ วัน จึงจะเริ่มลงมือปลูกพืช (ในกรณีท่ีเป็นนาข้าว พชื ไรแ่ ละพืชผกั ) อตั ราการใช้ นาข้าว ๒๐๐ กิโลกรมั : ๑ ไร่ พืชไร่/ผัก ๒ กามือ : ๑ ตารางเมตร ส่วนไม้ยืนต้น พืชสวน ๑ กโิ ลกรัม : ๑ ตารางเมตร ขอ้ แนะนา ในการใช้ปุ๋ยหมกั แหง้ อินทรยี ช์ ีวภาพให้ได้ผลดีนั้น หลังจากหว่านหรือคลุกผสมปุ๋ยหมักแห้ง กับดินแล้ว ควรคลุมดินด้วยฟาง เศษหญ้า หรือเศษใบไม้ จากน้ันใช้ปุ๋ยน้าหมักอินทรีย์ชีวภาพรดลงไปในอัตราส่วน ๑ : ๒๐๐ จะชว่ ยให้ดินร่วนซยุ และฟขู ้นึ ทาให้รากพืชเตบิ โตไดด้ ี
๖ ลิงค์คลปิ วดิ ีโอ : ศพช.อดุ รธานี : หลักสตู รระยะส้นั “108 อาชพี “ แกจ้ น พฒั นาคน ทุกช่วงวัย การทาป๋ยุ หมกั แห้ง : - YouTube ๒. ฐำนฅนรกั ษแ์ มธ่ รณี : ห่มดินและนำ้ หมักสมนุ ไพร ๗ รส วทิ ยากรอธิบายถึงหลกั กสิกรรมธรรมชาติท่ีให้ความสาคัญกับการปรับปรุงบารุงดินเป็นอันดับแรก และถือเป็นหัวใจสาคัญ เพราะถือว่าดิน เป็นต้นกาเนิดของชีวิตสังคมไทยในอดีต ให้ความสาคัญของดิน ด้วยความเคารพ บชู าดินเสมอื น “แม”่ เรียก “พระแม่ ธรณ”ี การใหค้ วามรักและเอาใจใสพ่ ระแมธ่ รณี โดยการห่มดิน หรือการคลุมดินไม่เปลือยดิน โดยใช้ฟาง เศษหญ้า หรือ เศษพืชผลทางการเกษตรท่ีสามารถย่อย สลายได้เอง ตามธรรมชาติ และการปรุง อาหารเลี้ยงดินโดยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ขีวภาพให้ลงไปเพ่ือให้เป็นอาหารของดิน แล้วดินจะปลดปล่อยธาตุอาหารให้พืช โดย กระบวนการย่อยสลายของจุลินทรีย์ เรียกหลักการนี้ว่า “เล้ียงดิน ใหด้ นิ เลีย้ งพืช (feed the soil and let the soil feed the plant)” การปฏิบัติเช่นนี้จะทาให้ดินกลับมามีชีวิต พืชที่ปลูกก็จะเจริญเติบโตแข็งแรงให้ผลผลิตดี ต้นทุนในการผลิตลดลง รวมถึง การท่ีผู้ผลิตและผู้บริโภค มสี ขุ ภาพกายสขุ ภาพจิตท่ดี ี จงึ มกี ารใหน้ ยิ ามของการ ปฏบิ ตั เิ ช่นนี้ว่า “คืนชีวิตให้แผ่นดิน” ซ่ึงเป็นการแสดงออก ถงึ ความกตญั ญู กตเวที ของ“ลูก” (มนุษย์) ท่มี ีตอ่ “แม”่ (ธรณี) หลักของการ “ห่มดิน” หรอื “คลมุ ดิน” โดยใช้ฟาง เศษหญ้า หรือใบไม้ที่สามารถย่อยสลายได้เอง ตามธรรมชาติ และใสอ่ าหารใหแ้ ก่ดิน ด้วยการใสป่ ๋ยุ อนิ ทรยี ์ชีวภาพลงไป เพื่อให้อาหารแก่ดิน แล้วดินจะปล่อย ธาตอุ าหารใหพ้ ืช โดยกระบวนการย่อยสลายของจุลินทรียเ์ รียกหลักการน้ีว่า “เลี้ยงดิน ให้ดินเลี้ยงพืช” การปฏิบัติ เชน่ นี้ จะทาให้ดนิ กลับมามชี วี ติ เปน็ การ “คืนชีวติ ใหแ้ ผน่ ดนิ ” ประโยชน์ของการห่มดิน คือ เปน็ ที่อยู่อาศยั ของจลุ ินทรีย์ เป็นอาหารให้สัตว์หน้าดิน เช่น ไส้เดือน กิ้งกือ ฯลฯ ซึ่งช่วยพรวนดิน และถ่ายมูลเป็นปุ๋ยให้พืช เก็บรักษาความชื้น เม่ือย่อยสลายจะกลายเป็นฮิวมัส ซง่ึ เปน็ ป๋ยุ ใหก้ บั พชื ประโยชนข์ องจุลินทรีย์ ได้แก่ ชว่ ยตรงึ ไนโตรเจนจากอากาศ ซ่ึงในอากาศมีก๊าซไนโตรเจนอยู่ถึง ๗๘% ช่วยย่อยสลายซากพชื ซากสตั ว์ ชว่ ยยอ่ ยแรธ่ าตุที่อย่ใู นหิน ลกู รังทราย เช่น ธาตุอาหาร กลุ่ม เหล็ก แมงกานีส สังกะสี ฟอสฟอรัส เปน็ ตน้ ชว่ ยผลิตฮอรโ์ มนใหพ้ ชื ช่วยผลิตสารปอ้ งกนั โรคพชื
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: