Community-based Learning : CBL รองศาสตราจารย์ ดร.ปญุ ญพฒั น์ ไชยเมล์ คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ วข.พทั ลงุ การเรียนรูโ้ ดยใชช้ ุมชนเป็นฐาน (สาธารณสขุ )
แนวคิดกระบวนการพฒั นาสาธารณสุข ความเจ็บป่ วย โครงสรา้ งประชากร สิง่ แวดลอ้ ม ปัญหาสขุ ภาพชมุ ชน การเมือง สงั คม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม การแกป้ ัญหาสุขภาพจึงตอ้ งวิเคราะหห์ าสาเหตุและหาแนวทางแกป้ ัญหา
กระบวนการเรียนรูโ้ ดยใชช้ มุ ชนเป็ นฐาน การศึกษาชมุ ชน รวบรวมขอ้ มูล วิเคราะ หข์ อ้ มูล ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน วินิจฉยั ปัญหา ดาเนนิ งานตาม วางแผนปฏิบตั ิการ จดั ลาดบั ความ แผน สาคญั ของ ปัญหา
กระบวนการการเรียนรูโ้ ดยใชช้ มุ ชนเป็ นฐาน 1. การประเมินชมุ ชน (Community Assessment) : การศึกษาชมุ ชน รวบรวมขอ้ มูล และวิเคราะหข์ อ้ มูล 2. การวินิจฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community Diagnosis) : การวินจิ ฉยั ปัญหา และการจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา 3. การวางแผนเพอื่ แกป้ ัญหาสขุ ภาพชมุ ชน (Community Planning) 4. การปฏิบตั ิตามแผนงานสุขภาพชมุ ชน (Community Implementation) 5. การประเมินผลการดาเนนิ งานสขุ ภาพชุมชน (Community Evaluation)
การประเมนิ ชมุ ชน (Community Assessment) • ทาไมตอ้ งประเมนิ ชุมชน • นกั พฒั นาจะตอ้ งเขา้ ใจชมุ ชนก่อน • ตอ้ งทราบลกั ษณะทางกายภาพของชมุ ชน • ตอ้ งทราบแบบแผนการดาเนนิ ชีวิต • ตอ้ งทราบปัญหาทางดา้ นสขุ ภาพของประชาชน • ตอ้ งทราบความตอ้ งการทางดา้ นสุขภาพของประชาชน • เป็ นการสรา้ งความสมั พนั ธก์ บั ชมุ ชน
การประเมินชมุ ชน (Community Assessment) ข้นั ตอนของการประเมินชมุ ชน 1. การสรา้ งสมั พนั ธภ์ าพกบั ผูน้ าชมุ ชน 2. การศึกษาชมุ ชน 3. การรวบรวมขอ้ มูล 4. การวิเคราะหข์ อ้ มูล 5. การสรุปผลและนาเสนอขอ้ มูล
การประเมนิ ชุมชน (community assessment) ข้นั ตอนของการประเมนิ ชุมชน 1. การสร้างสัมพนั ธ์ภาพกบั ผู้นาชุมชน 2. การศึกษาชุมชน 3. การรวบรวมข้อมูล 4. การวเิ คราะห์ข้อมูล 5. การสรุปผลและนาเสนอข้อมูล
การเรียนรูช้ มุ ชนสู่การวินิจฉยั ชมุ ชน วิเคราะ หข์ อ้ มูล การศึกษาชมุ ชน รวบรวมขอ้ มูล ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน วินิจฉยั ปัญหา ดาเนินงานตาม วางแผนปฏิบตั ิการ จดั ลาดบั ความ แผน สาคญั ของ ปัญหา
การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community Diagnosis) • เพอื่ ทีจ่ ะทราบว่า อะไรคือปัญหาสุขภาพ ทีส่ าคญั ของชุมชน ทีจ่ ะทาการ แกไ้ ขปัญหา และอะไรคือสาเหตุของปัญหาน้นั ๆ • เพอื่ กาหนดและเลอื กปัญหาสุขภาพชมุ ชน และนามา จดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา • เพอื่ ประโยชนใ์ นการจดั สรรทรพั ยากร เพอื่ แกป้ ัญหาตามความจาเป็ น รีบด่วน ตามกาลงั ทรพั ยากรทีจ่ ะอานวย • การระบุปัญหาทีเ่ หมาะสมและสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งของคนในชุมชน จะทาใหช้ ุมชนยอมรบั และมสี ่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมเพอื่ แกป้ ัญหาสุขภาพชมุ ชน
การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community diagnosis) • ปัญหาบางปัญหาทีไ่ ดจ้ ากการสารวจ วิเคราะหโ์ ดยนกั สาธารณสุข (หรือบางคร้งั มี อสม. ร่วมดว้ ย) อาจไม่ใช่ปัญหาทีส่ าคญั ทีส่ ดุ ทีช่ ุมชน ตอ้ งการแกไ้ ข ----> ปัญหาของเรา ไม่ใช่ของชมุ ชน • ข้นั ตอนการวินิจฉยั ชุมชน จาเป็ นตอ้ งมีการนาเสนอขอ้ มูลทีเ่ ก็บรวบรวม ได้ ต่อชมุ ชน เสมอ เพอื่ ใหผ้ ูเ้ ขา้ ร่วมประชมุ เขา้ ใจบริบทของชุมชนเหมอื นๆ กนั เพอื่ ยนื ยนั ความถูกตอ้ งของขอ้ มูล เพอื่ รบั ฟังความคิดเห็นของคนในชมุ ชนต่อขอ้ มูลที่ได้
การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community diagnosis) ข้นั ตอนการวินจิ ฉยั ปัญหาสขุ ภาพชมุ ชน 1. การระบุปัญหาสขุ ภาพชมุ ชน (Identify problem) 2. การจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา (priority setting) 3. การศึกษาสาเหตุของปัญหา(web of causation)
การระบุปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Identify problem) เป็ นการนาขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากการวิเคราะหม์ าเปรียบเทียบกบั สิง่ ใดสิง่ หนงึ่ หรือค่ามาตรฐานทีส่ งั คมยอมรบั ปัญหา = (สิง่ ทีค่ วรเป็ น – สิง่ ทีเ่ ป็ นอยู่) X ความกงั วลห่วงใย ปัญหาสุขภาพชมุ ชน หมายถงึ สภาวะทีเ่ กิดข้ ึนแลว้ มผี ลต่อ สุขภาพอนามยั ของชมุ ชนโดยส่วนรวม แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ปัญหาความเจ็บป่ วยหรือโรค (Diseases) ปัญหาสภาพการณ์ (Conditions)
การระบุปัญหาสขุ ภาพชมุ ชน (Identify problem) ปัญหาความเจ็บป่ วยหรือโรค (Diseases) เช่น o โรคติดต่อ เช่น ไขเ้ ลือดออก อจุ จาระร่วง ไขห้ วดั ใหญ่ วณั โรค เอดส์ ฯลฯ o โรคไม่ติดต่อ เช่น เบาหวาน ความดนั โลหิตสูง หวั ใจและหลอดเลือด มะเร็ง อบุ ตั ิเหตุจราจร ฯลฯ ขอ้ มลู ปัญหาความเจ็บป่ วยของชมุ ชนไดม้ าจากสถานบริการ เช่น โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบล โรงพยาบาลชมุ ชน โรงพยาบาลทัว่ ไป โรงพยาบาลศนู ย์ หรือ อาจจะไดจ้ ากการสัมภาษณ/์ สารวจขอ้ มลู จากประชาชนในชมุ ชนก็ได้
การระบุปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Identify problem) ปัญหาสภาพการณ์ (Conditions) ซึ่งเป็ นอุปสรรคต่อการพฒั นาสุขภาพ หรือทาใหเ้ กิดโรค แบ่งเป็ น 3 ประเภท o การขาดแคลนบริการ/ทรพั ยากรสุขภาพ ทาใหไ้ ม่สามารถเขา้ ถงึ บริการสุขภาพ o พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น ขาดการออกกาลงั กาย ดืม่ แอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ บริโภคอาหารทีม่ ีน้าตาล/ไขมนั สูง ฯลฯ o สิง่ แวดลอ้ มในชมุ ชนไม่เหมาะสม เช่น น้าดืม่ /น้าใชไ้ ม่สะอาด ขยะ น้าเสีย ฯลฯ ขอ้ มลู ปัญหาสภาพการณไ์ ดจ้ ากการสารวจ สมั ภาษณป์ ระชาชนในชุมชน
การระบุปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Identify problem) วิธีการระบุปัญหาสุขภาพชมุ ชน 1. ใชห้ ลกั 5 D (Death, Disability, Disease, Discomfort, Dissatisfaction) 2. เปรียบเทียบกบั เกณฑห์ รือค่ามาตรฐานสากล 3. ใชก้ ระบวนการกล่มุ
การะบุปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Identify problem) วิธีการระบุปัญหาสขุ ภาพชมุ ชน : ใชก้ ระบวนการกล่มุ เป็ นการใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วมในการตดั สินใจดว้ ยตนเองว่า อะไร เป็ นปัญหาอนามยั ชุมชน เป็ นการแสดงใหเ้ ห็นถงึ การรบั รูข้ องชมุ ชนต่อ ปัญหา ผูด้ าเนนิ งานจะตอ้ งนาเสนอขอ้ มูลที่ผ่านการวิเคราะหแ์ ลว้ ท้งั ในเชิง ปริมาณและคุณภาพใหช้ ุมชนทราบก่อน พรอ้ มท้งั เปิ ดอภิปรายถึงผลดี ผลเสียที่มีผลต่อสุขภาพ หลงั จากน้นั จึงใหป้ ระชาชนลงความเห็นว่า ขอ้ ใด สมควรเป็ นปัญหาอนามยั ชมุ ชน
การจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา ปัญหาสุขภาพชมุ ชนมหี ลายปัญหา แต่ ไม่สามารถแกป้ ัญหา ท้งั หมดพรอ้ มกนั ในเวลาเดียวกนั เนอื่ งจากขอ้ จากดั เรือ่ ง เวลา งบประมาณ กาลงั คน ฯลฯ บุคคลทีเ่ ขา้ ร่วมควรมีความรู้ มีประสบการณ์ และมีความ สามารถในการมองเห็นปัญหา เช่น เจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสุข และ บุคคลในชมุ ชน
การจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา วิธีการจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา 1. วิธขี ององคก์ ารอนามัยโลก (World Health Organization, WHO) 2. วิธขี อง John J. Hallon 3. วิธขี องกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย 4. วธิ ขี องคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล 5. วิธใี ช้กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Technique)
กระบวนการพฒั นาสาธารณสุข การศึกษาชมุ ชน รวบรวมขอ้ มูล วิเคราะ หข์ อ้ มูล ประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน วินิจฉยั ปัญหา ดาเนนิ งานตาม วางแผนปฏิบตั ิการ จดั ลาดบั ความ แผน สาคญั ของ ปัญหา
การมีส่วนร่วมของชมุ ชน
เครือ่ งมือและเทคนคิ การทางานแบบมีส่วนร่วมของชมุ ชน • การประชุมแบบมสี ่วนร่วม (Appreciation Influence Control : AIC) • การประชมุ เพอื่ แสวงหาอนาคตร่วม (Future Search Conference : FSC) • การวิเคราะหจ์ ุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส ขอ้ จากดั (SWOT) • กระบวนการเรียนรูแ้ บบมสี ่วนร่วม (Participatory Learning) • ฯลฯ
การประชมุ แบบมีส่วนร่วม (Appreciation Influence Control : AIC) • ต้งั อยู่บนพ้ืนฐานความพึงพอใจ และมีจุดมุ่งหมายเดียวกนั ในอนั ท่จี ะสร้างสรรค์ และจัดการร่วมกนั • แบ่งเป็น 3 ข้นั ตอน คอื - ข้นั ตอนความพึงพอใจ หรือ Appreciation (A) - ข้นั ตอนกลวธิ ที ที ่มี อี ทิ ธพิ ลต่อความสาเรจ็ หรือ Influence (I) - ข้นั ตอนการควบคุม หรือ Control (C)
กระบวนการ AIC สู่การปฏิบตั ิ • ข้นั ตอนการสรา้ งความรู้ (Appreciation : A) A1 : การวิเคราะห์สภาพการของหมู่บ้าน ชุมชน ตาบล ในปัจจุบนั A2 : การกาหนดอนาคตหรือวิสยั ทศั น์ อนั เป็นภาพพึงประสงค์ใน การพัฒนาว่าต้องการอย่างไร • ข้นั ตอนการสรา้ งแนวทางการพฒั นา (Influence : I) I1 : การคิดกจิ กรรมโครงการท่จี ะทาให้บรรลุวัตถุประสงค์ตาม ภาพท่พี ึงประสงค์ I2 : การจัดลาดบั ความสาคัญของกจิ กรรมโครงการทาเองได้ บางส่วนต้องการความร่วมมอื /การสนบั สนุนจากหน่วยงาน ไม่สามารถทาเองได้ ต้องขอความร่วมมอื
• ข้นั ตอนการสรา้ งแนวทางปฏิบตั ิ (Control : C) C1 : การแบ่งความรับผดิ ชอบ C2 : การตกลงในรายละเอยี ดการดาเนินงานจัดทา แผนปฏบิ ัติ
การประชมุ เพอื่ แสวงหาอนาคตร่วมกนั (Future Search Conference : FSC) ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบหลกั 3 ส่วน ไดแ้ ก่ 1. การวิเคราะห์เหตุการณ์ในอดีต เพ่ือเช่ือมโยงกบั สภาพการณแ์ ละแนวโน้ม ในปัจจุบนั 2. การวิเคราะห์และสงั เคราะห์สภาพการณ์ปัจจุบันเพ่ือความเข้าใจในทศิ ทาง และปัจจัยท่มี อี ทิ ธพิ ลในประเดน็ หลักของการประชุม 3. การสร้างจนิ ตนาการถงึ อนาคตท่พี ึงปารถนาในประเดน็ หลักของการ ประชุม เพ่ือร่วมกนั กาหนดความคิดเหน็ ร่วมและสร้างแผนปฏบิ ัตกิ ารไปสู่ อนาคตร่วมกนั
กระบวนการ F.S.C.
การเรียนรูแ้ บบมสี ่วนร่วมเพอื่ การพฒั นาสาธารณสุข (Participatory Learning for Health Development) มขี ้นั ตอน 5 ข้นั ตอน ดงั น้ ี 1. การศึกษาชมุ ชน 2. ระบุปัญหาสาธารณสุขและจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา 3. จดั ทาแผนปฏิบตั ิการและจดั ทาประชาคม 4. ดาเนนิ การตามแผน / โครงการ 5. ประเมินโครงการ
การศึกษาชมุ ชน • เพอื่ ใหเ้ กิดความรูค้ วามเขา้ ใจเบ้ อื งตน้ เกีย่ วกบั สภาพชมุ ชนท้งั เชิงกายภาพ สงั คมและวฒั นธรรม และทีส่ าคญั คือการเลือก กล่มุ ผูม้ ีส่วนเสีย (Stakeholder) ในชมุ ชนเพอื่ เชิญเขา้ สู่ กระบวนการเรียนรูส้ ถานการณด์ า้ นสาธารณสุขของชมุ ชน ร่วมกนั
ข้นั ตอน • สภาพโดยทวั่ ไปของชมุ ชนเป็ นอย่างไร ท้งั ในแง่ กายภาพ ประชากร เศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม และแหล่งประโยชนต์ ่างๆ • โดยใชก้ รอบแนวคิดทางวิทยาการระบาด นเิ วศวิทยา สงั คมวิทยา – วฒั นธรรมสุขภาพ มีปัจจยั เสยี่ งหรือ ภาวะเสีย่ งใดบา้ งในชมุ ชน
ข้นั ตอน • จากการสงั เกต ประกอบกบั ขอ้ มูลจากแหล่งต่างๆ จะ สามารถสรา้ งจินตภาพสถานการณป์ ัญหา (Problem Scenario) สาธารณสุขของชมุ ชนไดเ้ ป็ นอย่างไร มใี คร จะถูกผลกระทบจากสถานการณเ์ หล่าน้นั บา้ ง • ในบรรดาผูท้ ีถ่ ูกกระทบ โดยสถานการณป์ ัญหา สาธารณสุขเท่าทีป่ ระเมนิ ไดน้ ้นั มใี ครบา้ งควรจะไดเ้ ชิญ มาร่วมในกระบวนการระดมความคิด เช่น กลุ่มผูส้ ูงอายุ กลุ่มเยาวชน กลุ่มสตรีฯลฯ
เครือ่ งมอื ศึกษาชมุ ชน นพ.โกมาตร จงึ เสถยี รทรัพย์ 1 แผนทีเ่ ดินดิน 2 ผงั เครือญาติ 3 โครงสรา้ งองคก์ รชมุ ชน 4 ระบบสุขภาพชุมชน 5 ปฏิทินชมุ ชน 6 ประวตั ิศาสตรช์ มุ ชน 7 ประวตั ิชีวิต
1 แผนที่เดินดิน สาคญั ที่สดุ เพราะ…. รูจ้ กั โลกของชาวบา้ น เห็นภาพรวม/เป้ าหมาย ไดข้ อ้ มูลมาก/เร็ว/เชื่อถอื ได้ ไดค้ วามสมั พนั ธ/์ คุน้ เคย • เดนิ ทวั่ ท้งั ชมุ ชน / ดูดว้ ยตาตนเองทุกบา้ น • เห็นพ้ นื ที่ทางกายภาพ / เขา้ ใจพ้ นื ที่ทางสงั คม
แผนที่นงั่ โตะ๊ แผนทีเ่ ดนิ ดนิ
2. ผงั เครือญาติ ความสัมพนั ธ์รากฐานของชีวติ 2 TB 1 2 DM 1 34 ปรียา ทางาน HIV HIV? 1 2 3 ไตห้ วนั DHF ก.ค. 44 = หญิง = ชาย แต่งงาน มีลูก อยู่ร่วมกนั หย่า (42) = อายุ 1 2= ตาย ลาดบั ท่ี = ผู้ให้ข้อมูล ไม่ถูกกนั
3 โครงสรา้ งองคก์ รชมุ ชน จะนา กลุ่มสานเส่ือ, ทา บงั ส้นั กลว้ ยฉาบ อูเส็ง จะสาว มะเหนีย กลุ่มผนู้ าทางการ บงั ทอง (อสม) ภรรยา มะสร้อย ดารง (อสม) บงั โอบ (อบต.) บงั ดงึ๋ จะซ้อ สาแหละ ผญบ. อสั รี บงั สัก บงั หลน กอเฉม ผงั โครงสร้าง นอ้ งชาย กลุ่มผู้นาไม่เป็ นทางการ องค์กรชุมชน ปะหยดี กอดาด
4 ระบบสุขภาพชุมชน การPดOูแลPตUนLAเอRงขSอEงCภTาOคRประชาชน การแพทย์พืน้ บ้าน การแพทย์ภาควชิ าชีพ FOLK SECTOR PROFESSIONAL SECTOR พหุลกั ษณ์ทางการแพทย์ ความหลากหลายของระบบสุขภาพ
Mind Mapping ระบบสุขภาพชุมชน
5 ปฏิทินชมุ ชน การเข้าใจชีวติ เป็ น รากฐานบริการ สุขภาพเชิงรุก
6 ประวตั ิศาสตรช์ มุ ชน เศรษฐกิจ สงั คม การเมือง สาธารณสุข
7 ประวตั ิชีวิต คนจน คนทุกข์ คนป่ วย หมอบา้ น คนเฒ่าคนแก่ ผูน้ าทางการ/ธรรมชาติ เรียนรูค้ วามเป็ นมนุษยจ์ ากชีวิต
กจิ กรรมวาดภาพทีพ่ ึงปรารถนาของชมุ ชน
การมีส่วนร่วมของชมุ ชน
แลกเปลย่ี นความคดิ เห็น
Search
Read the Text Version
- 1 - 44
Pages: