Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2564 SARโรงเรียนนาบอน

2564 SARโรงเรียนนาบอน

Published by รร.นาบอน สพม.นศ, 2022-08-11 05:48:01

Description: 2564 SARโรงเรียนนาบอน

Search

Read the Text Version

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) โรงเรียนนาบอน ประจำป ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษานครศรธี รรมราช สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ก - คำนำ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ และมาตรา ๔๗ วรรคสอง แหง พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และกฎกระทรวงการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ เพื่อใหการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพใหหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานท่ีกำกบั ดูแลสถานศกึ ษา ใหคำปรึกษา ชวยเหลือและแนะนำสถานศึกษา เพื่อใหการประกันคุณภาพการศึกษาพัฒนาอยาง ตอเนื่อง ไดรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาใหหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่ กำกับดูแลสถานศึกษาทราบและใชเปนขอมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก การ ติดตามตรวจสอบ พรอมใหขอเสนอแนะใหแกสถานศึกษา เพื่อใชเปนแนวทางในการปรับปรุงและ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาตอไป เอกสารรายงานผลการประเมนิ ตนเอง ประจำปก ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ของโรงเรยี นนาบอนเลม น้ี เปนเอกสารงานพัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ไดรวบรวมและสรุปผลการดำเนิน การพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา เพอื่ การรับรองมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียน นาบอน และใชเปนแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ตอ ไป ขอขอบพระคณุ ผทู มี่ ีสว นเก่ยี วขอ งทุกทา นท่ไี ดด ำเนนิ การจดั ทำรายงานการประเมินตนเอง ประจำปการศกึ ษา ๒๕๖๔ จนสำเร็จลุลว งเปนอยางดี ผอู ำนวยการโรงเรียนนาบอน

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ข - สารบญั หนา เรอ่ื ง ก คำนำ ข สารบญั ๑ สวนท่ี ๑ บทสรปุ สำหรับผบู รหิ าร ๕ สวนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ๙ ๙ ขอมลู ทว่ั ไปของสถานศึกษา ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ๑๗ ๒๒ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู รยี น ๓๐ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน ผเู รียนเปนสำคญั ภาคผนวก ประกาศมาตรฐาน และเปาหมายของสถานศึกษา เกียรตบิ ัตร รางวลั

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๑ - สวนท่ี ๑ บทสรุปสำหรับผูบรหิ าร โรงเรยี นนาบอน ไดดำเนินงานจัดการศึกษาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางตอเน่ืองจนถึงปจจุบัน และไดดำเนินงานตามกฎกระทรวง การประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ ดังน้ี ๑. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนนาบอนใหสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาชาติ และ มาตรฐานการศึกษาของตนสังกัด สอดคลองกับสภาพบริบท ปญหา ความตองการโดยเนนการมีสวนรวมทกุ ภาคสวน ชุมชนและคณะกรรมการสถานศึกษา โดยจัดใหมีการประชุมครู เพื่อสรางความรู ความเขาใจใน มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน และมีสวนรวมในการกำหนดเปาหมายความสำเร็จในแตละ มาตรฐาน เพอ่ื ให ครทู ุกคนนำไปวางแผนพัฒนา ๒. การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปให สอดคลอ งกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยไดด ำเนินการประชมุ บุคลากรผูมีสว นเก่ียวของกับการ พัฒนาสถานศึกษา ใหเขามารวมคิด รวมจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ ๔ ป ดวยกระบวนการ วิเคราะหบริบทของสถานศึกษา (SWOT Analysis) เพื่อชวยกันกำหนดวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย เงื่อนไข และภาพแหงความสำเร็จของสถานศึกษา โดยนำมาตรฐาน ตัวชี้วัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษามา กำหนดตัวชี้วัดในการพัฒนา นำเสนอแผนพัฒนาการจัดการศึกษาตอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพอื่ ใหความเห็นชอบ และใชเปนแนวทางในการจัดทำแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำป ๓. ครูและบุคลากรทุกฝายปฏิบตั ิงาน โครงการและกิจกรรมตาง ๆ ตามแผนปฏิบัติการประจำปและ จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานในแตละโครงการ/กิจกรรม เสนอใหผูบริหารทราบ เพื่อใชเปนขอมูลใน การปรับปรงุ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาตอ ไป ๔. จัดใหมีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนด ผูรับผิดชอบและวิธีการที่เหมาะสม ติดตามผลการดำเนินการ เพื่อพัฒนาสถานศึกษาใหมีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษา และนำผลการติดตามไปใชป ระโยชนใ นการปรับปรุงพฒั นา จดั ทำรายงานผลการประเมิน ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา นำเสนอตอคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใหความเห็นชอบและสงตอสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นครศรีธรรมราชเปนประจำทุกป พัฒนาสถานศึกษาใหมีคุณภาพ โดยพิจารณาจากรายงานผลการประเมนิ ตนเอง และจากคำแนะนำของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน หรอื สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา เพ่อื ให การประกนั คณุ ภาพการศึกษาเปนไปอยางมีประสทิ ธิภาพและพัฒนาอยางตอเนื่อง สถานศึกษาใหค วามรวมมือ และปฏิบัติตามขอเสนอแนะของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ใน การประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา เพื่อนำไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ปฏิบัติงาน โครงการและกิจกรรมตาง ๆ ตามแผนปฏิบัติการประจำปและจัดทำ รายงานสรุปผลการดำเนินงานในแตละโครงการ/กิจกรรม เพื่อใชเปนขอมูลในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของโรงเรยี นตอไป ๔. จัดใหม กี จิ กรรม PLC ในโรงเรียนทกุ สปั ดาห เพื่อตดิ ตาม ประเมินผล กจิ กรรมและงานของทุกฝา ย ๕. จัดอบรมครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาตนเองและกจิ กรรมการเรยี นการสอน ๖. จัดทำรายงานผลการประเมินตนเองตอหนวยงานตนสังกัดและนำมาพัฒนาคุณภาพการ จดั การศึกษา

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๒ - ผลการดำเนินงาน ๑. มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยรวม : อยใู นระดบั ดี ผลการดำเนนิ งาน การจัดการศกึ ษา มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอยู ในระดับ ดี จากการประเมินผลการปฏิบัติงาน ปการศึกษา ๒๕๖๔ ซึ่งมาตรฐานสถานศึกษาสอดคลองตาม มาตรฐานระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ.๒๕๖๑ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารท้ัง ๓ มาตรฐาน คือ คณุ ภาพผเู รียน โรงเรียนจัดการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จัด กระบวนการเรยี นรูดว ยวธิ กี ารที่หลากหลาย สง เสรมิ และพฒั นานกั เรียนอยางเต็มศักยภาพ นักเรียนมีทักษะ ในการอาน การฟง พูด เขียน การคำนวณและทำงานเปนทีม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรูและ แกปญหาดวยกัน รูจักเลือกและใชเทคโนโลยีในการเรียนรูและนำเสนอผลงาน มีทักษะพื้นฐาน มีความรู เกีย่ วกับอาชพี ตา ง ๆ และอาชีพที่ตนสนใจ ตลอดจนมีความรูสึกทด่ี ีตอ อาชพี สุจริต นักเรียนรูจักวางแผนการ ทำงาน รจู ักสรางผลงานจากการเขารวมกิจกรรมนาบอนบาติก อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู สกู ารนอมนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงและจากกจิ กรรมการเรียนวิชาตาง ๆ พัฒนางานและดำเนินการจนสำเร็จ ภูมิใจในผลงานของตนเอง นักเรียนมีคุณลักษณะและคานิยมที่ดี มีคุณธรรม มีมนุษยสัมพันธที่ดี มีความ ภมู ใิ จในทองถน่ิ และความเปนไทย ยอมรบั ที่จะอยรู ว มกันบนความแตกตางและความหลากหลาย มีความเปน ประชาธิปไตยในสถานศึกษา มีน้ำหนัก สวนสูง และมสี มรรถภาพทางกายตามเกณฑมาตรฐาน รวมท้ังผูเ รยี น มีทักษะพื้นฐานทางดานกีฬา ดนตรีและนาฏศิลปและมีจิตสาธารณะโดยการทำกิจกรรมเพื่อสังคม สงผลให นักเรยี นเปนคนดี คนเกงและมคี วามสขุ ไดรับรางวัลจากการแขงขนั ทกั ษะทางวิชาการจากหนว ยงานตา ง ๆ กระบวนการบริหารและการจดั การ กระบวนการบริหารและการจัดการการศึกษาของโรงเรียนนาบอน ใชรูปแบบบริหารงานวงจร คุณภาพ (PDCA) โดยมีการกำหนดเปาหมาย วิสัยทัศนและพันธกิจอยางชัดเจน สอดคลองกับความตองการ ของชุมชน ทอ งถน่ิ ตามบริบทของสถานศึกษา จดั ทำแผนพัฒนาการศึกษาของโรงเรยี น ตามวตั ถุประสงคของ แผนการศึกษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและตนสังกัด มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและปรับปรุง พัฒนางานอยา งตอเนื่อง การบรหิ ารทรพั ยากรซ่ึงมีอยอู ยางจำกัดดวยความโปรง ใส วางแผนการจดั อัตรากำลัง วางระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนและจัดระบบการนิเทศภายใน จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ สนับสนุนการบริหารจัดการ นำขอมูลมาใชในการพัฒนา โดยบุคลากรทุกฝายมีสวนรวมในการวางแผน ดำเนินงาน ปรับปรุง พัฒนาและรับผิดชอบรวมกนั มีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนน คณุ ภาพของผูเรียน รอบดานตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาและทกุ กลุมเปาหมาย โรงเรียนจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอการจัดการเรียนรูอยางมีคุณภาพ กลาวคือ โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดลอมโดยรอบอาคารเรียนใหมีความสะอาดและมีบรรยากาศรมรื่น หอ งเรยี นและหอ งปฏบิ ตั ิการตาง ๆ มีความสะอาด ปลอดภยั และเพียงพอกับจำนวนนกั เรียน มีการจัดระบบ สาธารณูปโภคตาง ๆ และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศแกนักเรียน องคกรจากภายนอกใหการสนบั สนุน เชน องคการบริหารสวนตำบลแกวแสน สถานีตำรวจนาบอน สาธารณสุขอำเภอนาบอน โรงพยาบาลนาบอน สภากาชาดไทย และโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลแกวแสน เปนตน ครูและบคุ ลากรมีความพรอมในการ ใชงาน การบริหารจดั การและเอ้ือตอการจดั กิจกรรมการเรียนรูของนกั เรียน ตลอดจนสง เสริมใหผ เู รยี นทุกคน มคี วามรู ทักษะพ้ืนฐานและเจตคตทิ ีด่ ีตอ งานอาชีพ โดยการจัดกิจกรรมชุมนมุ เขียนผา บาติกใหก บั นักเรียนกลุม สนใจ ตั้งแตระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๖ เปดสอนสาระเพิ่มเติมในรายวิชาการเขียนผาบาติก ๑-๓ ใน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ , ๔ และ ๕ รวมทั้งโครงการ ๑ โรงเรียน ๑ อาชีพ : นาบอนบาติก เพื่อสนับสนุน การบรหิ ารจัดการและการเรยี นรูทีเ่ หมาะสมกับสภาพของโรงเรียนนาบอน

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๓ - สงเสริมใหครูไดรับการพัฒนาใหมีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพครู โดยจัดใหครูเขารวมการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน ตลอดจนจัดใหมีการพัฒนางานผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพครู (PLC) ใน โรงเรียน เปดโอกาสใหบุคลากรไดแลกเปลี่ยนเรียนรูในทางวิชาชีพ เพื่อนำมาพัฒนางานและพัฒนาผูเรียน สนับสนนุ การบริหารจดั การ และการจัดการเรยี นรูที่เหมาะสมกบั สภาพโรงเรยี น จัดหา พัฒนาและบริการดาน เทคโนโลยีสารสนเทศ จัดใหมีหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรเพื่อใชในการบริหารจดั การและการจัดการเรียนรู อยา งเหมาะสม กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน ผเู รียนเปนสำคัญ โรงเรียนนาบอนมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของสถานศึกษา โดยการดำเนินงานโครงการและกิจกรรมอยางหลากหลาย เปดโอกาสผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรู มีการ นิเทศภายในเพ่ือมุงสงเสรมิ ใหครจู ัดการเรียนการสอนท่ีเนนการปฏิบัติ (Active Learning) เพื่อใหผูเรียนผาน กระบวนการคิด ปฏิบัติจริง จนนำไปสูการเรียนรูทีล่ ึกซ้ึงและคงทน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร สถานศึกษา ครรู ูจักผูเ รยี นเปนรายบุคคล ดำเนินการตรวจสอบและประเมนิ ผูเรยี นอยางเปนระบบและนำผล มาพฒั นาผูเรยี น รวมทัง้ รว มกันแลกเปล่ยี นเรียนรู และนำผลที่ไดม าปรับปรงุ การจัดการเรียนรู ครูมีแผนการ จัดการเรยี นรทู ส่ี ามารถนำไปใชไดจริง ครูใชสื่อและแหลง เรียนรู มกี ารบรหิ ารจดั การชัน้ เรียนเชิงบวก เพื่อให เด็กรักการเรียนรูและเรียนรูรวมกันอยางมีความสุข ครูรวมแลกเปลี่ยนเรียนรูและนำขอมูลมารวมพัฒนา ปรับปรุงการจัดการเรียนรู รวมกันออกแบบการวัดผลประเมินผล เพื่อตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางมี ขั้นตอน ใชเครื่องมือ วิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม พรอมทั้งนำผลไปใชพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน ครูผูสอนรวมกันแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณโดยใชกระบวนการ PLC เปนชุมชนแหงการเรียนรูทาง วิชาชีพ และนำไปปรับปรุงหรือพฒั นาการจัดการเรยี นรู ๒. หลักฐานสนบั สนนุ ๒.๑ รางวัลผอู ำนวยการสถานศึกษายอดเยยี่ ม ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สงเสริมการใช นวัตกรรม PLC ดานนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การเรยี นการสอน จากสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ขน้ั พนื้ ฐาน เมอ่ื วนั ท่ี ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒.๒ รางวัลครูผูจัดการเรียนการสอนออนไลนในสถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ภายใตแนวคิด “สอนดี เห็นผล คนช่ืนชม” ประเภทครผู สู อนมัธยมศึกษาตอนปลายระดับ เขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช ปการศึกษา ๒๕๖๔ จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นครศรธี รรมราช เมอื่ วนั ที่ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ จำนวน ๖ รางวัล ๒.๓ รางวัลครูผูจัดการเรียนการสอนออนไลนในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ภายใตแนวคดิ “สอนดี เห็นผล คนชืน่ ชม” ประเภทครผู สู อนมธั ยมศึกษาตอนปลายระดับ เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษานครศรธี รรมราช ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๔ แบบคลปิ สั้น ๕ นาที เมือ่ วันท่ี ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ จำนวน ๒ รางวัล ๒.๔ รางวัลครูผูสอนยอดเยี่ยม“ครูผูมีจิตวิญญาณความเปนครู”ปการศึกษา ๒๕๖๔ จาก สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ จำนวน ๓ รางวลั

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๔ - ๓. กลยุทธส ถานศกึ ษา (Strategy) กลยุทธที่ ๑ ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม และจิตสานึกในความเปนไทย และวิถีชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กลยุทธท่ี ๒ พัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาใหมีความหลากหลาย ยืดหยุน เนนการบูรณาการการ เรียนรูและการดำรงชวี ิต กลยุทธท ่ี ๓ พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา กลยุทธท่ี ๔ การพัฒนาระบบบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล โดยใชเ ทคโนโลยี สารสนเทศ กลยุทธที่ ๕ สรางโอกาสทางการศึกษาอยา งเสมอภาค ใหเตม็ ศกั ยภาพ จุดเนนสถานศกึ ษา “ เด็ก คือ ทรัพยากรบุคคลอันทรงคุณคายิ่ง ทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาได ” อุดมการณ ของโรงเรียนนาบอน “ นักเรียนที่เรียนดีและประพฤติดีอยูแลว ควรสงเสริมใหดียิ่งขึ้น นักเรียนที่ขาดความรู ประสบการณ ขาดทักษะ สรางปญหาใหตนเองและสังคม ขาดความรบั ผดิ ชอบและรับเอาเยยี่ งอยา งทไ่ี มด ี น่ีคือภารกิจของเราทจี่ ะตองรวมมอื กนั พัฒนาเขาเหลาน้ันไปไวในวถิ ีที่สงั คมตองการ ” โรงเรียนนาบอนจึงมงุ มั่นสรา งคุณลกั ษณะในตัวนกั เรียนใหเ กิดคุณลกั ษณะ ๕ ประการ คอื ๑. การเรยี นดี ๒. กีฬาเดน ๓. ทำงานเปน ๔. เนน คุณธรรม ๕. นำชุมชน คา นิยมองคก ร (Core Value) โรงเรียนมอี ุดมการณในการจัดการศึกษาและเปาหมายในการพัฒนาคนตามปรัชญา ทว่ี า “ CHILDREN ARE PRECIOUS THEY CAN LEARN AND DEVELOP ” “ เด็ก คอื ทรัพยากรบุคคลอนั ทรงคณุ คา ทุกคนสามารถเรียนรแู ละพัฒนาได ” คำขวัญ “เรียนดี กฬี าเดน ทำงานเปน เนน คุณธรรม นำชมุ ชน ”

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๕ - สวนท่ี ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ขอ มลู พ้นื ฐาน ๑.๑ ขอ มูลท่ัวไป ชอ่ื โรงเรียนนาบอน ตัง้ อยเู ลขท่ี ๗/๑ หมทู ี่ ๒ ตำบลแกว แสน อำเภอนาบอน จังหวดั นครศรีธรรมราช รหสั ไปรษณีย ๘๐๒๒๐ สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช โทร. ๐๗๕-๔๙๑๔๗๕ โทรสาร ๐๗๕-๔๙๑๑๒๒ e-mail : [email protected] website : http://www.nbs.ac.th เปด สอนตั้งแตระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ ถึงระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี ๖ เนื้อที่ ๔๘ ไร ๑ งาน ๕๔ ตารางวา เขตพื้นทีบ่ ริการ ตำบลแกวแสนทกุ หมูบ าน ตำบลทงุ สง หมูท่ี ๑, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๐ และตำบลนาบอน หมูที่ ๒, ๓, ๖, ๗, ๘, ๑๑ ขอมลู ผูบริหาร ครู และบุคลากรโรงเรียนนาบอน ผูอ ำนวยการโรงเรยี น นายวิชัย ราชธานี วุฒิการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การบริหารการศึกษา โทรศพั ท ๐๘๗-๓๘๑๔๕๑๑ E-mail : [email protected] รองผอู ำนวยการโรงเรียน นายสมพงษ ศรีจันทร วุฒิการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การบริหาร การศึกษา โทรศัพท ๐๘๖-๗๔๑๔๓๗๖ e-mail : [email protected] บริหารกลุมบริหารงานบุคคล งบประมาณ และกลมุ บรหิ ารงานทว่ั ไป นายกันตพงษ ดำรักษ วุฒิการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การบริหาร การศกึ ษา ( ศศ.ม) โทรศพั ท ๐๙๓-๖๕๖๖๔๑๗ e-mail damrakwichit [email protected] บรหิ ารกลุมบริหาร วิชาการ ตารางท่ี ๑ แสดงขอ มูลผูบริหาร ครู และบคุ ลากรโรงเรยี นนาบอน ประเภท/ตำแหนง เพศ วุฒิทางการศึกษา อันดบั คศ. รวม ชาย หญิง ป. ป. ป. ครู คศ. คศ. ๓ ตรี โท เอก ผูชวย ๑๒ ๑๑ ผบู ริหาร -- ๒๒ ผูอ ำนวยการสถานศกึ ษา ๑ - -๑- - -- ๓๓ รองผูอำนวยการสถานศึกษา ๒ - -๒- - -- ๑๕ รวม ๓ - - ๓ - - -๔ ๕๗ ขา ราชการครแู บงตามกลมุ สาระการเรียนรู ๑๑ ๓๘ ภาษาไทย ๑ ๔ ๓๒ - - ๓๒ ๒๗ คณิตศาสตร ๑ ๖ ๓๔ - - ๑๓ -๓ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๓ ๕ ๖๒ - - ๑๑ ๒๔ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑ ๖ ๕ ๒ - ๑ -๒ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๓ - ๓- - ๑ ศลิ ปะ ๓ ๑ ๓ ๑ - -

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๖ - ประเภท/ตำแหนง เพศ วุฒิทางการศึกษา อนั ดับ คศ. รวม การงานอาชพี ชาย หญิง ป. ป. ป. ครู คศ. คศ. ๓ ภาษาตา งประเทศ ๑๒ -๓ แนะแนว ตรี โท เอก ผูชว ย ๑๒ ๓๕ รวม ๑ ๒ ๒๑ - - -๑ -๑ ครอู ัตราจา ง และลกู จางประจำ - ๕ ๒๓ - ๑ ๑- ๑๖ ๔๓ ครผู สู อน - ๑๑- - - ๘ ๑๖ ครูชาวตา งชาติ ๑๓ ๓๐ ๒๘ ๑๕ - ๓ พนักงานขบั รถ พนักงานธุรการ ๒ ๓ ๔๑ - - - - - ๕ ลกู จางประจำ ๒ - ๒- - - - - - ๒ รวม - - --- - - -- - รวมทั้งส้ิน - ๑๑- - - - - - ๑ ๑- --- - - --๑ ๕ ๔ ๗๑ - - - - - ๙ ๒๑ ๓๔ ๓๕ ๑๙ - ๓ ๘ ๑๖ ๑๙ ๕๕ ขอ มูลนักเรยี น (ณ วันท่ี ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๔) ระดับชั้นท่ีเปดสอน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ ถึงระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี ๖ จำนวนนักเรียนรวม ๙๒๒ คน จำแนกเปน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ๕๔๙ คน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๓๗๓ คน ตารางที่ ๒ แสดงจำนวนนกั เรยี น รวม เพศ หอง ระดับชั้นเรียน ชาย หญิง ๑๙๗ ๑๐๕ ๙๒ ๕ มธั ยมศึกษาปที่ ๑ ๑๙๕ ๙๑ ๑๐๔ ๕ มัธยมศึกษาปท ่ี ๒ ๑๕๗ ๖๕ ๙๒ ๕ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๓ ๕๔๙ ๒๖๐ ๒๘๘ ๑๕ รวมมัธยมศกึ ษาตอนตน ๑๓๕ ๕๗ ๗๘ ๔ มธั ยมศึกษาปท ี่ ๔ ๑๒๔ ๔๘ ๗๖ ๔ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๕ ๑๑๔ ๓๘ ๗๖ ๔ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๖ ๓๗๓ ๑๔๑ ๒๓๐ ๑๒ รวมมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๙๒๒ ๔๐๔ ๕๑๘ ๒๗ รวมทงั้ สิน้

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๗ - ขอมลู อาคารสถานท่ี ตารางท่ี ๓ แสดงอาคารเรียน/อาคารประกอบ ลำดับท่ี อาคารเรียน / อาคารประกอบ จำนวนหลัง จำนวนหนวย ๑ อาคารเรียนแบบ ๐๐๔ ๑ ๔ หองเรยี น ๒ อาคารเรียนแบบ ๒๑๖ ก ๑ ๑๖ หอ งเรียน ๓ อาคารเรียนแบบ CS๒๑๓B ๑ ๑๐ หอ งเรียน ๔ อาคารเรยี นแบบ ๒๑๖ ล ๑ ๑๖ หอ งเรยี น ๕ อาคารเรยี นแบบ GEN.I ๑ ๑ หองเรียน ๖ อาคารเรียนแบบ GEN.H ๑ ๒ หองเรียน ๗ อาคารเอนกประสงค แบบ ๐๐๒/๒๔ ๑ ๘ อาคารเอนกประสงค แบบ ๑๐๑/๒๗ ๑ ๑ ชน้ั ๑ ช้ัน ขอมูลสภาพชมุ ชนโดยรวม โรงเรียนนาบอน ตั้งอยูหางจากตัวอำเภอนาบอน ประมาณ ๕ กิโลเมตร และหางจากตัวจังหวัด ประมาณ ๗๕ กิโลเมตร พื้นที่บริการของโรงเรยี นประกอบดวย ๓ ตำบล ไดแก ตำบลแกวแสน ตำบลทุงสง และตำบลนาบอน สภาพท่ัวไปของอำเภอนาบอน มีเนือ้ ที่ ๘๕ ตารางกิโลเมตร สวนใหญเ ปนทร่ี าบสูงและเนินสลบั ที่ราบ เหมาะสำหรับการเพาะปลูก เชน ทำนา สวนยางพารา สวนปาลม และสวนผลไม ลักษณะของดิน เปนดิน ลกู รงั ดนิ รว นปนทราย มีประชากรประมาณ ๘,๙๕๑ คน จำนวน ๒,๕๖๕ หลงั คาเรอื น สภาพทางเศรษฐกิจ อาชีพหลกั ทำสวนยางพารา ทำนาและทำสวนผลไม อาชีพเสรมิ เลยี้ งสัตว คา ขาย และรับจาง สภาพทางสังคม โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน ๘ แหง โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนตน ๒ แหง โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๑ แหง ศูนยเด็กเล็ก ๑ แหง ปญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน ไดแ ก การคัดแยกขยะ ไมถูกวธิ ี บางหมบู า นยงั ไมไ ฟฟา ใช รอยละ ๑.๒๐ และมีการดำเนนิ การระบบประปาเพียง ๓ หมูบาน คอื หมู ๗ , ๙ และ ๑๐ มกี ารใหบ รกิ ารอินเตอรเนต็ ตำบลแกประชาชน เฉพาะวันเวลาราชการ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ ๔ สรุปการประเมินดานท่ี ๑ คุณภาพของผเู รยี น มรี ะดบั คณุ ภาพ ดมี าก จดุ เดน ๑. ผเู รยี นมีสขุ ภาพกาย สุขภาพจติ ดีกลาแสดงออก และสามารถอยรู ว มกับผอู ่ืนอยางมีความสุข ๒. ผูเรียนมีความสามารถในการคิดคำนวณและมีเจตคติตออาชีพอื่น ๆ ในสังคม ฝกการเปนพอคา แมคาจากกจิ กรรมตลาดนดั เศรษฐกิจพอเพียง ๓. ผูเรียนมีความสามารถในการใชภาษาสื่อสารเปนมัคคุเทศก แนะนำแหลงทองเที่ยวในชุมชน เชน น้ำตกกรงุ ชงิ จุดชมวิวทะเลหมอกกรุงชิง ถำ้ หงส บอ นำ้ รอน เปน ตน ๔. ผูเรียนมีความภูมิใจในทองถิ่นและความเปนไทย นักเรียนทุกคนเขารวมกิจกรรมวันสำคัญทาง ศาสนา และประเพณที ่ีสำคัญของไทย เชน กิจกรรมวันสารทเดอื นสิบ ประเพณีแหเ ทยี นพรรษา เปน ตน จุดที่ควรพฒั นา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา และผลการทดสอบระดับชาติ ระดับชั้น ม.๓ และ ม.๖ ในรายวชิ าคณิตศาสตร วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี และภาษาตา งประเทศไมเดนชัด

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๘ - ขอเสนอแนะ สถานศึกษาควรพัฒนาผูเรียนใหมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหสูงขึ้น ในรายวิชาคณิตศาสตร วิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และวิชาภาษาตางประเทศ โดยครูควรจัดกิจกรรมที่หลากหลายในการพัฒนา ผูเรียนท่ีเหมาะสมตามจดุ ประสงคในรายวิชา เชน ใชวิธีการสอนแลวสอบในแตละจุดประสงคเ พ่ือใหนักเรยี น เกิดความจำและมีความตืน่ ตัว ในการเรียนรูอยูเ สมอ กำหนดการดำเนนิ การปรบั ปรุงตามขอเสนอแนะภายใน ๑ ป สรุปการประเมนิ ดา นที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มีระดับคณุ ภาพ ดมี าก จุดเดน สถานศกึ ษาจดั สภาพแวดลอมรม รืน่ สวยงาม สะอาด เปนระเบยี บ สรางบรรยากาศที่เหมาะสมกบั การ เรียนรู จุดท่ีควรพฒั นา ๑. ศักยภาพของสมอง ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. บทบาทของครแู ละผูเรยี นในการเรียนการสอน ขอ เสนอแนะ ๑. ควรพัฒนาสมองผูเรียน โดยการวางโครงการ ประกอบดวยกิจกรรมการอบรมครูทุกคน กิจกรรม บรหิ ารสมองและการบำรงุ สมอง เปนตน ๒. ควรพฒั นาความสามารถในการคิดของผเู รียน โดยวางโครงการ ประกอบดว ย กิจกรรมอบรมครทู ุก คน พฒั นาหลักสตู รการคดิ ทำสื่อ กระบวนการสอนการตดิ เปน ตน ๓. ควรพัฒนาบทบาทของครูและบทบาทของผูเรียน (ตามหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑) ในการเรียน การสอนทเ่ี นน ผูเ รยี นเปนสำคัญ กำหนดการดำเนินการปรบั ปรงุ ตามขอเสนอแนะภายใน ๑ ป สรุปการประเมินดานที่ ๓ การจัดประสบการณทเ่ี นน เดก็ เปน สำคัญ มีระดบั คุณภาพ ดี จดุ เดน ๑. ครูมีความมุงมั่น ตั้งใจในการพัฒนาการสอน โดยครูไดรวมวิเคราะหหลักสูตรสถานศึกษาและ นำขอ มลู มาใชในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูท่มี ีความหลากหลาย เนนใหผูเรยี นไดปฏิบัติจริง ชุมชนและ ผเู กี่ยวของมคี วามพึงพอใจในผลการดำเนนิ งานของครู ๒. ครูมีการจัดสภาพแวดลอมในหองเรียนที่มีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู โดยกิจกรรมหองเรียน คุณภาพ ที่ครูสนับสนุนใหผูเรียนทุกคนรวมกันกำหนดขอตกลงของหองเรียนรวมกัน เพื่อใหผูเรียนเรียนรู รวมกนั อยา งมีความสขุ มคี วามสามัคคใี นหมคู ณะ โดยครไู ดป ฏบิ ตั ติ นเปน แบบอยางทดี่ ขี องผเู รยี น ๓. ครูมีความรูความสามารถใชสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมใหผูเรียนเลือก เรียนรูตามความถนัดความสนใจ โดยครูใชสื่อ เทคโนโลยี แหลงเรียนรู และภูมิปญญาทองถิ่นในการจัด กจิ กรรมการเรียนการสอนอยางตอ เนอ่ื ง เพอื่ สง เสริมทักษะและคณุ ลกั ษณะการเรียนรูใ นศตวรรษท่ี ๒๑ จดุ ทคี่ วรพฒั นา ๑. การกำหนดเปาหมายตามประเด็นที่สถานศึกษากำหนดทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณที่สามารถ บอกถึงเปา หมายการดำเนินงานไดอ ยา งชัดเจน ๒. การทำบนั ทึกหลงั สอนใหเ หน็ ถึงปญ หาการจดั การเรยี นรูและสอดคลองกบั สภาพจริง

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๙ - ๓. การสรางกระบวนการแลกเปล่ียนเรยี นรูประสบการณ (PLC) ใหเ ปน ชุมชนแหง การเรียนรทู าง วิชาชพี ขอเสนอแนะ ๑. สถานศึกษาควรกำหนดเปาหมายในการพัฒนาครูใหสอดคลองกับการปฏิบัติงานของครูท้ังขอมูล เชิงคุณภาพและเชงิ ปรมิ าณอยา งชัดเจนเพ่ือใหเ หน็ ถงึ ผลการดำเนนิ งานท่บี รรลุเปา หมายทีค่ รบคลมุ ตาประเด็น ของการดำเนนิ งานของสถานศึกษาอยางชดั เจน ใหเหน็ ถึงการมพี ัฒนาของสถานศึกษาทีช่ ัดเจนและเปน รูปธรรม ๒. ครูควรทำบันทึกหลังสอนใหเสมือนเปนการวิจัยในชัน้ เรียนเบื้องตน โดยครูควรบันทึกขอมลู หลงั สอนทง้ั ขอ ดแี ละขอดอ ยท้งั ผลการจดั การเรยี นการสอนและผลการประเมนิ ผูเรียนแลว นำขอมูลทไ่ี ดม าวิเคราะห ผูเรียนเปนรายบุคคลตามศักยภาพของผูเรียนแตละคนถึงปญหาหรืออุปสรรคตาง ๆ ของผูเรียนอยางชัดเจน ครบทุกดา น แลวนำผลทีไ่ ดเพื่อหาทางแกไ ขปญ หาการเรยี นรูอยางเปน ระบบ ๓. ครูควรสรางกระบวนการชมุ ชนแหง การเรียนรูท างวิชาชพี (PLC) ใหมปี ระสิทธิภาพโดยเปดโอกาส ใหครูทุกมีสวนรวมในการระดมความคิด รวมใจ รวมพลัง นำขอมูลมาแกปญหาการเรียนรูหรือปรับการเรยี น เปลี่ยนการสอนอยางตอเนื่อง โดยถือวาการเรียนรูของครูเปนตัวตั้งตนเรียนรู ที่จะมองเห็นการปรับปรุง เปลีย่ นแปลงพฒั นาการจดั การเรียนรูของตนเอง เพอ่ื ผูเ รียนเปนสำคัญ กำหนดการดำเนินการปรบั ปรงุ ตามขอเสนอแนะภายใน ๑ ป ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผูเรยี น ๑. ระดับคณุ ภาพ : ดี ๒. กระบวนการพฒั นา โรงเรยี นนาบอน มกี ระบวนการจดั การเรยี นรูที่เนนการพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี นตามพระราชบญั ญัติ การศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และแกไ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๖ ทวี่ า “การจัดการศึกษา ตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทย ใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยูรวมกันไดอยางมีความสุข” และจุดมุงหมายของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มศี ักยภาพในการศกึ ษาตอ และการประกอบอาชพี ดังนั้น โรงเรียนนาบอนจึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและคาเปาหมาย ปการศึกษา ๒๕๖๔ และไดมีการพัฒนาดวยวิธีการตาง ๆ เพื่อใหบรรลุตามคาเปาหมายในแตละประเด็น พิจารณา ดังนี้ ๑. ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู รียน ๑. มีความสามารถในดานการอาน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ โรงเรียนได ดำเนนิ การพฒั นานกั เรยี น โดยมีการกจิ กรรมสงเสริมในดานการอาน การเขียน และพฒั นาการสอนเสริมเพื่อ พัฒนานกั เรยี นอานไมค ลอง เขียนไมคลอ ง กจิ กรรมสงเสรมิ และพัฒนาความสามารถการเรียนรูเรื่องการอาน (Reading Literacy) กิจกรรมพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นและทักษะการอาน การเขยี นการสือ่ สารของกลุม สาระการเรียนรูภาษาไทย กิจกรรมวันภาษาไทยแหงชาติ กิจกรรมวันสุนทรภู กิจกรรมพัฒนาสื่อการเรียนรู วรรณคดีและวรรณกรรม กิจกรรมสงเสริมความสามารถในการอาน การเขียนและการสื่อสารกลุมสาระการ เรียนรูตางประเทศ กิจกรรมวนั ตรุษจีน กิจกรรมวันวาเลนไทน กิจกรรมภาษาตางประเทศวนั ละคำ กิจกรรม ยกระดับผลสัมฤทธิ์กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ กิจกรรมสัปดาหวิทยาศาสตร กิจกรรมสงเสริม

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๑๐ - ความสามารถในการคิดคำนวณ การพฒั นาการคิดคำนวณของนักเรยี น ม.๑,ม.๔ โดยใชกจิ กรรมฝกทักษะคิด เลขเร็วดว ยโปรแกรมคิดเลขเร็ว GSP พฒั นาทักษะทางคณิตศาสตรโดยใชเ กม ๒๔ กิจกรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นของกลมุ สาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๒. มีความสามารถในดานการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ คดิ เห็นและแกป ญหา โดยโรงเรยี นไดด ำเนินการจัดกจิ กรรมตามโครงการ เชน กจิ กรรมสง เสริมความเปนเลิศ ทางวิชาการ กิจกรรมติว O-NET ม.๓ กิจกรรมติว O-NET ม. ๖ กิจกรรมเพื่อนชวยเพื่อน กิจกรรมการ เรียนรแู บบโครงงาน กจิ กรรมยกระดับผลสมั ฤทธ์ิกลุม สาระการเรียนรกู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี กจิ กรรม พัฒนาการเรียนการสอนกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา กิจกรรมสงเสริมความเปนเลิศวิชาสังคมศึกษา กิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนกลุมสาระสุขศึกษาและพลศึกษา กิจกรรมสงเสริมความเปนเลิศทางดาน ศิลปะ กิจกรรมปรับปรุงสื่อการเรียนการสอนวิชาศิลปะ กิจกรรมสงเสริมความเปนเลิศทางดานการขับรอง กิจกรรมสงเสริมความเปนเลิศทางดานนาฏศิลป และการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบตาง ๆ เชน การจัดการ เรียนรูแบบการสรางองคความรดู วยตนเอง (IS) การจัดการเรียนรูแบบ Active Learning การจัดการเรียนรู แบบสืบเสาะหาความรู การจัดการเรียนรูโดยใชแผนผังความคิด การระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบ รวมมอื กนั เรยี นรู ใชกระบวนการคิด กระบวนการใชปญหาเปน ฐาน เปนตน ๓. มีความสามารถในการสรางนวัตกรรม โรงเรียนมีการสนับสนุนและสงเสริมใหผูเรียนสราง ชิ้นงานและออกแบบผลิตภัณฑจากกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู โดยมีโครงการ ๑ โรงเรียน ๑ อาชีพ : นาบอนบาติก เพื่อสง เสรมิ ใหผ ูเรยี นมีการทำงานเปน ทีม สรา งสรรคสง่ิ ใหม ๆ และสรางนวตั กรรมได ๔. มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โรงเรียนใหทุกกลุมสาระ ดำเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรูแบบออนไลนในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือโควิด-๑๙ โดยให นักเรียนใชเทคโนโลยีในการเรียนรูและสื่อสาร เพื่อพัฒนาตนเอง โดยการสงงานผานระบบออนไลน และ สงเสรมิ ใหนกั เรยี นใชอ ีเมลองคกรของโรงเรยี นในการเรียนรู ๕. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยโรงเรียนไดจัดกิจกรรมการตาม กิจกรรม/โครงการตา ง ๆ เชน โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ โครงการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ม.๑ และม.๖ ครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ กิจกรรมการนิเทศติดตามเยี่ยม บานกรณีนักเรียนไมสามารถเขาเรียนออนไลนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา กจิ กรรมสอนตวิ ในคาบเรียน กจิ กรรมติวโอเน็ต กจิ กรรมจัดปายนิเทศ กิจกรรมเกม เปนตน ๖. มีความรูและทักษะพื้นฐานเจตคติที่ดีตออาชีพ โดยโรงเรียนไดจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ในวชิ าพื้นฐานและเพ่ิมเตมิ กจิ กรรมแนะแนวการศึกษาตอและอาชีพจากครูแนะแนวและครูท่ีปรึกษาในคาบ แนะแนว คาบโฮมรูมและจากบุคลากรหรือหนวยงานตาง ๆ กิจกรรมวันวิชาการ “โรงเรียนาบอนพัฒนา วิชาการ สรางสรรคงาน สูมาตรฐานสากล” กิจกรรมวิถีพอเพียง กิจกรรมโครงงานของกลุมสาระตางๆ เชน กลุม สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย กลุมสาระการเรียนรูการงาน อาชีพ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา กิจกรรมการเรียนรายวิชา เพิ่มเติม เชน รายวิชาการศึกษาคน ควา ดวยตนเอง ( IS ) โดยไดศึกษาการจดั กจิ กรรมโดยใชกระบวนการวิจัย เรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเขียนผาบาติก โครงงานชาง งานประดิษฐของใชตกแตงในบาน นอกจากนีย้ ังจดั กิจกรรมชมุ นมุ การเขียนผา บาตกิ ใหก บั นกั เรยี นกลุมสนใจต้งั แตระดบั มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๑-๖ ทำ ใหน ักเรยี นมีความรูพ ื้นฐานทางดานบาตกิ นกั เรียนมีความรพู นื้ ฐานทางดา นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จาก กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู : วิถีพอเพียงทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา กิจกรรมสงเสริมการออม ชุมนุมออมทรัพยรับสิน การบริการและสงเสริมการออมของธนาคารออมสิน ธนาคารกรุงเทพ กิจกรรม สมาชกิ สหกรณโ รงเรียน เปน ตน

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๑๑ - ๒. คุณลักษณะอันพึงประสงคข องผเู รยี น ๑. การมีคุณลักษณะและคา นิยมที่ดตี ามทีส่ ถานศึกษากำหนด โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมแห เทียนมาฆประทีปและโคมเทียนแกวพระราชทานในสมเด็จพระเจานองนางเธอเจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณฯ เพื่อถวายใหกับพระคุณเจาวัดมณีเจริญ ในโครงการสัปดาหสงเสริมการเผยแพรพระพุทธศาสนาเนื่องในวัน มาฆบูชา ประจำป ๒๕๖๕ กจิ กรรมสอู าราม กิจกรรมธนาคารโรงเรยี น กิจกรรมยกยอ งเชิดชูเกียรติคนดีศรี นาบอน ๒. ความภูมใิ จในทอ งถิ่นและความเปน ไทย โดยโรงเรียนไดด ำเนินโครงการกิจกรรมวันสำคัญ ทั้งในและนอกหองเรียน เชน กิจกรรมวนั แมแหงชาติ วันพอแหงชาติ กิจกรรมวันสุนทรภูและวันสำคัญทาง พระพทุ ธศาสนา กจิ กรรมวนั ลอยกระทง เปน ตน ใหผเู รยี นเขารว มกิจกรรมอยางหลากหลาย ๓. การยอมรับที่จะอยูรวมกันบนความแตกตางและหลากหลาย สามารถอยูรวมกันบนความ แตกตางของวัฒนธรรมและสังคมในปจจุบันและสามารถอยูรวมกันอยางมีความสุขดวยกระบวนการ ประชาธปิ ไตย โดยโรงเรียนไดดำเนินโครงการสง เสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพนักเรียนดานประชาธิปไตยของสภา นักเรียน กิจกรรมเลือกตั้งคณะกรรมการนักเรียน กิจกรรมสงเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา กิจกรรม พัฒนาความเปนผูนำ กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมกลุมสาระตาง ๆ กิจกรรมกลุมสัมพันธ กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมการสรางเสริมการเปนประชาคมอาเซียน กิจกรรมวันวาเลนไทน (Valentine Day) กิจกรรม วันตรุษจีน กิจกรรมวันคริสตมาส กิจกรรมวันสารทเดือนสิบ และกิจกรรมลดชองวางทางดานเศรษฐกิจ เชน ทนุ การศกึ ษา กจิ กรรมปจ ฉมิ นิเทศ ๔. สุขภาวะทางรางกายและจติ สังคม โรงเรียนมีการสงเสริมสขุ ภาวะทางกายใหผูเรียนมีน้ำหนกั และสวนสูงตามเกณฑของกรมอนามัย มีการจัดโครงการสงเสริมสุขภาพ เชน กิจกรรมดูแลรักษาพยาบาล เบ้ืองตน กจิ กรรมคัดกรองน้ำหนกั และสวนสูง กิจกรรมคมุ ครองผูบริโภค กจิ กรรม อย.นอย กิจกรรม To be number one กิจกรรมใหความรูเกี่ยวกับหลักโภชนาการ โดยการจัดปายนิเทศ เสียงตามสาย ให ความรูหนาเสาธง เปนตน กิจกรรมชุมนุมพยาบาล กิจกรรมรณรงคฟนสะอาดเหงือกแข็งแรง กิจกรรม จัดซื้อวัสดุการปองกันและแพรระบาดเชื้อโควิด รวมทั้งสงเสริมใหผูเรียนมีทักษะพื้นฐานทางดานกีฬา และ นาฏศิลป การสงเสริมการออกกำลังกาย โดยจัดกิจกรรมกีฬาภายในและภายนอกสถานศึกษา (เตรียมความ พรอ มแตไมส ามารถแขง ขันไดเ น่อื งจากสถานการณการแพรร ะบาดเชื้อโควิด) กจิ กรรมดนตรีสูชุมชน กิจกรรม คายศิลปะ กจิ กรรมการเรยี นรตู ามกลุมสาระสุขศึกษาและพลศกึ ษา จดั แสดงผลงานนทิ รรศการศิลปะ ดนตรี และนาฎศิลปในงานกิจกรรมวิชาการ “โรงเรียนนาบอน พัฒนาวิชาการ สรางสรรคงาน สูมาตรฐานสากล” โครงงานศิลปะ ดนตรีและนาฎศิลป นาบอนบาติก ชุมนุมบาติก ตลอดจนสงเสริมใหผูเรยี นมีจิตสาธารณะ โดยการทำกจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน เชน กจิ กรรมจิตอาสาพัฒนาวัด กิจกรรมบริจาคโลหิต กิจกรรมทำความสะอาดเขตพื้นที่ ๕ ส. ผลการดำเนินงาน ขอ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษต ามตัวชวี้ ัด ประเดน็ พจิ ารณาที่ ๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียน ๑) มีความสามารถในการอา น เขยี น การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ๑.๑) นกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ ๑-๖ รอยละ ๖๕ มีผลการพฒั นาการอานเพ่ือการอานคลอ ง เขยี นคลอ ง ม.๑-๖ อยใู นระดับดีขนึ้ ไป ผเู รียนมผี ลการพฒั นาการอา นเพอ่ื การอานคลองเขียนคลอ ง ม.๑-๖ อยูในระดับดีข้ึนไป สูงกวาเปาหมาย คดิ เปนรอ ยละ ๙๕.๖๐ โดยพิจารณาจากผลการประเมนิ การอาน คิดวเิ คราะหแ ละเขียน ของ กลมุ สาระภาษาไทย

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๑๒ - ๑.๒ นกั เรียนรอ ยละ ๗๐ มคี วามสามารถในการเขยี น อยใู นระดบั ดีขน้ึ ไป ผเู รียนมีความสามารถในดา นการเขยี น อยูในระดบั ดีขึน้ ไป สูงกวา เปาหมาย คดิ เปน รอย ละ ๙๑.๒๒ โดยพิจารณาจากผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน ของกลุมสาระภาษาไทยและ กลุมสาระภาษาตางประเทศ ๑.๓ นักเรยี นรอ ยละ ๖๕ มคี วามสามารถในการสอ่ื สาร อยใู นระดับดขี ึน้ ไป ผเู รยี นมีความสามารถในการส่ือสาร อยูใ นระดบั ดีขนึ้ ไปสงู กวาเปา หมาย คิดเปนรอยละ ๙๕.๐๑ โดยพจิ ารณาจากผลการประเมนิ สมรรถนะดานความสามารถในการสอ่ื สาร ของกลมุ สาระภาษาไทย และกลุมสาระภาษาองั กฤษ ๑.๔ นกั เรยี นรอยละ ๖๐ มคี วามสามารถในการคดิ คำนวณ อยูในระดบั ดีขน้ึ ไป ผูเรียนมีความสามารถในการคิดคำนวณ อยูในระดับดีขึ้นไป สูงกวาเปา หมาย คิดเปนรอย ละ ๘๙.๑๐ โดยพิจารณาจากผลการประเมินสมรรถนะดานความสามารถในการคิด ของกลุมสาระ คณิตศาสตรแ ละกลุมสาระวิทยาศาสตร ๒) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห คิดอยา งมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นและ แกป ญ หา ๒.๑ นักเรยี นรอ ยละ ๘๕ มีผลการประเมนิ สมรรถนะ อยูในระดับดีขึน้ ไป ผลการประเมินสมรรถนะผูเ รยี น อยูใ นระดบั ดีขน้ึ ไปสงู กวา เปาหมาย คิดเปนรอ ยละ ๙๐.๒๘ โดยพจิ ารณาจากผลการประเมินสมรรถนสำคัญ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา ๓) มีความสามารถในการสรางนวัตกรรม ๓.๑ นักเรียนมีความสามารถในการสรางชิ้นงาน และการออกแบบผลิตภัณฑจากกิจกรรมลด เวลาเรียนเพมิ่ เวลารูและโครงการ ๑ โรงเรียน ๑ อาชีพ : นาบอนบาติกได ผูเรียนมีการสรางชิ้นงานอยา งนอย ๑ ชิ้นงานตอ ๑ ภาคเรียนโดยการออกแบบผลิตภัณฑ จากกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู และการสรางชิ้นงานจากกิจกรรมชุมนุมการทำผาบาติก อยางนอย ๑ ช้นิ งานตอ ๑ ภาคเรยี นและโครงการ ๑ โรงเรียน ๑ อาชพี : นาบอนบาติก สง ผลให นกั เรียนมคี วามสามารถ ในการสรา งช้นิ งาน และการออกแบบผลิตภณั ฑจากกิจกรรมลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารแู ละโครงการ ๑ โรงเรียน ๑ อาชีพ : นาบอนบาตกิ ไดเ ปนไปตามเปาหมาย ๓.๒ นกั เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู การทำงานเปน ทมี สรางสรรคสิ่งใหม ๆ ผเู รยี นมคี วามสามารถในการรวบรวมความรไู ดท ้งั ดวยตนเองและการทำงานเปนทีม จากการ เรียนรูแบบบูรณาการที่มุงเนนใหผูเรียนมีทักษะดานการเรียนรู ทักษะตามการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ เพ่ือ พัฒนาศักยภาพของตนเอง เชื่อมโยงองคความรูและประสบการณมาใชในการสรางสรรคสิ่งใหม ๆ สามารถ สรางนวตั กรรมนำไปใชและเผยแพรได เชน รายวิชาการศึกษาคนควาดว ยตนเอง (IS) การสอนแบบโครงงาน นอกจากนี้ยงั จดั กิจกรรมตามโครงการ เชน การจดั กิจกรรมชมุ นุม กจิ กรรมลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู สงผลให นกั เรยี นมคี วามสามารถในการสรางนวตั กรรม มกี ารนำไปใชแ ละเผยแพรไดเ ปนไปตามเปาหมาย ๔) มีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ๔.๑ นักเรียนมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรตามท่ี กำหนดในหลักสตู ร การสืบคนขอมลู และนำเสนอผลงานของตนเองได ผูเ รียนมีความสามารถในใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร เพื่อการพัฒนาตนเองและ สังคมในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทำงานอยางสรางสรรค โดยทุกกลุมสาระการเรยี นรมู ีการบรู ณาการ จดั การเรียนการสอนใหน ักเรียนใชเทคโนโลยใี นการสื่อสารเพ่อื พัฒนาตนเอง ในการนำเสนอวีดีทศั น นำเสนอ งาน สงงานโดยผานระบบออนไลน เชน E-Mail , line , Facebook , YouTube และครูผูสอนวิชา

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๑๓ - คอมพิวเตอรเนนใหนกั เรียนใชคอมพิวเตอรแ ละใชส่ือเทคโนโลยี โรงเรยี นกำหนดขอ ปฏบิ ตั แิ ละแนวทางในการ ใหน กั เรยี นใชโ ทรศพั ทมอื ถือในการสืบคน ขอ มลู สงผลใหนักเรยี นใชคอมพิวเตอรและสื่อระบบออนไลนอยาง มคี ุณภาพ สามารถสบื คน ขอ มลู และนำเสนอผลงานของตนเองได ๕) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา ๕.๑ นักเรียนรอยละ ๗๐ มีผลการเรยี นเฉล่ยี รายวิชาภาษาไทย ระดับ ๓ ข้ึนไป นกั เรียนผลการเรียนเฉลย่ี รายวิชาภาษาไทย ระดบั ๓ ขึน้ ไปต่ำกวา เปาหมาย คิดเปนรอยละ ๕๐.๙๗ โดยพิจารณาจากผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นกลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย ภาพรวมระดับสถานศึกษา ๕.๒ นักเรยี นรอ ยละ ๕๐ มีผลการเรยี นเฉลยี่ รายวชิ าคณติ ศาสตร ระดับ ๓ ขึ้นไป นักเรียนผลการเรียนเฉลี่ยรายวิชาคณติ ศาสตร ระดับ ๓ ขึ้นไปต่ำกวาเปาหมาย คิดเปนรอย ละ ๓๙.๗๔ โดยพิจารณาจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ภาพรวมระดับ สถานศกึ ษา ๕.๓ นกั เรียนรอ ยละ ๗๐ มีผลการเรยี นเฉลีย่ รายวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ระดับ ๓ ขึน้ ไป นักเรียนผลการเรียนเฉลี่ยรายวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ระดับ ๓ ขึ้นไปต่ำกวา เปาหมาย คิดเปนรอ ยละ ๕๒.๕๙ โดยพจิ ารณาจากผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุม สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ภาพรวมระดับสถานศึกษา ๕.๔ นักเรียนรอยละ ๕๐ มผี ลการเรยี นเฉล่ยี รายวิชาภาษาตางประเทศ ระดบั ๓ ขน้ึ ไป นักเรียนผลการเรียนเฉลยี่ รายวิชาภาษาตางประเทศ ระดับ ๓ ข้นึ ไปสูงกวา เปา หมาย คิดเปน รอยละ ๕๘.๒๕ โดยพิจารณาจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ภาพรวม ระดับสถานศึกษา ๕.๕ นกั เรยี นรอ ยละ ๗๐ มผี ลการเรยี นเฉล่ยี รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดบั ๓ ขนึ้ ไป นักเรยี นผลการเรียนเฉล่ียรายวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดบั ๓ ข้ึนไป ต่ำกวา เปาหมาย คิดเปนรอยละ ๕๙.๖๕ โดยพิจารณาจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาพรวมระดับสถานศกึ ษา ๕.๖ นกั เรยี นรอ ยละ ๗๕ มผี ลการเรยี นเฉลย่ี รายวชิ าสุขศกึ ษาและพลศึกษา ระดับ ๓ ขึ้นไป นักเรยี นผลการเรยี นเฉลีย่ รายวิชาสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ระดับ ๓ ขนึ้ ไปสูงกวาเปาหมาย คิด เปนรอยละ ๘๓.๐๓ โดยพิจารณาจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ภาพรวมระดบั สถานศกึ ษา ๕.๗ นกั เรียนรอ ยละ ๘๐ มีผลการเรียนเฉล่ยี รายวิชาการงานอาชพี ระดบั ๓ ขึ้นไป นักเรยี นผลการเรยี นเฉล่ยี รายวิชาการงานอาชพี ระดบั ๓ ข้นึ ไปต่ำกวา เปาหมาย คดิ เปนรอย ละ ๕๒.๙๒ โดยพิจารณาจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ ภาพรวมระดับ สถานศึกษา ๕.๘ นักเรียนรอ ยละ ๘๐ มผี ลการเรียนเฉล่ยี รายวชิ าศลิ ปะ ระดับ ๓ ขน้ึ ไป นักเรียนผลการเรียนเฉลี่ยรายวิชาศิลปะ ระดับ ๓ ขึ้นไปต่ำกวาเปาหมาย คิดเปนรอยละ ๕๑.๐๙ โดยพจิ ารณาจากผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นกลมุ สาระการเรยี นรศู ิลปะ ภาพรวมระดับสถานศึกษา ๕.๙ นกั เรียนรอ ยละ ๖๕ มผี ลการเรยี นเฉล่ียทกุ รายวชิ า ระดับ ๓ ข้ึนไป นกั เรยี นผลการเรยี นเฉลย่ี ทกุ รายวิชา ระดับ ๓ ขน้ึ ไปต่ำกวาเปาหมาย คิดเปน รอยละ ๕๖.๕๗ โดยพจิ ารณาจากผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของทกุ กลุมสาระการเรียนรูในภาพรวมระดับสถานศึกษา ๖) มีความรู ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ี่ดีตองานอาชีพ ๖.๑ นักเรียนมีความรแู ละทักษะพนื้ ฐานและเจตคตทิ ด่ี ตี อ งานอาชพี

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๑๔ - ผเู รียนมีความรแู ละทกั ษะพนื้ ฐานและเจตคติท่ีดีตองานอาชีพ มคี วามพรอมที่จะศึกษาตอใน ระดับชั้นที่สูงขึ้น การทำงานหรืองานอาชีพ โรงเรียนมอบหมายใหกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ จัด กิจกรรมการเรียนการสอนใหสอดคลองกับจุดมุงหมายของหลักสูตรสถานศึกษา มุงสอนทักษะอาชีพเพื่อให นักเรียนที่จบ ม.๓ และ ม.๖ สามารถใชเปนแนวทางในการประกอบอาชีพได กิจกรรมแนะแนวแนะนำให นักเรียนสามารถวิเคราะหความตองการของตลาด เลือกสาขาวิชาเรียนที่สอดคลองและมีเจตคติที่ดีตอ การศึกษาตอและการประกอบอาชีพโดยมีการแนะแนวสาขาวิชาชีพจากหนวยงานภายนอก นอกจากน้ี โรงเรียนยังไดจัดกิจกรรมวันวิชาการ “โรงเรียนาบอนพัฒนาวิชาการ สรางสรรคงาน สูมาตรฐานสากล” ประจำปการศกึ ษา ๒๕๖๔ เพ่ือพฒั นาความรแู ละทกั ษะพืน้ ฐานตลอดจนการติดตามการศึกษาตอของนักเรียน ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ ๓ และ ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๖ เพอ่ื ทราบถงึ ความกา วหนา ของผูเรยี น ๖.๒ นักเรียนมคี วามรพู ้ืนฐานทางดานบาติก จากกจิ กรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารูและโครงการ ๑ โรงเรยี น ๑ อาชพี : นาบอนบาตกิ นกั เรียนมคี วามรพู ืน้ ฐานทางดานบาติก จากกิจกรรมลดเวลาเรยี นเพมิ่ เวลารแู ละโครงการ ๑ โรงเรียน ๑ อาชีพ : นาบอนบาติก จากกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม เชน รายวชิ าการเขียนผาบาตกิ ชุมนมุ การเขียนผาบาติกใหกบั นักเรียนกลุมสนใจตง้ั แตร ะดบั มัธยมศึกษาปท่ี ๑-๖ สง ผลทำใหนักเรยี นมคี วามรูพ้ืนฐานทางดา นบาตกิ เปน ไปตามเปา หมาย ๖.๓ นักเรียนมีความรูพื้นฐานทางดานเศรษฐกิจพอเพียง จากกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู : วถิ พี อเพียง นักเรียนมีความรูพืน้ ฐานทางดานเศรษฐกิจพอเพียง จากกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู : วิถีพอเพียง โดยไดดำเนินการจัดกิจกรรมวถิ ีพอเพียง กิจรรมการจัดการเรียนรูรายวิชาการศกึ ษาคนควาดว ย ตนเอง ( IS ) โดยไดศกึ ษาการจดั กจิ กรรมโดยใชกระบวนการวจิ ยั เร่อื งหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง กิจกรรม สงเสริมการออม ชุมนุมออมทรัพยรับสิน การบริการและสงเสริมการออมของธนาคารออมสิน ธนาคาร กรุงเทพและกิจกรรมสมาชิกสหกรณโรงเรียน เปนตน สงผลใหนักเรียนมีพื้นฐานทางดานปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง จากกิจกรรมลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู : วิถีพอเพยี งเปน ไปตามเปาหมาย ประเดน็ พิจารณาที่ ๑.๒ คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคข องผูเรียน ๑. การมคี ุณลักษณะและคานยิ มที่ดตี ามทส่ี ถานศึกษากำหนด ๑.๑ นกั เรียนรอยละ ๗๕ มีผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ในระดบั ดขี ึน้ ไป ผูเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงคครบทุกคุณลกั ษณะในระดับดีขึน้ ไปสูงกวาเปาหมาย คิดเปนรอยละ ๙๒.๒๘ โดยพิจารณาจากผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ในภาพรวมของ สถานศึกษา ๒. ความภมู ใิ จในทองถน่ิ และความเปน ไทย ๒.๑ นักเรยี นเขา รวมกจิ กรรมในวนั แมแหง ชาติ วันพอแหงชาติ วนั สารทเดือนสิบ และวัน สำคญั ทางศาสนา เปนตน ผูเรียนมีความภูมิใจในทองถิ่น เห็นคุณคาของความเปนไทย มีสวนรวม ในการอนุรักษ วัฒนธรรมและประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปญญาไทย โรงเรียนเนนใหครูผูสอนบูรณาการเกี่ยวกับประเพณี การ อนุรักษวัฒนธรรมและภมู ิปญญาไทย กิจกรรมวันภาษาไทย กิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา กิจกรรมแหเทียน มาฆประทปี และโคมเทียนแกว พระราชทาน กจิ กรรมวนั พอ กจิ กรรมวันแม กจิ กรรมวนั ลอยกระทง โดยจะเชิญ ชวนครู บุคลากรและนักเรียน ผูปกครองเขามามีสวนรวมในการอนุรักษวัฒนธรรมประเพณี จึงสงผลให นักเรียนมีความภูมใิ จและเห็นคุณคา ทางภูมปิ ญ ญา ทอ งถ่ินและภูมิใจในความเปนไทย

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๑๕ - ๓. การยอมรบั ท่ีจะอยูร วมกันบนความแตกตา งและหลากหลาย ๓.๑ นกั เรยี นสามารถอยูรว มกันอยา งมคี วามสขุ ดว ยกระบวนการประชาธิปไตย ผูเรียนสามารถอยูรวมกันบนความแตกตางของวัฒนธรรมและสังคมในปจจุบันและ สามารถอยูรว มกันอยางมีความสขุ ดวยกระบวนการประชาธิปไตย โดยโรงเรยี นไดด ำเนินโครงการสงเสริมและ พัฒนาศกั ยภาพนักเรยี นดานประชาธิปไตยของสภานักเรยี น กิจกรรมเลอื กต้ังคณะกรรมการนกั เรียน กิจกรรม สงเสรมิ ประชาธิปไตยในสถานศกึ ษา กจิ กรรมพัฒนาความเปน ผนู ำ กจิ กรรมชุมนุม กจิ กรรมกลมุ สาระตางๆ กจิ กรรมกลมุ สัมพันธ สง ผลใหน ักเรยี นสามารถอยูรวมกันอยางมีความสุขดว ยกระบวนการประชาธิปไตย ๓.๒ นักเรียนสามารถอยูรวมกันบนความแตกตางของวัฒนธรรมและสงั คมที่หลากหลาย ผูเรียนยอมรับและอยูรวมกันบนความแตกตางระหวางบุคคลในดาน เพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี โดยโรงเรียนไดจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมผูเรียน เชน กิจกรรมปฐมนิเทศ นกั เรียนใหม กจิ กรรมวันคริสตม าส กจิ กรรมวนั ตรุษจนี กิจกรรมวนั วาเลนไทน กจิ กรรมวนั ภาษาไทย กิจกรรม ปจฉมิ นิเทศ เปน ตน ทำใหผเู รยี นเปนท่ยี อมรับและอยูรวมกันบนความแตกตางระหวางบุคคลในดาน เพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม ประเพณีไดเ ปน อยา งดี ๔. สุขภาวะทางรา งกายและจติ สงั คม ๔.๑ นักเรยี นรอ ยละ ๖๐ มนี ำ้ หนักและสวนสงู ตามเกณฑของกรมอนามยั ผูเรียนมีน้ำหนักและสวนสูงตามเกณฑของกรมอนามัยสูงกวาเปาหมาย คิดเปนรอยละ ๖๙.๕๑ โดยพิจารณาการขอมูลน้ำหนักและสวนสูงตามเกณฑของกรมอนามัย ของนักเรียนโรงเรียนนาบอน ในภาพรวม จากงานอนามัยโรงเรยี น ๔.๒ นักเรยี นมที กั ษะพ้นื ฐานทางดานกีฬา ศลิ ปะ ดนตรีและนาฏศิลป ผูเรียนมีทักษะพืน้ ฐานทางดา นกีฬา ศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป โดยโรงเรียนไดจัดกิจกรรมการ เรียนรูกลุมสาระสุขศึกษาและพลศึกษา กลุมสาระศิลปะ มีการจัดกิจกรรมดนตรีสูชุมชน จัดแสดงผลงาน นิทรรศการและการแสดงบนเวทีในดานดนตรี นาฎศิลป และศิลปะ ในงานกิจกรรมวันวิชาการ “โรงเรียน นาบอนพัฒนาวิชาการ สรางสรรคงาน สูมาตรฐานสากล” กิจกรรมกีฬาภายในและภายนอกสถานศึกษา จึงสงผลใหผเู รยี นมที กั ษะพ้นื ฐานทางดา นกีฬา ศลิ ปะ ดนตรแี ละนาฎศลิ ปเ ปน ไปตามเปา หมาย ๔.๓ นักเรยี นผานการประเมินกิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน ผูเรียนมจี ิตสาธารณะ โดยการทำกจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน เชน กิจกรรมจิต อาสาพัฒนา “เรารักษวัด” กิจกรรมจิตอาสา “เหลาน้ำเงิน-เหลืองรักโรงเรียน” จึงสงผลใหผูเรียนผานการ ประเมินกจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชนต ามเปาหมาย นวัตกรรม /รูปแบบการดำเนนิ งาน การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาเพอื่ ความปลอดภัยและพัฒนาการเรียนรูของนกั เรยี น ในชวงการแพรระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๑๙ (COVID-19) ดว ยรูปแบบ P-B-C-S Model

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๑๖ - ข้ันตอนการดำเนนิ งานพฒั นา ทีมนำ (ฝายบรหิ าร) -วิเคราะหส ภาพปญหา -ศักยภาพของสถานศกึ ษา -บรบิ ทนักเรยี น ผปู กครอง ชุมชน -ทมี ประสาน (หวั หนา กลมุ บรหิ ารงบประมาณ กลุมบริหาร วชิ าการ กลมุ บรหิ ารกจิ การนกั เรียน กลุมบริหารท่ัวไป -ทมี ทำ (คณะทำงานกลมุ บรหิ ารงบประมาณ กลมุ บรหิ าร วชิ าการ กลุมบรหิ ารกิจการนกั เรยี น กลุม บรหิ ารท่ัวไป ครูประจำช้นั ครูผูสอน P=PLAN การจัดทำแผนการบรหิ ารงบประมาณ S = Student Care P-B-C-S Model B =Blended Learning ระบบการดูแลชวยเหลือนกั เรยี น การจดั การเรียนรูแบบผสมผสาน C=Curriculum การปรับหลกั สตู ร สรปุ ผลการดำเนินงาน

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๑๗ - ๓. แผนการพัฒนาคุณภาพเพ่ือยกระดบั ใหสูงข้ึน จดุ เดน จดุ ท่คี วรพฒั นา นักเรยี นโรงเรียนนาบอนไดร บั การพัฒนา ๑. ควรมีการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ ความสามารถในการอานเพื่อการอานคลองเขียน เรยี นในทุกกลุมสาระการเรียนรูแกผูเรียนในระดับ คลอง ม.๑-๖ อยางตอเนื่องและความสามารถใน ชั้น ม.๑–ม.๖ อยางตอ เนือ่ ง การสรางชิ้นงานหรือการออกแบบผลิตภัณฑจาก ๒. พัฒนานักเรียนกลุมอาน เขยี นไมคลอ งให กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารูและโครงการ ๑ มีการพฒั นาที่เหมาะสมกับวัย โดยเนน การ โรงเรียน ๑ อาชีพ : นาบอนบาติก และมีความรู พัฒนาการดูแลนักเรียนรายบคุ คล พื้นฐานทางดานเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะ พื้นฐานทางดานกีฬา (การแขงขันกีฬา ฟุตซอล) ดานศิลปะ ดนตรี (การขับรองเพลงประสานเสียง แ ล ะ ว ง โ ย ธ ว า ท ิ ต ข อ ง โ ร ง เ ร ี ย น ใ ห ก า ร บ ร ิ ก า ร สาธารณชน) และนาฏศิลป ตลอดจนสงเสริมให ผูเรียนทุกคนสามารถอยูรวมกันอยาง มีความสุข ดวยกระบวนการประชาธิปไตย (กิจกรรมสภา นักเรยี น) มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๑. ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ ๒. กระบวนการพฒั นา โรงเรียนนาบอน ไดดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาตามประเดน็ พิจารณา ดังนี้ ๑. มีเปา หมายวิสยั ทัศนและพนั ธกิจท่ีสถานศึกษากำหนดชัดเจน โรงเรียนไดม กี ารดำเนนิ การกำหนดเปาหมาย วสิ ยั ทัศนแ ละพนั ธกิจที่สอดคลองกับบริบท ของสถานศึกษา ความตองการของชมุ ชน ทอ งถิน่ และสอดคลอ งกับแนวทางการปฏริ ปู ตามแผนการศึกษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา โดยมีขั้นตอนดังนี้ ประชุมผูมีสวนไดสวนเสียเพื่อการ ดำเนินงาน มีการศึกษาวัตถุประสงคของแผนการศึกษาแหงชาติ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาของรัฐบาล นโยบายกระทรวงศึกษาเกี่ยวกับการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาและประกาศมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดำเนินการวิเคราะหสภาพปญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผานมา โดยการศึกษาขอมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตามประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา เพื่อรวมกนั วางแผน กำหนดเปา หมาย ปรบั วิสัยทศั น พนั ธกิจและกลยุทธ ใหส อดคลอ งกับสภาพปญ หา ความตอ งการของ สถานศึกษา มกี ารปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปท่ีสอดคลอ งกับผลการจัด การศึกษา สภาพปญ หา ความตองการพฒั นา และนโยบายการปฏริ ปู การศึกษา ทมี่ งุ เนน การพฒั นาใหผูเรียนมี คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยผานการเห็นชอบของคณะกรรมการ สถานศกึ ษา ครผู ูส อนสามารถจัดการเรียนรไู ดอยางมคี ณุ ภาพ มกี ารดำเนนิ การนิเทศ กำกับตดิ ตามและประเมนิ ผล การดำเนนิ งาน จัดทำรายงานผลการจดั การศกึ ษา เพ่ือใชเปนฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ๒. มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๑๘ - โรงเรียนมรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจนมีประสิทธภิ าพ โดยมีการ จัดระบบบริหารจัดการคุณภาพโรงเรียนดวยกระบวนการวงจรคุณภาพ (PDCA) ดำเนินงานตามโครงการ ระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา มีการพัฒนางานระบบประกันคุณภาพการศึกษา มีการพัฒนา งานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนดวยกระบวนการรูจักนักเรียนรายบุคคล คัดกรองนักเรียน สงเสริมและ พัฒนานักเรียน ตลอดจนมีการปองกันและแกไขปญหา ดำเนินการสงตอนักเรียนทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา โดยความรวมมือของผูที่เกี่ยวของทุกฝาย มีการนิเทศติดตามและนำขอมูลมาใชในการปรบั ปรุง พฒั นาอยางตอ เน่อื ง สงผลตอคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ๓. ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการทเี่ นนคณุ ภาพผูเรยี นรอบดา นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาและทกุ กลมุ เปาหมาย โรงเรียนมีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดานตามหลักสูตร สถานศกึ ษาที่หลากหลายและตอบสนองความตอ งการของผูเ รยี น โดยดำเนินงานตามโครงการพัฒนาวชิ าการ ที่เนนคุณภาพผูเรียน กิจกรรมพัฒนาหลักสูตร การสงเสริมและสนับสนุนความเปนเลิศทางวิชาการตาม ความสามารถและความถนัดของผูเรียน ดำเนินการอบรมครูทุกคน เพื่อใหมีความรูเกี่ยวกับหลักสูตร การ จัดการเรียนรทู ี่เนนคณุ ภาพ มีการทบทวน ปรับปรุงและพัฒนาหลักสตู รทุกป มีการจดั โครงการ/กิจกรรมเสริม หลักสูตรที่เชื่อมโยงชีวิตจริง เชน กิจกรรมวันวิชาการ “โรงเรียนาบอนพัฒนาวิชาการ สรางสรรคงาน สูมาตรฐานสากล” และโครงการ ๑ โรงเรียน ๑ อาชีพ : นาบอนบาติก เปนตน จัดโครงการสงเสริมและ สนับสนุนความเปนเลิศของนักเรียน เชน กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น กิจกรรมดานดนตรี กีฬา และนาฏศิลป เปนตน ๔. พัฒนาครูและบคุ ลากรใหมีความเชย่ี วชาญทางวิชาชพี สำหรับการพัฒนาครูและบุคลากรใหมีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี ตรงตามความตองการของ ครูและสถานศกึ ษา โดยไดดำเนนิ การ ดงั นี้ ดำเนินงานตามโครงการพัฒนาครูและบุคลากรใหม คี วามเชีย่ วชาญ ทางวิชาชพี กิจกรรมพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ดำเนนิ การสงเสรมิ และสนับสนนุ ใหครูและบุคลากร เขารวมการอบรมสัมมนา มีการศึกษาคนควา ดวยตนเอง จัดกิจกรรมศึกษาดงู านและรับการศึกษาดงู านจาก หนว ยงานตาง ๆ เพอ่ื ใหบ คุ ลากรไดมีโอกาสเรียนรูงานจากแหลงเรียนรูภายนอกสถานศึกษา มีกิจกรรมสราง ขวัญกำลังใจและยกยองเชิดชูเกียรติ มีการรายงานผลการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายบุคคล (T-SAR) นอกจากนี้ โรงเรียนไดจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอการเรยี นรูอยางมคี ุณภาพ และมีความปลอดภัย ๕. จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสงั คมทเี่ อื้อตอการจัดการเรยี นรูอยางมคี ุณภาพ โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอการจัดการเรียนรูอยางมี คุณภาพ โดยดำเนินงานตามโครงการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอการจัดการเรียนรู กิจกรรมพัฒนาอาคารสถานที่และสิ่งแวดลอม กิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศนและกิจกรรม ๕ ส. มีการจัด สภาพแวดลอ ม ใหม ีบรรยากาศรมรืน่ เปนธรรมชาติ มที ่ีนัง่ เพียงพอสำหรับนักเรยี น มอี าคารเรียน หองเรียน และแหลงเรียนรทู สี่ ะอาด ปลอดภัยและเพียงพอตอจำนวนนกั เรยี น รวมทง้ั จัดระบบสาธารณูปโภคตาง ๆ และ ๖. จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู โรงเรียนไดจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ เรียนรูที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา ตามโครงการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการ มีการจัดกิจกรรมปรับปรงุ และพัฒนาระบบสารสนเทศ กิจกรรมพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่อื การบริหาร จัดทำขอมูลนักเรยี นและบุคลากรดวยโปรแกรม DMC /EMIS มรี ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหกับ

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๑๙ - นักเรียน ครูและบุคลากร เพื่อใหมีความพรอมตอการใชงานในการบริหารจัดการและเอื้อตอการจัดกิจกรรม การเรียนรขู องนกั เรยี น ผลการดำเนนิ งาน ขอมูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษต ามตัวชว้ี ัด ประเด็นพิจารณาท่ี ๒.๑ มีเปาหมายวสิ ัยทัศนและพนั ธกิจที่สถานศกึ ษากำหนดชัดเจน โรงเรียนนาบอนมีเปาหมายที่ชัดเจน กลาวคือ ๑. ผูเรียนไดรับโอกาสทางการศึกษาอยางเสมอภาค ไดรับการดูแลชวยเหลือใหสามารถพัฒนาไดเต็มศักยภาพ ๒. หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู ไดรับการ พัฒนา เอื้อตอการพัฒนาผูเรียนใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู มีความสามารถในการคิดวิเคราะห แสวงหา ความรูด วยตนเอง มคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยีเพ่อื การเรียนรูและการดำรงชีพ ๓. นกั เรยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรม มที ักษะชวี ิต มวี ิถีชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บนพนื้ ฐานของความเปน ไทย ๔. ครู และบุคลากรทางการศึกษามีความรูความสามารถ ตามมาตรฐานวิชาชีพและมีจรรยาบรรณ ๕. ระดมสรรพ กำลังในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อใชในการบริหารจัดการ ๖. ใชเทคโนโลยีและหลักธรรมาภิบาล ในการ บรหิ ารการจดั การ วสิ ยั ทัศนข องโรงเรียน ภายในป ๒๕๖๕ โรงเรียนนาบอน มงุ พัฒนาผูเรียนใหม ีคณุ ภาพตาม มาตรฐานการศกึ ษาระดบั สากล มที กั ษะชีวิตและวถิ ีชวี ติ บนพ้ืนฐานของความเปน ไทย และพนั ธกจิ ของโรงเรียน ดังนี้ ๑. เรงรัดในการสรางโอกาสทางการศึกษา ใหสามารถใหบริการผูเรียนทุกกลุม ทุกประเภท อยางเสมอ ภาค ๒. พัฒนาผูเรียนใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู มีคุณภาพตามมาตรฐานระดับสากล มีวิถีชีวิตบนพื้นฐาน ของความเปนไทย ๓. ปลูกฝงผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีทักษะชีวิตเปนพลเมืองและพลโลกที่ดี ๔. พฒั นาบุคลากรใหเ ปนผูมีความรู ความสามารถ ตามมาตรฐานวิชาชพี และมีจรรยาบรรณ ๕. พฒั นาระบบการ บริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล ท่ีมีความสอดคลองกับบริบทของโรงเรียน ความตองการของชุมชน และทอ งถนิ่ ตอบสนองนโยบายของหนว ยงานตน สังกัด ทนั ตอการเปลี่ยนแปลงของสงั คมและใชเ ปน ตัวกำหนด ทิศทางการจัดการศึกษาโดยรวมของโรงเรียน มีการรองรับการปฏิบัติงานดวยแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ ๔ ป (พ.ศ.๒๕๖๒-๒๕๖๕) และแผนปฏิบัติการประจำปที่จะนำไปสูการลงมือปฏิบัติจริงของครูและ บคุ ลากร โดยมงุ ผลความสำเรจ็ ไปยงั คุณภาพผูเ รียน ทมี ผบู ริหารมีการบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษาอยาง เปนระบบ โดยใชห ลกั ธรรมาภิบาลและการมสี ว นรวมและมีระบบการนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตามอยา งเปน ระบบ โดย มีหลักฐานรองรับคือ แผนยุทธศาสตรและแผนปฏิบัตงิ านประจำปมีการรายงาน ประจำปแ ละรายงานโครงการ อยางตอเน่อื ง ประเดน็ พิจารณาที่ ๒.๒ มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา โรงเรียนสามารถบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอยางเปนระบบ โดยใชวงจรคุณภาพ (PDCA) มีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนำแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา มีการติดตามตรวจสอบประเมินผล และปรับปรุงพัฒนางานอยางตอ เน่อื ง มีการบรหิ ารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษาและระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน มีระบบการนิเทศภายในในสถานการณการแพร ระบาดเชื้อไวรสั โคโรนา (โควิด-19) และจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา เพ่ือนำขอมูลมาใช ในการพัฒนาบุคลากร และผูที่เกี่ยวของทุกฝายมีสวนรวมการวางแผน ปรับปรุง และพัฒนา และรวม รับผิดชอบตอผลการจดั การศกึ ษา โรงเรียนมีระบบดูแลชว ยเหลือนักเรียนภายใตสถานการณการแพรระบาดเช้ือไวรสั โคโรนา (โควิด-19) ดงั นี้ ๑. รจู กั นักเรียนเปนรายบุคคล ศึกษาและเก็บรวบรวมขอ มูลพ้ืนฐานของนกั เรยี นรายบุคคล ประเมิน SDQ , EQ การสงั เกตและบันทึกพฤติกรรม จัดกิจกรรมเยี่ยมบา นนักเรยี นภายใตสถานการณการแพรระบาด เชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19) ในรูปแบบออนไลน เพื่อรูจักนักเรียนเปนรายบุคคล คิดเปน ๑๐๐ % มีการ วิเคราะหข อมลู นักเรยี นเปนรายบุคคล รายงานผลและนำขอ มลู ไปใชใ นการดแู ลชว ยเหลือนักเรียน

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๒๐ - ๒. คดั กรองนกั เรยี น ดำเนินการคัดกรองนักเรยี นทกุ ดา นตามเกณฑท ีก่ ำหนด ไดแก ดานความสามารถ พิเศษ การเรียน สขุ ภาพ เศรษฐกจิ สวสั ดิภาพและความปลอดภยั พฤติกรรมการใชส ารเสพติด พฤติกรรม การใชค วามรนุ แรง พฤตกิ รรมทางเพศ การตดิ เกมและนกั เรียนท่มี คี วามตอ งการพิเศษ การใชเ คร่อื งมือสือ่ สาร อิเลก็ ทรอนิกส ๓. สงเสริมและพัฒนา โรงเรียนมีความมุงมั่นสรางคุณลักษณะในตัวของนกั เรียนใหเกิดคณุ ลักษณะ ๕ ประการ คือ เรยี นดี กฬี าเดน ทำงานเปน เนน คณุ ธรรม นำชุมชน และมนี โยบายในการสนับสนนุ การจดั กิจกรรมสงเสรมิ พฒั นาอยางหลากหลายในการพัฒนานักเรยี นทกุ คน ครอบคลุมทัง้ กลุมปกติ กลุมเส่ียง และ กลมุ มปี ญหา เพ่อื ใหนักเรยี นมีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคตามหลกั สตู รและมีทกั ษะชวี ติ สามารถนำไปใชใ นการ ดำเนินชีวิตประจำวัน โดยประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ผูปกครอง หนวยงานภายนอก ศิษยเกา โดยมอบหมายครทู ป่ี รึกษาจดั กิจกรรมโฮมรูมตามความตอ งการของผูเรยี น การจดั ประชุมผูป กครอง ช้ันเรียนภายใตส ถานการณก ารแพรระบาดเชือ้ ไวรัสโคโรนา (โควิด-19) ในรูปแบบออนไลน ครทู เ่ี กยี่ วของจัด โครงการโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ กิจกรรมแนะแนว โครงการพัฒนาความสามารถพิเศษของนักเรียนทุกป การศกึ ษาไดมกี ารสนับสนุนใหมีการตอยอดสงผลงานเขา ประกวดไดรบั รางวัลทง้ั ในระดับจังหวัด ระดับภาค และระดบั ประเทศ แตสำหรับปการศกึ ษานมี้ ีการแพรระบาดแพรระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19) โรงเรียน ไดปฏิบัติตามมาตรการปองกันโรคโควิด-19 จึงไมสามารถดำเนินการไดตามสถานการณปกติ นอกจากน้ี โรงเรียนไดจัดกิจกรรมสภานักเรียน ซึ่งนักเรียนมีบทบาทหนาที่ในการเปนผูนำในการดำเนินกิจกรรมเอง ทง้ั หมดตามโครงการวนั สำคัญตา ง ๆ และเปน วิทยากรใหความรูแกคณะกรรมการนกั เรยี นจากโรงเรียนอื่น ๆ ที่มาศึกษาดูงาน นอกจากนี้ในแตละปการศึกษาโรงเรียนมีการคัดเลือกและมอบเกียรติบัตรนักเรียนคนดีศรี นาบอนเพื่อยกยอ งและเชิดชูเกยี รติใหเ ปนแบบอยา งที่ดีแกนักเรียนคนอื่น ๆ ซึ่งสงผลใหนักเรยี นทุกคนมีการ พัฒนาตนเอง มที ักษะชีวติ และผา นการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค ๑๐๐ % ๔. ปอ งกันและแกไข มอบหมายใหค รทู ี่ปรกึ ษาไดกำกบั ดูแลนักเรียนกลุม เสี่ยง และมปี ญหาจากการ คัดกรอง โดยจัดกิจกรรมใหคำปรึกษาแกนักเรียน ใหความชวยเหลือนักเรียนเบื้องตน เชน ดานทุน ปจจัยพื้นฐาน ดานการเรียน ทั้ง online และ on site โดยประสานความรวมมือกับงานที่เกี่ยวของ ผูปกครองและหนว ยงานภายนอก ทำใหน ักเรียนไดรบั การดูแลเรื่องการเรียน พฤตกิ รรมการเรยี น onlineและ ปญ หายาเสพติด นอกจากน้ีโรงเรียนไดแ ตง ตง้ั คณะกรรมการเครือขา ยผูปกครองเฝาระวงั พฤติกรรม และชวย กำกับดูแลนกั เรียน ๕. สงตอ ครูที่ปรึกษาไดสงตอนักเรียนกลุมมีปญหาเรื่องการเรียนและพฤติกรรมการเรียน online ท่ีมปี ญ หาในการเรียน online ปญหาเศรษฐกจิ และพฤตกิ รรม สงผลใหระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษาเปน ไปตามเปา หมาย ประเด็นพิจารณาที่ ๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดานตามหลักสูตร สถานศึกษาและทกุ กลุมเปา หมาย โรงเรียนมีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการของผูเรียนรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลมุ เปาหมาย เชอ่ื มโยงกับชีวิตจรงิ โดยดำเนนิ งานตามโครงการพฒั นาวิชาการที่เนนคณุ ภาพผูเ รียน กิจกรรม พัฒนาหลักสูตร มีการสงเสริมและสนับสนุนความเปนเลิศทางวิชาการตามความสามารถและความถนัดของ ผเู รยี น มีระบบบรหิ ารจัดการเกีย่ วกบั งานวิชาการ ดังน้ี ในดานการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษากำหนดใหมี การจัดทำและพฒั นาหลกั สตู รทุกป เปนหลกั สูตรท่เี นน คุณภาพผูเรยี นรอบดานตามศักยภาพและตอบสนองตอ ความตอ งการของผูเรียน มีการจัดแผนการเรยี นโดยแบงตามศักยภาพของผเู รยี น ดังน้ี ระดับช้ันมัธยมศึกษา ตอนตน จัดเปนแผนการเรียนทั่วไป และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบดวย นักเรียนทั่วไป จัด โครงสรางหลักสูตรที่เนนศักยภาพของนักเรียน ๓ ดาน ไดแก โครงสราง ๑ เนนวิทยาศาสตร – คณิตศาสตร โครงสราง ๒ เนนคณิตศาสตร – ภาษาอังกฤษและโครงสราง ๓ เนนศิลปทั่วไป มีการบูรณาการสาระการ

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๒๑ - เรียนรูรวมกับเศรษฐกิจพอเพียง มีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่สงเสริมศักยภาพผูเรียน เชน กิจกรรม สภานักเรียน กิจกรรมชุมนมุ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู เปนตน สงเสริมและสนับสนุนการจัดการเรยี น การสอนรายวิชาการศกึ ษาคนควา ดวยตนเอง (Independent Study : IS ) สง ผลตอคุณภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยความรว มมือของผูท่เี กี่ยวของทุกฝาย มกี ารนำขอมลู มาใชในการปรับปรุงอยาง ตอ เนอ่ื ง ประเด็นพจิ ารณาท่ี ๒.๔ พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหมีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ โรงเรียนสงเสริม สนับสนุน พัฒนาครู ใหครูและบุคลากรทางการศึกษาพัฒนาตนเองเพื่อใหมีความ เชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่ตนสอนหรืองานที่ตนเองรับผิดชอบ สามารถเลื่อนหรือมีวิทยฐานะที่สูงขึ้น โดย ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาบุคลากรทั้งโรงเรียนเพื่อใหครูและบุคลากรทางการศึกษาพัฒนาตนเองอยาง ตอ เน่อื งทกุ ปก ารศึกษา สงเสริมใหค รูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามีความรูในวชิ าชพี โดยครทู กุ คนไดร ับเขารวม การอบรมสัมมนา มีการศึกษาคนควาดวยตนเอง รวมทั้งการพัฒนาตนเองอยางเปนระบบและตอเนื่องทุกป อยางนอ ย ๒๐ ช่วั โมงตอป ท้ังจากภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ครมู ีการรายงานผลการปฏิบตั งิ านและผล การประเมินตนเองรายบุคคล (T-SAR) ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง และจัดใหบุคลากรไดไปศึกษาดูงานนอกสถานที่ เพ่อื นำความรูมาปรับปรุง และพัฒนาตนเองในดานวชิ าชีพและเปน แนวทางในการจัดการเรยี นการสอนตอไป จัดใหมีชุมชนการเรยี นรูทางวิชาชีพเพื่อพฒั นางาน โดยสรางแนวทางปฏิบัติการขบั เคลื่อนกระบวนการ PLC ซึ่งเปนสวนหน่ึงของระบบเรียนรูอยางเปนระบบ สงผลใหโรงเรียนมีครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดรับการ พฒั นาตนเองเปน ไปตามเปา หมาย ประเดน็ พจิ ารณาท่ี ๒.๕ จดั สภาพแวดลอมทางกายภาพและสงั คมทเี่ ออื้ ตอการจัดการเรียนรูอยางมี คณุ ภาพ โรงเรียนจดั ใหมีสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอือ้ ตอ การจัดการเรียนรู ไดดำเนินการตาม หลกั PDCA โดยคำนึงถึงความสะดวก ปลอดภยั รม รนื่ ทันสมยั พรอ มใชง าน เชน การดำเนนิ โครงการจัดภาพ แวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอการจัดการเรียนรู กิจกรรมพัฒนาอาคารสถานที่และสิ่งแวดลอม เชน การปรับปรุงหองนำ้ นักเรยี น การปรบั ปรงุ ซอมแซมอาคารสถานที่ กิจกรรมปรบั ปรุงภูมทิ ศั นแ ละกิจกรรม ๕ ส. มกี ารจดั สภาพแวดลอมใหมีบรรยากาศรมรื่นเปน ธรรมชาติ มีทีน่ งั่ เพียงพอสำหรับนักเรยี น มอี าคารเรียน หองเรยี นและแหลงเรยี นรูทีส่ ะอาด ปลอดภัยและเพยี งพอตอ จำนวนนักเรียน ท้งั น้ี ในหองเรยี นทกุ หอง มีการ จดั ปา ยนิเทศ สือ่ การเรยี นรูทีเ่ อือ้ ตอการเรียนรู มกี ารปรบั เปลีย่ นปายนิเทศในหองเรียนอยางตอเน่ือง จัดใหมี หอ งสมดุ ทที่ นั สมยั มีหอ งปฏิบัติการเพียงพอ จัดหาวัสดุอปุ กรณท ี่เอ้อื ตอ การเรยี นรู และแหลงสืบคนขอมูลทาง อินเตอรเน็ตที่นักเรียนสามารถเขาถึงและใชประโยชนจากแหลงเรียนรูตาง ๆ ไดโดยงาย สงผลโรงเรียนมี สภาพแวดลอมทดี่ แี ละนกั เรยี นไดรบั ความสะดวก ปลอดภยั และเอื้อตอ การจดั การเรยี นรู ประเดน็ พจิ ารณาที่ ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการ จัดการเรียนรู โรงเรียนมีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู ท่ีเหมาะสม โดยมขี อ มลู สารสนเทศมีความถกู ตอ ง ครบถวน ทนั สมยั สามารถไปประยกุ ตใ ชไ ด มกี ารดำเนนิ งาน อยา งเปนระบบ ดงั น้ี มกี ารสนับสนนุ งบประมาณในการดำเนินการจัดซื้อ จดั หา ฮารดแวรและซอรฟแวร เพื่อ สนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู มีการวางแผนการบรหิ ารและการจัดการขอมูลสารสนเทศ อยางเปนระบบ หลักฐานและรอ งรอยมีดังน้ี โครงสรางการบริหารงาน, คำสั่ง, แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา, แผนปฏิบัติการประจาป, ขอมูลสารสนเทศ, รายงานประจำปของสถานศึกษา, รายงานการดำเนินโครงการ/ กจิ กรรม และพัฒนาครูใหม คี วามสามารถในการใชเทคโนโลยีในการจัดการเรยี นการสอน มสี ื่อ เทคโนโลยีทุก หองเรียน มคี อมพิวเตอร สำหรับหองปฏิบตั กิ าร และติดตงั้ TV LCD คอมพวิ เตอรหรอื คอมพิวเตอรโนตบุคใน หอ งพิเศษและหองปฏบิ ตั กิ าร จัดใหมหี องสืบคนสำหรบั ใหบรกิ ารแกนกั เรียน มเี ว็บไซตของโรงเรียนที่นำเสนอ

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๒๒ - ขอมูลขาวสารที่เปนปจ จุบัน ติดตั้งระบบสญั ญาณอินเตอรเน็ตเพื่อกระจายสัญญาณ WIFI ใหครอบคลุมท่ัวถงึ ภายในสถานศึกษา เพื่อใหครู นักเรียนและผูปกครองสามารถเขาถึงระบบสารสนเทศของโรงเรียนไดงายขึน้ สะดวกตอการติดตอประสานงานและอำนวยความสะดวกในดานตา ง ๆ ไดมากขึน้ และนำเทคโนโลยีเขามามี สวนรวมในการวัดและประเมินผลโดยการจัดทำการทดสอบดวยระบบออนไลนในทุกกลุมสาระการเรียนรู นอกจากน้ีโรงเรียนจัดทำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการโดยใชโปรแกรมตาง ๆ ในการบริหารจัดการดานตาง ๆ เชน การจัดทำขอมูลนักเรียนดวยโปรแกรม DMC และขอมูลบุคลากรดวย โปรแกรม EMIS เปนตน เพื่อรายงานขอมูลไปยังตนสังกัดดวยขอมูลที่เปนปจจุบัน จึงสงผลใหการบริหาร เปนไปดวยความสะดวก รวดเร็วและตรวจสอบได ๓. แผนการพัฒนาคณุ ภาพ เพือ่ ยกระดับใหส ูงข้ึน จุดเดน จดุ ท่คี วรพัฒนา โรงเรียนนาบอนมีหลักสูตรที่เนนคุณภาพ ๑. สรา งเครอื ขา ยความรว มมอื ของผมู ี ผูเรยี นรอบดาน มกี ารจัดกจิ กรรมทส่ี งเสรมิ ผูเรยี น เชน สวนเกี่ยวของในการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น กิจกรรมขับขานประสานเสียง กิจกรรมสภานักเรียน ใหมคี วามเขม แข็ง มีสวนรวมรับผดิ ชอบตอ กจิ กรรมดา นศลิ ปะ ดนตรีและกีฬา เชน นาบอนบาติก ผลการจัดการศึกษาและการขับเคลื่อนคุณภาพ วงโยธวาทิตและการแขงขนั กฬี าฟุตบอล ฟุตซอล การจัดการศกึ ษา มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน ผเู รียนเปน สำคญั ๑. ระดับคณุ ภาพ : ดี ๒. กระบวนการพฒั นา โรงเรียนนาบอน ไดดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศกึ ษาตามประเดน็ พิจารณา ดงั น้ี ๑. จดั การเรียนรูผา นกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง และสามารถนำไปประยกุ ตใชใ นชีวิตได โรงเรียนนาบอน ไดจัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการ เรียนรู ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา โดยดำเนินงานตามโครงการจัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและ ปฏบิ ตั ิจรงิ ไดแก กจิ กรรมพัฒนาและจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู มีกระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่มงุ เนน ใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดจริง ดำเนินการสงเสริมใหครูจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ มีการ วิเคราะหผูเรียนรายบุคคล นำขอมูลและผลจากการวิเคราะห มาออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ หลากหลายและตอบสนองตอ ความแตกตางระหวางบุคคล ครผู สู อนมแี ผนการจัดการเรยี นรูทีเ่ นนผูเรียนเปน สำคัญ การจัดการเรียนรูจากการปฏบิ ัตจิ ริง (Active Learning) และมีแผนการจัดการเรียนรูแ บบบูรณาการ กับเศรษฐกิจพอเพียง มีเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย รวมทั้งมีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรูและไดรับ รางวลั Best Practice ดา นการจดั การเรยี นรู การจดั โครงการ/กิจกรรมที่พฒั นาผูเรียน โดยผา นกระบวนการ คิดและปฏิบัติจริง ใหผูเรียนไดฝกทักษะการแสดงออก แสดงความคิดเห็น นำเสนอผลงานและสามารถนำไป ประยุกตใชในชีวิตประจำวนั ได เชน โครงการสงเสรมิ และพฒั นาศักยภาพนกั เรียนดานประชาธิปไตยของสภา นกั เรียน กิจกรรมพฒั นาความเปนผูนำ กจิ กรรมเลือกตั้งคณะกรรมการนักเรียน กจิ กรรมสง เสรมิ ประชาธิปไตย ในสถานศึกษา กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมกลุมสาระตาง ๆ กิจกรรมกลุมสัมพันธ กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรม

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๒๓ - สรางเสริมการเปนประชาคมอาเซียน กิจกรรมวันตรุษจีน กิจกรรมวันคริสตมาส กิจกรรมวันสารทเดือนสิบ ฯลฯ ๒. ใชส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง เรียนรูที่เอ้ือตอ การเรียนรู ครูใชสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหลงเรียนรู รวมทั้งภูมิปญญาทองถิ่นที่เอื้อตอการเรียนรู โดยสรางโอกาสใหผูเรียนไดแสวงหาความรูดวยตนเอง ดำเนินงานตามโครงการใชสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรูท ี่เอือ้ ตอการเรียนรู มีกิจกรรมศึกษาแหลงเรียนรูในชุมชน แนะแนวการศึกษาตอ การจัด ปายนิเทศ พฒั นาหอ งสมุด แนะแนวสัญจร ครใู ชส อื่ DLIT / Google App ในการจัดการเรยี นรใู หกบั นกั เรียน และมีการผลิตสื่อสำหรับการจัดการเรียนรู ตลอดจนสงเสริมและสนับสนุนใหผูเรียนไดรับความรูจาก หนวยงานภายนอกและการศกึ ษาแหลง เรยี นรภู ายนอกสถานศกึ ษา ๓. มีการบรหิ ารจดั การชัน้ เรียนเชิงบวก ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก นักเรียนมีเจตคติที่ดีรักที่จะเรียนรู และเรียนรูรวมกัน อยางมีความสุข โดยมีการดำเนินงานตามโครงการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวกทุกกลุมสาระการเรียนรู มี การบรหิ ารจดั การช้นั เรยี นดวยระบบดแู ลชวยเหลอื นกั เรยี น เชน การรูจกั นกั เรยี นเปนรายบุคคล มกี ารบริหาร จัดการชั้นเรียนดวยการเสริมแรง โดยเนนการปฏิสัมพันธระหวางครูกับผูเรียน ใหผูเรียนรักที่จะเรียนรูและ เรียนรูรวมกันอยางมีความสุข มีการจัดบรรยากาศในชั้นเรยี นใหเอื้อตอการเรียนรู จัดมุมความรูในหองเรียน และจดั แสดงผลงานนักเรยี น ๔. ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยา งเปนระบบ และนำผลมาพฒั นาผูเรยี น ครูมีกระบวนการตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ ใชเครื่องมือ วิธีการวัดและ ประเมินผลที่เหมาะสมและหลากหลายกับเปาหมายในการจดั การเรียนรู ใหข อ มลู ยอ นกลับแกผูเรียนและนำ ผลมาพฒั นาผูเรียน ดำเนนิ งานตามโครงการตรวจสอบและประเมินผูเรยี นอยางเปน ระบบ พัฒนางานวิจัยใน ชั้นเรียน หองเรียนปลอดศนู ย ร มส และ มผ มีการวิเคราะหผูเรียนเปนรายบุคคลในรายวชิ าทีส่ อน การวัด ประเมินผลตามสภาพจริงดวยเครื่องมือวัดผลและประเมินผลท่ีหลากหลายและเหมาะสม จัดกิจกรรมการ แลกเปล่ยี นเรยี นรูประสบการณใ นการจดั การเรยี นการสอนรวมกัน เพอื่ นำขอมลู ยอนกลบั ไปยงั ผเู รียน และมี การทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแกปญหาอยางเปนระบบ รวมทั้งใหคำปรึกษาแกนักเรียนเปนรายบุคคล เพ่ือ ปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนรูตอไป ตลอดจนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับ เพื่อ พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู โดยดำเนินงานตามโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู กิจกรรมการนิเทศ ภายใน โดยครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู ประสบการณในการจัดการเรียนการสอนรวมกัน เพื่อนำขอมูล ยอนกลบั ไปยังผเู รยี น และครูผูส อนไดรับการนเิ ทศการสอนอยางนอยภาคเรียนละ ๑ ครง้ั ผลการดำเนนิ งาน ขอ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษตามตวั ชว้ี ัด ประเด็นพิจารณาที่ ๓.๑ จัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไป ประยุกตใ ชในชวี ิตได โรงเรียนมกี ระบวนการจัดการเรียนการสอนที่สง เสริมใหผูเ รียนเกดิ การเรียนรูไดอ ยางแทจริง โดยครู ทุกคนจดั การเรยี นการสอนที่เนน ผเู รียนเปน สำคัญ จดั การเรียนรจู ากการปฏิบัติจรงิ (Active Learning) ทเ่ี นน กระบวนการเรียนรูมากกวาเนื้อหาวิชา ครูมีแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการกับเศรษฐกิจพอเพียง ท่ี สามารถนำไปประยุกตใชในชีวิตประจำวันได โดยรวมกันวิเคราะหหลักสูตร จัดทำแผนการเรียนรูตาม มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดของสถานศึกษา มีการวิเคราะหผูเรียนรายบุคคล นำขอมูลและผลจากการ วิเคราะห มาออกแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรูท่ีหลากหลายและตอบสนองตอความแตกตา งระหวางบุคคล เชน การจัดกิจกรรมการสอนแบบโครงงาน การศึกษาคน ควาในรายวิชา IS เปนตน ครูทุกคนใชรูปแบบการ สอนหรือเทคนิควิธกี ารสอนท่ีหลากหลายอยา งนอย ๑ รูปแบบ เชน การสอนโดยใชหมวก ๕ ใบ การสอนโดย

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๒๔ - โครงงาน การสอนโดยวธิ ีการสืบเสาะหาความรู ๕ ขน้ั ตอน (๕E) การสอนโดยใชบทบาทสมมติ การสอนโดยใช กระบวนการกลุมและการสอนแบบโยนิโสมนสิการ เปนตน ครูทุกคนมีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู มีการ เผยแพรนวัตกรรม สงผลใหครูผูสอนไดร ับรางวลั ดังนี้ รางวัลครูผูจัดการเรยี นการสอนออนไลนในสถานการณการแพร ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายใตแนวคิด “สอนดี เห็นผล คนชื่นชม” ประเภทครูผูสอน มัธยมศึกษาตอนปลายระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษานครศรธี รรมราช ปการศึกษา ๒๕๖๔ จากสำนักงานเขตพืน้ ที่ การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ จำนวน ๖ รางวัลรางวัลครู ผจู ดั การเรยี นการสอนออนไลนในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ภายใตแนวคิด “สอนดี เห็นผล คนช่นื ชม” ประเภทครผู สู อนมัธยมศึกษาตอนปลายระดับเขตพื้นท่กี ารศกึ ษานครศรีธรรมราช ปการศึกษา ๒๕๖๔ แบบคลิปสั้น ๕ นาที เมื่อวันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ จำนวน ๒ รางวัล และ รางวัลครูผูสอนยอดเยี่ยม“ครูผูมีจิตวิญญาณความเปนครู”ปการศึกษา ๒๕๖๔ จากสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช เมือ่ วันท่ี ๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ จำนวน ๓ รางวลั ประเด็นพิจารณาท่ี ๓.๒ ใชสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง เรยี นรูทีเ่ อ้อื ตอการเรียนรู ครูทุกคนใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ เอกสารประกอบการสอน แหลงเรียนรูและภูมิ ปญญาทองถ่ิน ที่เอื้อตอการเรียนรู สามารถผลิตสื่อการเรียนรูใหสอดคลองกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูในกลุมสาระการ เรียนรูท่ีรับผดิ ชอบ โดยสอ่ื การเรียนรูป ระกอบดว ย ใบงาน ใบความรใู บกิจกรรม แบบฝกทกั ษะ บัตร ภาพ บตั ร คำ คลปิ วดิ ีโอ เกมตาง ๆ หรือสอ่ื Social media เปน ตน นอกจากน้คี รูทุกคนจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรูเ พ่ือ สงเสรมิ ใหผเู รยี นไดเรียนรูจากแหลง เรยี นรูที่หลากหลาย ท้ังภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ใชสื่อ เทคโนโลยี ตาง ๆ ในการจัดการเรียนการสอนทีห่ ลากหลาย เชน การใชส ื่อ DLIT / Google App ในการจัดการเรยี นรูใน สถานการณก ารแพรร ะบาดโรคตดิ เชื้อโควิด-19 และสรางโอกาสใหผ ูเรียนไดแสวงหาความรูดว ยตนเองจากส่ือ ที่หลากหลาย มีการมอบหมายงานใหผูเรียนทำการศึกษาคนควาดวยตนเอง จากศูนยขอมูลสารสนเทศเพือ่ การเรียนรูและสงเสริมการใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรูในสถานศึกษา เชน ปายนิเทศ หองปฏิบัติการกลุม สาระการเรียนรู หองสมุดและแหลงเรียนรูทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา สงผลใหครูใชแหลงเรียนรูใน โรงเรียนและชุมชนอยางคุมคา เพื่อเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสวงหาความรูจากประสบการณตรงเปนไปตาม เปา หมายทตี่ ั้งไว ประเดน็ พจิ ารณาที่ ๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชงิ บวก ครทู กุ คนมีการบรหิ ารจัดการช้ันเรียนที่เปน ระบบ จัดทำเอกสารในชัน้ เรยี นอยางถกู ตอ งและครบถวน มีการวิเคราะหผูเ รียนรายบุคคล และนำผลมาออกแบบการจัดการเรยี นการสอนใหส อดคลอ งกับความสามารถ ความตอ งการและสภาพบริบทของนักเรียน มกี ารดแู ลชว ยเหลอื ผูเรียนดว ยระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน โดยมีการตดิ ตอสอื่ สารกับผูปกครองของนักเรียนในหลายชองทาง เชน ทางโทรศพั ท ทางเฟซบุค ไลน และมี การประชุมผูปกครอง เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลที่เกี่ยวของกับนักเรียนอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ครูทุกคนได ดำเนินการเยีย่ มบานนักเรยี นในความรับผิดชอบ ปการศึกษาละ ๑ คร้ัง และจัดทำขอมูลพืน้ ฐานของนกั เรยี น เปนรายบคุ คล ครูทุกคนมีการมกี ารบริหารจัดการชน้ั เรยี นดวยการเสรมิ แรง และมีการจดั กิจกรรมการเรียนรู และสภาพแวดลอมในหองเรียนใหเอื้อตอการเรียนรูของผูเรียน สงเสริมใหครูชมเชยยกยองนักเรียนเม่ือ นักเรียนทำความดีทั้งในหอ งเรียนและนอกหองเรียน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมอื่น ๆ ที่สงเสริมใหนักเรียนมา โรงเรยี นอยา งมคี วามสุข เชน กิจกรรมโฮมรูม การมอบเกียรติบัตรนกั เรยี นที่ทำความดีหรือไดรับรางวัลตาง ๆ เปนตน นอกจากน้ีครูและนักเรียนรวมกันสรางวินัยเชิงบวกใหเกิดข้ึนภายในหองเรียน โดยคำนึงถึงความ แตกตางระหวางบุคคล เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่จะอยูรวมกันอยางมีความสุขในโรงเรียน สงเสริมให นกั เรยี นรักทีจ่ ะเรยี นรแู ละเรียนรูรว มกนั อยา งมคี วามสุข สง ผลใหน กั เรียนมาโรงเรยี นอยางมคี วามสุข รักและ ผูกพันระหวา งเพือ่ น ครแู ละโรงเรยี น

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๒๕ - ประเดน็ พิจารณา ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผูเรยี นอยา งเปนระบบ และนำผลมาพฒั นาผูเรยี น ครูทุกคนมีการออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนอยางเปนระบบ สอดคลองกับ มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดตามหลักสูตรของโรงเรียน มีการวิเคราะหผูเรียนเปนรายบุคคลในรายวิชาที่ สอนโดยใชร ปู แบบพหปุ ญญา การเรียนรแู บบลีลา เปน ตน เพ่อื จำแนกนักเรียนตามศักยภาพการเรยี นรู มีการ ออกแบบการวดั ผลและประเมินผลการเรียนรูผูเรียนอยางเปน ระบบ โดยการจดั ทำแผนการวัดและประเมินผล มีการแบงสัดสว นของการประเมินผล ดังนี้ กอนกลางภาค กลางภาค หลังกลางภาคและปลายภาค ทั้งน้ียังมี การติดตามคะแนนครึ่งภาคของนักเรียน เพื่อติดตามพัฒนาการดานการเรียนของนักเรียน เพื่อติดตาม พัฒนาการดานการเรียนของนักเรียน ครูทุกคนใชเครื่องมือวัดผลและประเมินผลที่เหมาะสม มีคุณภาพและ หลากหลาย นำผลการเรยี นรูมาพัฒนาผเู รียน มีการใหข อมลู ยอ นกลับแกผเู รียน และการแจง ผลการประเมนิ ให ผปู กครองทราบและรว มกนั แกปญหา ตลอดจนมีการทำวจิ ัยในชั้นเรยี นและรายงานผลการวิจยั ในชั้นเรยี น เพอ่ื แกปญหาผูเรียนอยางเปนระบบ รวมทั้งการใหคำปรึกษาแกนักเรียนเปนรายบุคคล เพื่อปรับปรุงและ พัฒนาการจัดการเรียนรูตอไป ในขณะเดียวกนั ครูทุกคนมีการแลกเปล่ียนเรียนรเู ก่ียวกับปญหาทีเ่ กิดข้ึนจาก จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในกลุมสาระการเรียนรูที่รับผิดชอบ พัฒนาสื่อ/นวัตกรรมและแนวทางการ แกปญหา จัดทำแผนการจัดการเรียนรู สังเกตการสอนและสะทอนผลการสอนรวมกันในวันศุกรของทุก สัปดาห วันละ ๑-๒ ชั่วโมง อยางตอเนื่องและสม่ำเสมอ สามารถนำขอมูลมาปรับปรุงเพื่อพฒั นาการจัดการ กิจกรรมการเรียนการสอน นอกจากนี้ครูทุกคนไดรับการนิเทศการสอน อยางนอยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง นำผลการนิเทศมาใชปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นกับผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพและ ประสิทธผิ ลเปน ไปตามเปา หมายท่ีกำหนดไว ประเด็นพิจารณาที่ ๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู ครูทุกคนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกลุม ชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) เพื่อแลกเปลี่ยนเรยี นรู เกี่ยวกับปญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในกลุมสาระการเรียนรู มีการพัฒนาส่ือ นวตั กรรม และแนวทางการแกป ญ หา จัดทำแผนการจดั การเรียนรู มกี ารนเิ ทศภายใน อยางนอ ยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง โดยสังเกตการสอนและสะทอนผลการสังเกตการสอนรวมกัน เปนการนิเทศแบบ Buddy Teacher เพื่อเปนขอมูลสะทอนกลับเพื่อปรับปรุงการจัดการเรยี นรูใหมปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ขึน้ โรงเรียนไดแจง ขอมูล ยอนกลบั ใหนักเรียนทกุ คนและผูปกครองทราบ เพ่อื นำผลมาพฒั นาตนเอง โดยมกี ารแจงผลการทดสอบกลาง ภาคและผลคะแนนเม่ือสน้ิ ภาคเรียนในโปรแกรม SGS งานวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นแจงกำหนดการซอ ม เสริมและสอบแกคะแนน ครูที่ปรึกษาแจงขอมูลตาง ๆ กับผูปกครอง สงผลใหนักเรียนทุกคนทราบขอมูล ยอนกลับและการนำผลมาพัฒนาผูเ รยี นใหเกิดการเรยี นรูตามตัวชี้วัดของหลกั สูตรฯ ๓. แผนการพัฒนาคณุ ภาพเพอื่ ยกระดบั ใหส ูงข้นึ จดุ เดน จดุ ที่ควรพฒั นา ครมู ีความต้งั ใจ มงุ มนั่ ในการพัฒนาการสอน โดย ๑. โรงเรียนควรจัดทำแผนพัฒนานักเรียน จดั กจิ กรรมใหน กั เรยี นไดเรียนรโู ดยการคดิ ไดปฏิบตั ิจริง รายบุคคลและรายกลุม เพื่อสรางแรงจูงใจและ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนดวยระบบดูแลชวยเหลือ ภาพความสำเรจ็ ใหเกดิ ขึ้นอยา งตอเน่ือง เพ่อื นักเรียนที่เขมแข็งและมีประสิทธิภาพ นักเรียนมีสวน ยกระดับคณุ ภาพนกั เรยี นใหสูงย่ิงขึน้ รวมในการจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่เอื้อตอ ๒. การพัฒนานวัตกรรมที่ชวยแกปญหาหรือ การเรยี นรู สงเสรมิ ใหน กั เรยี นไดเรยี นรอู ยางเตม็ ศกั ยภาพ

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๒๖ - มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยรวม ๑. ระดับคณุ ภาพ ดี ๒. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนจัดการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จัด กระบวนการเรียนรดู ว ยวิธีการท่ีหลากหลาย สง เสรมิ และพัฒนานกั เรียนอยางเต็มศักยภาพ นกั เรียนมีทักษะ ในการอา นเขียนและการคำนวณ ทำงานเปนทีม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพือ่ การเรียนรูและแกปญหา รูจัก ใชเทคโนโลยีในการเรียนรูและนำเสนอผลงาน มีทักษะพื้นฐานและมีเจตคติท่ีดีตอ งานอาชพี รูจักสรางผลงาน จากการเขา รวมกจิ กรรม ภูมิใจในผลงานของตนเอง นักเรียนมีคณุ ลกั ษณะและคานยิ มที่ดี มีคุณธรรม มีความ ภมู ใิ จในทองถ่ินและความเปน ไทย ยอมรบั ทีจ่ ะอยูร ว มกันบนความแตกตางและความหลากหลาย มีความเปน ประชาธปิ ไตยในสถานศึกษา มนี ำ้ หนกั สว นสงู และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑม าตรฐาน รวมทัง้ ผูเ รยี น มีทักษะพื้นฐานทางดานกีฬา ดนตรีและนาฏศิลปและมจี ิตสาธารณะโดยการทำกิจกรรมเพื่อสังคม สงผลให นักเรยี นเปนคนดี คนเกงและมคี วามสุข มผี ลประเมินในรายมาตรฐานอยูในระดับดี โรงเรียนมีกระบวนการบริหารและการจัดการศึกษาของโรงเรียนนาบอน ใชรูปแบบ บริหารงานวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยมกี ารกำหนดเปา หมาย วสิ ยั ทศั นและพันธกจิ อยา งชดั เจน สอดคลอ งกับ ความตองการของชุมชน ทองถิ่น ตามบริบทของสถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน ตาม วัตถุประสงคของแผนการศึกษาชาติ นโยบายของรฐั บาลและตนสังกัด มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และปรับปรุง พัฒนางานอยางตอ เนื่อง การบรหิ ารทรัพยากรซ่งึ มอี ยูอยา งจำกัดดว ยความโปรง ใส วางแผนการ จัดอัตรากำลัง วางระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนและจัดระบบการนิเทศภายใน จัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ นำขอมูลมาใชในการพัฒนา โดยบุคลากรทุกฝายมีสวนรวมใน การวางแผน ดำเนินงาน ปรบั ปรุง พัฒนาและรับผดิ ชอบรวมกัน มกี ารดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการทเ่ี นนคุณภาพ ของผูเรียนรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุม เปาหมาย จดั สภาพแวดลอ มทางกายภาพและสังคม ที่เอื้อตอการจัดการเรียนรูอยางมีคุณภาพ ตลอดจนสงเสริมใหครูไดรับการพัฒนาใหมีความเชี่ยวชาญใน วิชาชีพครู จัดใหมีการพัฒนางานผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพครู (PLC) เปดโอกาสใหบุคลากรได แลกเปลี่ยนเรียนรูในทางวิชาชีพภายใตสถานการณการแพรระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19) เพื่อนำมา พฒั นางานและพัฒนาผเู รียน มผี ลประเมนิ ในรายมาตรฐานอยูในระดบั ดีเลิศ โรงเรียนมกี ระบวนการจดั การเรียนการสอนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของสถานศึกษา โดย การดำเนินงานโครงการและกิจกรรมอยางหลากหลาย เปดโอกาสผูเรียนมีสว นรวมในการเรียนรู มีการนิเทศ ภายในเพื่อมุงสงเสริมใหครูจัดการเรียนการสอนที่เนนการปฏิบัติ (Active Learning) เพื่อใหผูเรียนผาน กระบวนการคิด ปฏิบัติจริง จนนำไปสูการเรียนรูที่ลึกซึ้งและคงทน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร สถานศึกษา ดำเนินการตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบและนำผลมาพัฒนาผูเรียน รวมท้ัง รวมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู และนำผลที่ไดม าปรับปรงุ การจัดการเรียนรู ครูมีแผนการจัดการเรียนรูท ีส่ ามารถ นำไปใชไดจรงิ ครูใชสื่อและแหลงเรียนรู มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ครูรวมแลกเปล่ียนเรียนรูและ นำขอมูลมารวมพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรยี นรู ใชเครื่องมือ วิธีการวดั และประเมินผลที่เหมาะสมภายใต สถานการณการแพรระบาดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา (โควิด-19) ครผู ูสอนรว มกนั แลกเปล่ยี นความรแู ละประสบการณ โดยใชก ระบวนการ PLC เปนชุมชนแหง การเรยี นรทู างวิชาชีพ มีผลประเมนิ ในรายมาตรฐานอยูในระดับดี ๓. ผลการดำเนนิ งาน ขอ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ ตามตัวช้ีวัด จากผลการดำเนินงาน โครงการและกิจกรรมตาง ๆ สง ผลใหสถานศกึ ษาจดั การพัฒนาคุณภาพ

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๒๗ - การศึกษาประสบผลสำเร็จตามที่ต้งั เปา หมายไวในแตละมาตรฐาน จากผลการประเมนิ สรุปวาไดระดับดี ทั้งนี้ เพราะมาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผเู รียน อยูใ นระดับดี มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ อยูใน ระดบั ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นนผูเรยี นเปน สำคัญ อยใู นระดบั ดี ๔. แผนการพัฒนาคณุ ภาพเพ่อื ยกระดบั ใหสูงขึน้ ● ดา นคุณภาพผูเรียน จุดเดน จุดทีค่ วรพฒั นา ● ดา นคณุ ภาพผเู รียน ๑) นกั เรยี นโรงเรยี นนาบอนไดร ับการพฒั นา ๑) ควรมกี ารยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ความสามารถในการอา นเพอื่ การอานคลอง เขยี นคลอ ง ในทุกกลมุ สาระการเรยี นรูแกผเู รยี นในระดับ ม.๑-๖ อยางตอเน่อื ง ชั้น ม.๑–ม.๖ อยางตอเน่อื ง ๒) นกั เรียนสามารถสามารถในการสรา งช้ินงานหรอื การออกแบบผลิตภัณฑ ๓) นักเรียนทักษะพืน้ ฐานทางดานกีฬา ดานศลิ ปะ ดนตรแี ละนาฏศิลป ๔) นกั เรียนมกี ิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ● ดา นกระบวนการบริหารและการจัดการ ดานกระบวนการบริหารและการจัดการ ๑) ผูบริหารมีความตั้งใจ มีความมุงมั่น มีหลักการ ๑) สรางเครือขายความรวมมือกับผูมีสวน บริหารโดยใชหลักธรรมภิบาลและการมีสวนรวมมี เกี่ยวของในการจัดการศึกษาของโรงเรียนใหมี วิสัยทัศนท ่ีดีในการบริหารงาน สามารถเปนแบบอยางท่ี ความเขม แขง็ มสี วนรว มรับผิดชอบตอผลการจัด ดใี นการทำงานคณะผบู รหิ ารโรงเรียนและคณะกรรมการ การศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัด สถานศกึ ษา มีความต้งั ใจและมีความพรอ มในการปฏิบัติ การศกึ ษา หนาท่ีตามบทบาท ๒) โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอยางเปน ระบบ มีแผนพัฒนาคุณภาพการจัดก ารศึก ษา แผนปฏิบัติการประจำปที่สอดคลองกับผลการจัด การศึกษา ที่มุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีคุณภาพตาม มาตรฐานหลักสูตรของสถานศึกษา ครูผูสอนสามารถ จัดการเรียนรูไดอยางมีคุณภาพ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน และจัดทำ รายงานผลการจัดการศึกษา และโรงเรยี นไดใชกระบวน วิจัยในการรวบรวมขอมูลมาใชเปนฐานในการวางแผน พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ● ดา นกระบวนการจดั การเรยี นการสอน ดา นกระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน ที่เนน ผูเรยี นเปน สำคญั ผเู รียนเปน สำคัญ ๑) ครมู กี ารพฒั นาวธิ ีการสอนท่หี ลากหลาย ๑) ครมู ีความต้ังใจ มุงม่นั ในการพัฒนาตนเองและ ๒) ครูมีการพฒั นานวตั กรรมและวิจยั ดา นการ พฒั นาทางวิชาชีพ มคี วามตง้ั ใจ มุง มนั่ ในการปฏิบัติ จดั การเรยี นรู เพ่ือพฒั นาผเู รียน หนาท่ีอยา งเต็มเวลาและความสามารถ ๒) ครูมีการบริหารจัดการชัน้ เรยี นดว ยระบบดูแล ชวยเหลอื นักเรียนที่เขม แขง็ และมีประสิทธิภาพ

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๒๘ - การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพและโอกาสในการพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา แบบบันทึกการวเิ คราะหประสทิ ธิภาพ และโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศกึ ษา ปการศกึ ษา ๒๕๖๔ ชื่อสถานศึกษา........นาบอน..........................................สงั กัด........สพม.นครศรธี รรมราช........................................................... คำช้ีแจง ใหส ถานศึกษา ทำเครือ่ งหมาย  ในชอ งทส่ี อดคลองกับสภาพบรบิ ทของสถานศกึ ษา 1. ระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน 1) ความพรอ มดานปจจัยนำเขา (Input) ระดับ รายการ แนวการพจิ ารณา ความพรอม ดา นกายภาพ  มีการจัดหอ งเรียน ครบตามระดับชั้นท่ีเปดสอน 3 มาก 1) การจดั หองเรียนตอ ระดับชัน้  มีการจัดหอ งเรยี น แบบคละช้ัน 2 ระดับชั้น 2 ปานกลาง  มีการจัดหองเรียน แบบคละช้ันมากกวา 2 ระดับชน้ั 1 นอย 2) หอ งปฏบิ ัติการ/หองพิเศษ /  มีหองปฏบิ ัตกิ าร/หอ งพิเศษ/แหลง เรียนรูเ พยี งพอและ 3 มาก แหลงเรียนรูในโรงเรยี น พรอ มใชงาน  มหี อ งปฏิบัตกิ าร/หอ งพเิ ศษ/แหลง เรียนรูเพียงพอแตไม 2 ปานกลาง พรอมใชงาน หรือมไี มเพยี งพอแตพ รอมใชง าน  มีหอ งปฏิบัตกิ าร/หองพิเศษ/แหลง เรียนรูไมเพยี งพอ 1 นอย และไมพ รอ มใชง าน 3) ส่อื เทคโนโลยีประกอบ  มีสอ่ื เทคโนโลยีสง เสริมการเรยี นรอู ยา งหลากหลาย และ 3 มาก การเรียนการสอน ครบทกุ กลุมสาระการเรยี นรู  มสี ื่อเทคโนโลยีสงเสริมการเรียนรูอยา งหลากหลาย แต 2 ปานกลาง ไมค รบทกุ กลมุ สาระการเรยี นรู  มีสอื่ เทคโนโลยสี ง เสริมการเรียนรูไมหลากหลาย และไม 1 นอ ย ครบทุกกลมุ สาระการเรยี นรู ดา นบุคลากร  มีผอู ำนวยการสถานศึกษา 1) ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา  มผี รู กั ษาการในตำแหนงผูอำนวยการสถานศึกษา 3 มาก 2 ปานกลาง  ไมมผี ูอำนวยการ/ผูรกั ษาการในตำแหนง ผอู ำนวยการ 1 นอย สถานศึกษา 2) จำนวนครู 3 มาก  มีจำนวนครูครบทุกระดับช้ัน และทุกรายวชิ า  มีจำนวนครูครบทุกระดบั ช้นั แตไ มค รบทุกรายวชิ า หรอื มี 2 ปานกลาง ครูไมค รบทุกระดับชั้นแตค รบทุกรายวิชา  มีจำนวนครูไมค รบทุกระดับช้นั และไมค รบทุกรายวิชา 1 นอย 3) จำนวนชว่ั โมงเฉลี่ยการพัฒนา  มชี ั่วโมงเฉลย่ี ตง้ั แต 20 ช่วั โมงขนึ้ ไป ตนเองของครรู ะดับการศึกษา  ชวั่ โมงเฉลีย่ ระหวาง 10 - 19 ชั่วโมง 3 มาก ขั้นพื้นฐาน ทั้งหมดใน  มีช่วั โมงเฉลีย่ นอยกวา 10 ชว่ั โมง 2 ปานกลาง ปก ารศึกษาทผ่ี านมา 1 นอ ย 4) จำนวนชัว่ โมงเฉล่ียการเขา  มีชั่วโมงเฉล่ยี ตงั้ แต 50 ชวั่ โมงขน้ึ ไป 3 มาก รวมกิจกรรม PLC ของครู  มีชั่วโมงเฉลี่ยระหวาง 25 - 49 ชวั่ โมง ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  มีช่ัวโมงเฉล่ียนอ ยกวา 25 ช่ัวโมง 2 ปานกลาง 1 นอย

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๒๙ - รายการ แนวการพิจารณา ระดบั ความพรอ ม ทั้งหมดในปการศึกษา ทีผ่ านมา  มีบุคลากรสนบั สนนุ งานวิชาการ และธุรการ 6) บุคลากรสนับสนนุ 3 มาก  มบี ุคลากรสนับสนุนงานวชิ าการ หรือธุรการ 2 ปานกลาง  ไมมีบุคลากรสนับสนุน 1 นอย 7) ของบุคลากรเกี่ยวกับการ  มกี ารประชุม/อบรม/แลกเปลย่ี นเรียนรู เรอื่ งการประกนั 3 มาก ประกันคุณภาพการศึกษา คุณภาพฯ กับครูทุกคน ในปการศึกษาทีผ่ า นมา  มกี ารประชุม/อบรม/แลกเปลี่ยนเรยี นรู เรือ่ งการประกนั 2 ปานกลาง คณุ ภาพฯ กบั ครทู ร่ี บั ผดิ ชอบงานประกันคุณภาพการศกึ ษา  ไมม กี ารประชมุ /อบรม/แลกเปล่ยี นเรียนรู เรอื่ งการ 1 นอย ประกนั คณุ ภาพฯ ดานการสนับสนนุ จากภายนอก 1) การมสี ว นรว มของผปู กครอง  ผปู กครองรอยละ 80 ขนึ้ ไป เขา รว มประชุมหรือกจิ กรรม 3 มาก ของสถานศึกษา  ผปู กครองรอยละ 50 - 79 เขารวมประชุมหรือกิจกรรม 2 ปานกลาง ของสถานศึกษา  ผปู กครองนอยกวารอยละ 50 เขารวมประชมุ หรือ 1 นอย กจิ กรรมของสถานศกึ ษา 2) การมีสวนร วมของคณะ  คณะกรรมการสถานศึกษาเขา รวมประชมุ กบั สถานศึกษา 3 มาก กรรมการสถานศึกษาข้ัน อยา งนอ ย 4 ครั้งตอป พน้ื ฐาน  คณะกรรมการสถานศึกษาเขารว มประชุมกับสถานศึกษา 2 ปานกลาง 2-3 ครัง้ ตอ ป  คณะกรรมการสถานศกึ ษาเขารวมประชุมกบั สถานศึกษา 1 นอ ย นอยกวา 2 ครงั้ ตอ ป 3) การสนับสนุนจากหนวยงาน /  ไดร ับการสนับสนนุ เพียงพอ และสงผลตอ การพัฒนา 3 มาก องคก รที่เกีย่ วขอ ง สถานศกึ ษา  ไดร ับการสนับสนนุ เพียงพอ แตไ มสงผลตอการพัฒนา 2 ปานกลาง สถานศึกษาหรือ ไดร บั การสนับสนุนไมเพียงพอ แตส งผล ตอ การพัฒนาสถานศึกษา  ไดรับการสนับสนนุ ไมเ พียงพอ และไมส ง ผลตอการ 1 นอ ย พัฒนาสถานศกึ ษา สรุประดับความพรอ ม มคี วามพรอมอยใู นระดับมาก ......๑......๒..๐...... รายการ มคี วามพรอมอยูในระดับปานกลาง รายการ มคี วามพรอ มอยใู นระดบั นอ ย .......... รายการ

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๓๐ - ภาคผนวก

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๓๑ - เปา หมายความสำเร็จตามมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน แนบทายประกาศโรงเรียนนาบอน เร่อื ง กำหนดเปา หมายความสำเรจ็ ตามมาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ฉบบั ลงวนั ที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ----------------------------------------------------------------- มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๔ มีจำนวน ๓ มาตรฐาน ไดแ ก มาตรฐานการศกึ ษา เปา หมาย มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู รยี น ดี มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดีเลิศ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน ผเู รยี นเปนสำคญั ดี โดยแตล ะมาตรฐานมีรายละเอยี ดดงั น้ี มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู รียน ๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผูเ รยี น ๑) มคี วามสามารถในการอา น การเขยี น การส่ือสารและการคิดคำนวณ ๑.๑ นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี ๑-๖ รอ ยละ ๖๕ มผี ลการพัฒนาการอานเพือ่ การอาน คลองเขยี นคลอ ง ม.1-6 อยูในระดับดีขึน้ ไป ๑.๒ นกั เรยี นรอยละ ๗๐ มคี วามสามารถในการเขียน อยูใ นระดบั ดขี นึ้ ไป ๑.๓ นกั เรยี นรอยละ ๖๕ มีความสามารถในการสอื่ สาร อยูในระดับดขี ึ้นไป ๑.๔ นักเรียนรอยละ ๖๐ มคี วามสามารถในการคิดคำนวณ อยูใ นระดบั ดขี ึน้ ไป ๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี น ความคิดเหน็ และแกป ญ หา ๒.๑ นกั เรยี นรอ ยละ ๘๕ มผี ลการประเมินสมรรถนะ อยใู นระดบั ดีขึน้ ไป ๓) มคี วามสามารถในการสรา งนวตั กรรม ๓.๑ นกั เรยี นมคี วามสามารถในการสรา งชน้ิ งาน และการออกแบบผลิตภัณฑจ าก กจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารูและโครงการ ๑ โรงเรียน ๑ อาชีพ : นาบอนบาติกได ๓.๒ นกั เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู การทำงานเปนทีม สรางสรรค ส่งิ ใหม ๆ ได ๔) มีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ๔.๑ นกั เรียนมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศดว ยโปรแกรมคอมพิวเตอร ตามท่กี ำหนดในหลกั สูตร การสืบคน ขอ มลู และนำเสนอผลงานของตนเองได ๕) มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา ๕.๑ นกั เรียนรอ ยละ ๗๐ มีผลการเรียนเฉลีย่ รายวชิ าภาษาไทย ระดบั ๓ ขึน้ ไป ๕.๒ นกั เรยี นรอยละ ๕๐ มผี ลการเรยี นเฉลี่ยรายวิชาคณิตศาสตร ระดบั ๓ ขึ้นไป ๕.๓ นักเรยี นรอ ยละ ๗๐ มีผลการเรียนเฉล่ียรายวิชาวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ระดบั ๓ ขนึ้ ไป

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๓๒ - ๕.๔ นักเรียนรอ ยละ ๕๐ มผี ลการเรยี นเฉลีย่ รายวิชาภาษาตา งประเทศ ระดับ ๓ ข้นึ ไป ๕.๕ นกั เรยี นรอยละ ๗๐ มผี ลการเรียนเฉลยี่ รายวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับ ๓ ขึน้ ไป ๕.๖ นกั เรียนรอยละ ๗๕ มผี ลการเรียนเฉล่ยี รายวชิ าสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ระดับ ๓ ขน้ึ ไป ๕.๗ นักเรยี นรอ ยละ ๗๕ มีผลการเรยี นเฉล่ียรายวิชาการงานอาชีพ ระดบั ๓ ข้นึ ไป ๕.๘ นกั เรยี นรอ ยละ ๗๕ มผี ลการเรยี นเฉล่ยี รายวิชาศิลปะ ระดบั ๓ ขน้ึ ไป ๕.๙ นักเรยี นรอ ยละ ๖๕ มผี ลการเรยี นเฉลีย่ ทกุ รายวชิ า ระดบั ๓ ข้ึนไป ๖) มคี วามรู ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคติทดี่ ตี องานอาชพี ๖.๑ นักเรยี นมีความรแู ละทักษะพ้ืนฐานและเจตคติทด่ี ีตอ งานอาชีพ ๖.๒ นกั เรยี นมีความรพู ้ืนฐานทางดา นบาติก จากกจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารูแ ละโครงการ ๑ โรงเรียน ๑ อาชพี : นาบอนบาติก ๖.๓ นกั เรียนมีความรูพ้ืนฐานทางดานเศรษฐกิจพอเพียง ๑.๒ คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคของผเู รียน ๑) การมีคุณลักษณะและคานิยมที่ดตี ามท่ีสถานศกึ ษากำหนด ๑.๑ นกั เรยี นรอ ยละ ๗๕ มีผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค ในระดับดีขึ้นไป ๒) ความภูมใิ จในทองถ่นิ และความเปน ไทย ๒.๑ นักเรียนเขารว มกจิ กรรมในวันแมแหงชาติ วันพอแหงชาติ วันสารทเดือนสิบ และ วันสำคัญทางศาสนา เปน ตน ๓) การยอมรับท่ีจะอยูร วมกนั บนความแตกตา งและหลากหลาย ๓.๑ นกั เรยี นสามารถอยรู ว มกนั อยา งมีความสุขดวยกระบวนการประชาธิปไตย ๓.๒ นักเรียนสามารถอยูรวมกนั บนความแตกตางของวัฒนธรรมและสงั คม ทห่ี ลากหลาย ๔) สขุ ภาวะทางรา งกายและจิตสังคม ๔.๑ นักเรยี นรอยละ ๖๐ มนี ำ้ หนักและสวนสูงตามเกณฑข องกรมอนามัย ๔.๒ นักเรยี นมที ักษะพ้ืนฐานทางดา นกฬี า ศิลปะ ดนตรแี ละนาฏศิลป ๔.๓ นกั เรยี นผา นการประเมนิ กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๒.๑ มีเปาหมายวสิ ยั ทศั นและพันธกจิ ท่ีสถานศึกษากำหนดชดั เจน ๒.๑.๑ โรงเรยี นมเี ปาหมายท่ีชัดเจน ๒.๑.๒ โรงเรียนมีวสิ ยั ทัศนแ ละพนั ธกจิ ของโรงเรยี น ภายในป ๒๕๖๕ ๒.๒ มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ๒.๒.๑ โรงเรียนมรี ะบบการบรหิ ารจัดการ โดยใชหลกั ธรรมาภิบาลและการมีสวนรวม ๒.๒.๒ โรงเรยี นมีระบบนิเทศภายใน ๒.๒.๓ โรงเรียนมรี ะบบดูแลชวยเหลือนักเรียน ๒.๒.๔ โรงเรียนมีระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาทม่ี ีประสิทธิภาพ ๒.๓ ดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการท่เี นน คณุ ภาพผูเรยี นรอบดานตามหลักสตู รสถานศึกษา และทกุ กลมุ เปาหมาย ๒.๓.๑ โรงเรียนมหี ลกั สตู รสถานศึกษาที่หลากหลายและตอบสนองตอ ความตอ งการของ ผเู รยี น ผปู กครอง ชุมชนและสอดคลองกับแผนการศกึ ษาชาติ

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๓๓ - ๒.๓.๒ สง เสริมและสนับสนุนความเปนเลิศทางวิชาการตามความสามารถและความถนัด ของผูเรียน ๒.๔ พัฒนาครูและบคุ ลากรใหมีความเชีย่ วชาญทางวิชาชพี ๒.๔.๑ ครูทกุ คนมีรายงานผลการปฏบิ ตั ิและผลการประเมนิ ตนเองรายบคุ คล (T-SAR) อยางนอ ย ๒ คร้ังตอป ๒.๔.๒ ครทู กุ คนไดรับการพฒั นาทางวิชาชีพอยา งนอย ๒๐ ชว่ั โมงตอ ป ๒.๕ จัดสภาพแวดลอ มทางกายภาพและสงั คมที่เอื้อตอ การจดั การเรยี นรอู ยา งมคี ณุ ภาพ ๒.๕.๑ โรงเรียนมีอาคารเรยี น หองเรียนและแหลง เรยี นรทู ่สี ะอาดและปลอดภยั ๒.๕.๒ โรงเรยี นจดั สภาพแวดลอมและระบบสาธารณปู โภคทเี่ ออ้ื ตอ การเรียนรู ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู ๒.๖.๑ โรงเรียนมรี ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศที่พรอ มในการบริหารจดั การ ๒.๖.๒ โรงเรยี นมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีพรอ มใชในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน ผเู รยี นเปน สำคัญ ๓.๑ จัดการเรยี นรผู านกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใชใ นชีวติ ได ๓.๑.๑ ครูทุกคนมแี ผนการจดั การเรยี นรทู ่เี นน ผูเรยี นเปนสำคญั แผนการจัดการเรยี นรู แบบบรู ณาการกับเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนำไปประยุกตใ ชในชีวติ ประจำวนั ได ๓.๑.๒ ครูทุกคนใชรูปแบบการสอน/เทคนิควธิ ีการสอนท่หี ลากหลายอยางนอ ย ๑ รปู แบบ ๓.๑.๓ ครทู ุกกลมุ สาระไดร ับรางวลั Best Practice ดานการจดั การเรียนรู ๓.๒ ใชส ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง เรยี นรทู เ่ี อ้ือตอการเรยี นรู ๓.๒.๑ ครูทุกคนใชส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลงเรยี นรูภ ูมปิ ญญาทองถ่นิ ที่เอ้ือตอ การเรียนรู ๓.๒.๒ ครูทุกกลุมสาระการเรียนรใู ชส่อื DLIT / Google App ในการจดั การเรยี นรู ๓.๒.๓ ครูทกุ กลมุ สาระเรียนรูผลติ สอ่ื สำหรบั การจดั การเรียนรู ๓.๓ มีการบริหารจัดการชน้ั เรียนเชิงบวก ๓.๓.๑ ครูทกุ คนบรหิ ารจดั การชน้ั เรียนดวยระบบดูแลชวยเหลือนักเรยี น ๓.๓.๒ ครูทกุ คนสามารถจัดบรรยากาศช้นั เรยี นทีเ่ อือ้ ตอ การเรียนรู ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผเู รยี นอยางเปนระบบ และนำผลมาพฒั นาผูเ รยี น ๓.๔.๑ ครูทกุ คนมีการวเิ คราะหผเู รียนเปนรายบคุ คลในรายวิชาท่ีสอน ๓.๔.๒ ครูทุกคนมีการประเมนิ ผลผูเ รยี นตามสภาพจรงิ ดวยเครือ่ งมือวัดผลและ ประเมนิ ผลทม่ี ีคุณภาพและหลากหลาย ๓.๔.๓ ครูทุกคนมีการทำวจิ ัยในชน้ั เรยี น ๓.๕ มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรแู ละใหข อ มูลสะทอนกลับเพ่อื พฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรู ๓.๕.๑ ครูทุกคนมีการแลกเปล่ียนเรียนรปู ระสบการณใ นการจัดการเรยี นการสอน (PLC) และนำขอ มูลมาปรับปรงุ เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรู ๓.๕.๒ ครูทุกคนไดรับการนเิ ทศการสอน อยางนอยภาคเรยี นละ ๑ คร้งั

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๓๔ - คำส่ังโรงเรยี นนาบอน ที่ 140/2564 เรอื่ ง แตงตงั้ คณะกรรมการดำเนินงานประกนั คณุ ภาพการศึกษาและประเมินคุณภาพภายใน ประจำปการศกึ ษา 2564 ............................................. เพื่อใหการดำเนินงานวางแผนการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาและการประเมิน ภายในเพื่อเปนการทบทวนปรับปรงุ คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนนาบอน ประจำปการศึกษา ๒๕๖๔ และจัดทำรายงานการประเมินตนเองทีส่ ะทอนคุณภาพผูเรียนและผลสำเร็จของการบริหารจัดการศึกษา เพื่อนำเสนอตอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและหนวยงานตนสังกัด เผยแพรรายงานตอ สาธารณชนและหนว ยงานที่เกี่ยวของ และเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกตอไป อาศัยอำนาจ ตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๙ (๓) มาตรา ๓๑ และมาตรา ๔๘ แหงพระราชบัญญัติการศึกษา แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ จึงขอประกาศแตงตั้งคณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาและ ประเมินคุณภาพภายในของโรงเรยี น ดังน้ี ๑. คณะกรรมการอำนวยการ มหี นาท่ี ใหคำปรึกษา แนะนำ อำนวยความสะดวก ตดิ ตามการ ดำเนนิ งานของทกุ ฝาย ประกอบดวย ๑) นายเดโช หนูทอง ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาประธานกรรมการ ๒) นายวิชัย ราชธานี ผอู ำนวยการสถานศึกษา รองประธานกรรมการ ๓) นายสมพงษ ศรจี นั ทร รองผูอำนวยการสถานศึกษา กรรมการ ๔) นายกนั ตพงษ ดำรักษ รองผอู ำนวยการสถานศึกษา กรรมการ ๕) นายอดุ มรตั น สุขสม ครู กรรมการ ๖) นายวันทยา ชำนาญกิจ ครู กรรมการ ๗) นางสาววาสนา รตั นพันธ ครู กรรมการ ๘) นางจิตตินันท รตั นบุรี ครู กรรมการและเลขานกุ าร ๙) นางทติ ยา วรรณบวร ครู กรรมการและผูช ว ยเลขานกุ าร ๒. คณะกรรมการจดั เตรยี มขอมลู พื้นฐาน มหี นา ท่ี จดั เตรยี มขอมลู ทว่ั ไป ขอมูลผบู รหิ าร ขอ มูล โรงเรียน ขอมูลบุคลากร อาคารสถานที่ ขอมูลสภาพชุมชน โครงสรางหลักสูตร แหลงเรียนรู ภูมิ ปญญาทองถิ่น ผลงานดีเดนในรอบปที่ผานมา ผลการประเมินภายในรอบปที่ผานมา ผลการประเมิน ภายนอก ขอเสนอแนะ ปญหา อุปสรรค จุดเดน จุดดอย กรอกขอมลู หรือเขียนบรรยายตามหัวขอท่ี ไดร ับมอบหมาย และสงใหกับผูเกบ็ รวบรวมขอมลู ภายในวนั เวลาทกี่ ำหนด ประกอบดวย ๑) นางจิตตนิ นั ท รัตนบรุ ี หัวหนา ๒) นางทติ ยา วรรณบวร ผชู วย ๓) นางสดศรี แผน ทอง ผูชวย ๔) นางณฏั ฐว รรณ ศรีแกว ผูชว ย ๕) นางสาวอาพนั ธชนก วิวรรณ ผูช ว ย

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๓๕ - ๓. คณะกรรมการพัฒนาคณุ ภาพตามแผนปฏิบัติการประจำป มีหนา ที่ สรุปผลการดำเนนิ งาน ตามแผนปฏิบัติการของโรงเรยี น ประจำปการศึกษา ๒๕๖๔ ตามกรอบที่กำหนดที่สอดคลองกับการ รายงานผลการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา จัดทำขอมลู สง ใหกับผูรายงานขอมูลภายในวัน เวลาท่กี ำหนด ประกอบดวย ๑) นางสาววาสนา รัตนพันธ หวั หนา ๒) นางทัศนยี  รัตนพันธ ผชู วย ๓) นางสาวออ ย นรทิ ธกิ ลุ ผูชวย ๔) นางปราณี สุวรรณชัย ผชู ว ย ๕) นางทิตยา วรรณบวร ผูชวย ๖) นางจติ ตนิ ันท รัตนบุรี ผูชว ย ๗) นางสดศรี แผนทอง ผูชว ย ๘) นางณัฏฐว รรณ ศรีแกว ผูชว ย ๙) นางสาวอาพนั ธช นก วิวรรณ ผูชว ย ๔. คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา มีหนา ที่ ประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายในของ โรงเรยี นนาบอนตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ๓ มาตรฐาน บันทึกขอมูล คิดคำนวณ แปล ผลขอ มูลตามแบบฟอรม ทก่ี ำหนด ดงั นี้ ๑) นางทิตยา วรรณบวร หวั หนา ๒) นางจติ ตินันท รตั นบรุ ี ผูชวย ๓) นางสดศรี แผนทอง ผูชวย ๔) นางณฏั ฐวรรณ ศรีแกว ผูชวย มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผูเรียน คณะกรรมการอำนวยการ มีหนาที่ กำกบั ดูแล สงเสริม สนบั สนุน และติดตามผล การเกบ็ รวบรวมขอมลู ของคณะกรรมการดำเนินงานในแตล ะตวั ชว้ี ดั ใหถูกตอง ครบถวน สมบูรณ ๑) นายวิชัย ราชธานี ประธานกรรมการ ๒) นายสมพงษ ศรีจันทร รองประธานกรรมการ ๓) นายกนั ตพงษ ดำรกั ษ กรรมการ ๔) นายอุดมรัตน สุขสม กรรมการ ๕) นายวนั ทยา ชำนาญกิจ กรรมการ ๖) นางสาววาสนา รตั นพันธ กรรมการ ๗) นางจิตตินันท รตั นบรุ ี กรรมการและเลขานกุ าร ๘) นางทิตยา วรรณบวร กรรมการและผชู วยเลขานุการ คณะกรรมการดำเนนิ งาน มหี นา ท่ี รวบรวมขอ มูลและเอกสารท่ีเก่ยี วขอ งในแตล ะตัวชี้วดั ใหเ ปนระบบและงา ยตอ การสบื คน เพอ่ื รองรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายใน ๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู รยี น ขอ ๑ มีความสามารถในการอาน การเขียน การส่ือสารและการคดิ คำนวณ ประกอบดวย ๑) นายวันทยา ชำนาญกจิ หัวหนา ๒) นางปราณี สุวรรณชยั ผชู วย ๓) นางทิพยอุษา ชูพงศ ผชู ว ย ๔) นางอนสุ รา ปาหนิ า ผูช ว ย

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๓๖ - ๕) นายชพี สวุ รรณชัย ผูชว ย ๖) นางสาวพุทธิพร สขุ สม ผูชวย ๗) นายนพดล โตะ ราหมาน ผชู วย ขอ ๒ มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห คดิ อยา งมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลีย่ น ความคิดเหน็ และแกป ญ หา ประกอบดว ย ๑) นายวนั ทยา ชำนาญกจิ หวั หนา ๒) นางปราณี สวุ รรณชยั ผชู ว ย ๓) นางทิพยอุษา ชูพงศ ผูชว ย ๔) นางอนสุ รา ปาหินา ผูชว ย ๕) นายชีพ สวุ รรณชัย ผูชวย ๖) นางสาวพุทธพิ ร สุขสม ผชู วย ๗) นายนพดล โตะ รา หมาน ผูชว ย ขอ ๓ มีความสามารถในการสรา งนวตั กรรม ประกอบดว ย ๑) นายธนิต ชมู าก หวั หนา ๒) นายนาคฤทธ์ิ มณีฉาย ผชู วย ๓) นายนพดล โตะ ราหมาน ผูชวย ๔) นางพัสตราภรณ แผลงรกั ษา ผชู ว ย ๕) นายวันชัย มณสี ม ผูชว ย ๖) นายอัทธอากร อศิ รางกูร ณ อยุธยา ผูชวย ๗) นางพิมพลภัส วานิช ผชู วย ขอ ๔ มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประกอบดวย ๑) นางพสั ตราภรณ แผลงรักษา หัวหนา ๒) นายนพดล โตะ ราหมาน ผูชว ย ๓) นางปวณี า ธนาวุฒิ ผชู ว ย ๔) นางสาวคณินญา ทับเทยี่ ง ผชู วย ๕) นางสาวบุษยมาศ เพชรแกว ผูช วย ๖) นางสาวปญ ภรณ คงสดุ ผชู ว ย ขอ ๕ มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ประกอบดวย ๑) นายวนั ทยา ชำนาญกิจ หวั หนา ๒) นางปราณี สุวรรณชัย ผูชว ย ๓) นางสาวพุทธิพร สุขสม ผูชว ย ๔) นางปวีณา ธนาวฒุ ิ ผชู วย ๕) นางจติ ตนิ นั ท รัตนบุรี ผชู วย ๖) นายประยูร มาสวสั ด์ิ ผูช วย ๗) นางณัฎฐว รรณ ศรแี กว ผชู ว ย

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๓๗ - ๘) นางธมลวรรณ สุดใจ ผูชว ย ๙) นายธนิต ชูมาก ผูชวย ๑๐) นายสุคนธ สุขขา ผชู วย ๑๑) นายนพดล โตะ รา หมาน ผูชวย ๑๒) นายวนั ชัย มณสี ม ผูช วย ขอ ๖ มีความรู ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคติท่ีดตี อ งานอาชพี ประกอบดว ย ๑) นางสาววลิ ยั ภรณ ชำนาญกจิ หัวหนา ๒) นางสาวอาพันธช นก วิวรรณ ผูชวย ๓) นางสาวปญ ภรณ คงสดุ ผชู ว ย ๑.๒ คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงคข องผูเรยี น ขอ ๑ การมีคุณลกั ษณะและคานยิ มทดี่ ตี ามท่ีสถานศกึ ษากำหนด ประกอบดว ย ๑) นางณัฏฐว รรณ ศรีแกว หัวหนา ๒) นางรจนีย ชัยประสพ ผูชว ย ๓) นางเบญจมาศ นาคะโร ผชู ว ย ๔) นางสาววลิ ัยภรณ ชำนาญกจิ ผูชว ย ๕) นางสาวปญภรณ คงสุด ผชู ว ย ๖) นายวันชยั มณีสม ผชู วย ขอ ๒ ความภูมิใจในทอ งถน่ิ และความเปน ไทย ประกอบดวย ๑) นายวันชัย มณสี ม หวั หนา ๒) นางณัฏฐวรรณ ศรแี กว ผูช วย ๓) นางรจนยี  ชัยประสพ ผูช ว ย ๔) นางเบญจมาศ นาคะโร ผูชวย ๕) นางสาวพทุ ธิพร สุขสม ผูช ว ย ๖) นางสาวปญ ภรณ คงสุด ผูชว ย ๗) นางสาวนติ ยา สารพี ันธ ผชู วย ขอ ๓ การยอมรบั ทจ่ี ะอยรู ว มกนั บนความแตกตางและหลากหลาย ประกอบดวย ๑) นางณัฏฐวรรณ ศรแี กว หัวหนา ๒) นายวันชยั มณสี ม ผชู วย ๓) นางสาวปญ ภรณ คงสุด ผชู วย ๔) นางรจนีย ชยั ประสพ ผชู วย ๕) นางเบญจมาศ นาคะโร ผชู วย ๖) นางสาวพทุ ธพิ ร สุขสม ผชู ว ย ๗) นางสาวจนิ ทภา เพชรอนิ ทร ผชู วย ๘) นางสาวนิตยา สารพี ันธ ผูชวย ขอ ๔ สุขภาวะทางรางกาย และจติ สังคม ประกอบดว ย ๑) นายสมศักด์ิ ดวงศรที อง หวั หนา ๒) นางสดศรี แผน ทอง ผูชวย

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๓๘ - ๓) นายสุคนธ สุขขา ผชู วย ๔) นางเกศกนก เขียวนอ ย ผูชว ย มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ คณะกรรมการอำนวยการ มีหนาท่ี กำกับดแู ล สง เสริม สนับสนนุ และตดิ ตามผล การเก็บรวบรวมขอมูลของคณะกรรมการดำเนินงานในแตล ะตัวชว้ี ัดใหถกู ตอ ง ครบถว น สมบูรณ ๑) นายวิชัย ราชธานี ประธานกรรมการ ๒) นายสมพงษ ศรจี ันทร รองประธานกรรมการ ๓) นายกันตพงษ ดำรักษ กรรมการ ๔) นายอดุ มรัตน สขุ สม กรรมการ ๕) นายวันทยา ชำนาญกิจ กรรมการ ๖) นางสาววาสนา รตั นพนั ธ กรรมการ ๗) นางจติ ตนิ นั ท รตั นบรุ ี กรรมการและเลขานกุ าร ๘) นางทติ ยา วรรณบวร กรรมการและผูชวยเลขานกุ าร คณะกรรมการดำเนนิ งาน มหี นา ท่ี รวบรวมขอมลู และเอกสารท่ีเกย่ี วขอ งในแตละตัวชว้ี ดั ใหเปนระบบและงา ยตอการสบื คน เพือ่ รองรับการประเมนิ คณุ ภาพภายใน ๒.๑ กำหนดเปาหมายวิสัยทัศนแ ละพันธกิจทส่ี ถานศึกษาใหม ีความชดั เจน ประกอบดว ย ๑) นางสาววาสนา รัตนพนั ธ หัวหนา ๒) นางทัศนีย รตั นพนั ธ ผูชว ย ๓) นางสาวออ ย นรทิ ธิกุล ผูชวย ๔) นางปราณี สวุ รรณชัย ผูชวย ๕) นางทิตยา วรรณบวร ผชู ว ย ๖) นางจิตตนิ ันท รัตนบุรี ผูชว ย ๗) นางสดศรี แผนทอง ผชู ว ย ๘) นางณัฏฐวรรณ ศรแี กว ผชู วย ๒.๒ จัดระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา ประกอบดวย ๑) นางวราภรณ เขียวมา หัวหนา ๒) นางรจนีย ฃยั ประสพ ผชู ว ย ๓) นางพรพนา ชว ยรกั ษา ผชู ว ย ๔) นางสาวจินทภา เพชรอินทร ผูช ว ย ๕) นางสาวบษุ ยมาศ เพชรแกว ผูช ว ย ๖) นางสาวมาวดี รตั นานุภาพ) ผูชวย ๒.๓ ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการทเ่ี นน คุณภาพผเู รียนรอบดานตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา ประกอบดวย ๑) นายวนั ทยา ชำนาญกิจ หัวหนา ๒) นางปราณี สวุ รรณชยั ผูช ว ย ๓) นางทพิ ยอุษา ชูพงศ ผชู วย ๔) นางสาวพทุ ธิพร สุขสม ผชู วย

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๓๙ - ๕) นางอนุสรา ปาหินา ผูช ว ย ๖) นางสาวพันธุท พิ ย สงั วงั เลาว ผูชว ย ๗) นายจารึก คงกุล ผชู วย ๘) นางสนุ ันญา อนันตธนานุรักษ ผชู ว ย ๒.๔ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหมีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ ประกอบดวย ๑) นางวราภรณ เขยี วมา หัวหนา ๒) นางรจนยี  ชัยประสพ ผชู ว ย ๓) นางพรพนา ชว ยรกั ษา ผชู ว ย ๔) นางสาวจนิ ทภา เพชรอนิ ทร ผชู ว ย ๕) นางสาวมาวดี รตั นานภุ าพ ผูชวย ๒.๕ จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมท่เี อือ้ ตอ การจัดการเรียนรอู ยา งมคี ุณภาพ ประกอบดว ย ๑) นายธนิต ชมู าก หวั หนา ๒) นายสมศักด์ิ ดว งศรที อง ผชู วย ๓) นายนาคฤทธิ์ มณีฉาย ผูชว ย ๔) นายสุทธิรักษ รตั นบุรี ผชู ว ย ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรียนรู ประกอบดวย ๑) นางพสั ตราภรณ แผลงรกั ษา หัวหนา ๒) นายนพดล โตะรา หมาน ผชู วย ๓) นายนาคฤทธ์ิ มณีฉาย ผูช วย ๔) นายสคุ นธ สุขขา ผูชวย ๕) นางสาวสุรีรัตน แซผา ง ผชู วย ๖) นายปธานิน ยุเหล็ก ผูชว ย ๗) นางสาวมาวดี รัตนานุภาพ ผูชว ย มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนกาสอนที่เนน ผเู รียนเปน สำคญั คณะกรรมการอำนวยการ มีหนา ท่ี กำกับดแู ล สงเสริม สนับสนนุ และติดตามผล การเกบ็ รวบรวมขอ มลู ของคณะกรรมการดำเนินงานในแตละตัวชวี้ ดั ใหถูกตอง ครบถว น สมบรู ณ ๑) นายวิชยั ราชธานี ประธานกรรมการ ๒) นายสมพงษ ศรจี ันทร รองประธานกรรมการ ๓) นายกนั ตพงษ ดำรกั ษ กรรมการ ๔) นายอุดมรตั น สุขสม กรรมการ ๕) นายวนั ทยา ชำนาญกิจ กรรมการ ๖) นางสาววาสนา รัตนพันธ กรรมการ ๗) นางจติ ตนิ ันท รตั นบรุ ี กรรมการและเลขานกุ าร ๘) นางทติ ยา วรรณบวร กรรมการและผชู ว ยเลขานกุ าร คณะกรรมการดำเนนิ งาน มีหนา ที่ รวบรวมขอมลู และเอกสารที่เกี่ยวของในแตละตัวช้วี ดั

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๔๐ - ใหเปน ระบบและงายตอการสบื คน เพอ่ื รองรบั การประเมินคุณภาพภายใน ๓.๑ จดั การเรียนรูผ านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยุกตใชใ นชวี ิตได ประกอบดวย ๑) นายวันทยา ชำนาญกิจ หัวหนา ๒) นางปราณี สวุ รรณชยั ผชู วย ๓) นางสาวพทุ ธิพร สขุ สม ผูชว ย ๔) นางปวีณา ธนาวุฒิ ผูช ว ย ๕) นางจิตตนิ นั ท รตั นบุรี ผชู วย ๖) นายประยรู มาสวสั ด์ิ ผชู ว ย ๗) นางณัฎฐวรรณ ศรีแกว ผูชว ย ๘) นางธมลวรรณ สุดใจ ผชู วย ๙) นายธนิต ชูมาก ผชู วย ๑๐) นายสุคนธ สุขขา ผชู วย ๑๑) นายนพดล โตะรา หมาน ผูช วย ๑๒) นางพสั ตราภรณ แผลงรักษา ผชู วย ๓.๒ สงเสรมิ สนบั สนุนใหค รใู ชสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง เรียนรทู ี่เอ้ือตอการเรียนรู ประกอบดว ย ๑) นายวนั ทยา ชำนาญกิจ หัวหนา ๒) นางปราณี สวุ รรณชยั ผชู ว ย ๓) นางสาวพุทธพิ ร สุขสม ผูชว ย ๔) นางปวีณา ธนาวฒุ ิ ผชู วย ๕) นางจติ ตินันท รัตนบรุ ี ผูชว ย ๖) นายประยูร มาสวสั ดิ์ ผชู ว ย ๗) นางณฎั ฐว รรณ ศรีแกว ผชู วย ๘) นางธมลวรรณ สุดใจ ผชู ว ย ๙) นายธนติ ชูมาก ผชู ว ย ๑๐) นายสคุ นธ สุขขา ผชู วย ๑๑) นายนพดล โตะรา หมาน ผูช วย ๑๒) นางพสั ตราภรณ แผลงรกั ษา ผชู ว ย ๓.๓ สง เสรมิ และสนบั สนุนใหค รมู ีการบรหิ ารจัดการช้นั เรียนเชิงบวก ประกอบดวย ๑) นายวันทยา ชำนาญกจิ หัวหนา ๒) นางปราณี สวุ รรณชัย ผชู วย ๓) นางสาวพทุ ธพิ ร สุขสม ผูชว ย ๔) นางปวีณา ธนาวุฒิ ผชู ว ย ๕) นางจิตตินันท รตั นบรุ ี ผูชวย ๖) นายประยรู มาสวัสดิ์ ผชู ว ย ๗) นางณฎั ฐวรรณ ศรีแกว ผชู วย ๘) นางธมลวรรณ สุดใจ ผชู วย

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๔๑ - ๙) นายธนิต ชูมาก ผูชวย ๑๐) นายสุคนธ สุขขา ผูชวย ๑๑) นายนพดล โตะ ราหมาน ผูช ว ย ๑๒) นางพัสตราภรณ แผลงรกั ษา ผชู ว ย ๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผูเรยี นอยางเปน ระบบ และนำผลมาพฒั นาผูเรยี น ประกอบดวย ๑) นายวันทยา ชำนาญกจิ หวั หนา ๒) นางปราณี สวุ รรณชัย ผชู ว ย ๓) นางสาวพทุ ธิพร สขุ สม ผูชว ย ๔) นางปวณี า ธนาวุฒิ ผชู ว ย ๕) นางจิตตนิ นั ท รตั นบรุ ี ผูชวย ๖) นายประยรู มาสวสั ด์ิ ผูชว ย ๗) นางณฎั ฐวรรณ ศรีแกว ผชู วย ๘) นางธมลวรรณ สุดใจ ผูชวย ๙) นายธนติ ชูมาก ผูชวย ๑๐) นายสุคนธ สุขขา ผชู วย ๑๑) นายนพดล โตะ ราหมาน ผชู วย ๑๒) นางสาวบุษยมาศ เพชรแกว ผูชว ย ๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรูและใหข อ มูลสะทอนกลบั เพ่ือพฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู ประกอบดว ย ๑) นายวันทยา ชำนาญกจิ หวั หนา ๒) นางปราณี สวุ รรณชัย ผชู วย ๓) นางสาวพุทธพิ ร สุขสม ผชู ว ย ๔) นางปวณี า ธนาวฒุ ิ ผูช ว ย ๕) นางจิตตนิ ันท รัตนบรุ ี ผชู ว ย ๖) นายประยูร มาสวัสด์ิ ผชู ว ย ๗) นางณฎั ฐว รรณ ศรีแกว ผชู วย ๘) นางธมลวรรณ สุดใจ ผชู วย ๙) นายธนติ ชูมาก ผูชว ย ๑๐) นายสุคนธ สุขขา ผชู วย ๑๑) นายนพดล โตะรา หมาน ผชู วย ๕. คณะกรรมการจดั ทำรูปเลม มหี นา ที่ รวบรวมเอกสารแตละดา น จัดพมิ พ จดั ทำ รปู แบบตามทีก่ ำหนดและจัดทำรปู เลมใหเสรจ็ ส้ิน ภายในวนั ที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๕ ประกอบดวย ๑) นายวชิ ยั ราชธานี ประธานกรรมการ ๒) นายสมพงษ ศรจี นั ทร รองประธานกรรมการ ๓) นายกนั ตพงษ ดำรักษ กรรมการ ๔) นายอุดมรัตน สขุ สม กรรมการ ๕) นายวันทยา ชำนาญกิจ กรรมการ ๖) นายธนติ ชมู าก กรรมการ

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๔๒ - ๗) นางสาววาสนา รตั นพันธ กรรมการ ๘) นางปวณี า ธนาวฒุ ิ กรรมการ ๘) นายสคุ นธ สุขขา กรรมการ ๙) นางณฎั ฐวรรณ ศรแี กว กรรมการ ๑๐) นางธมลวรรณ สุดใจ กรรมการ ๑๑) นายนพดล โตะรา หมาน กรรมการ ๑๒) นางจติ ตินันท รัตนบรุ ี กรรมการและเลขานกุ าร ๑๓) นางทิตยา วรรณบวร กรรมการและผูชวยเลขานุการ ขอใหผ ทู ี่ไดร ับแตง ตง้ั ตามประกาศน้ี ปฏบิ ัตหิ นา ทที่ ไ่ี ดรบั มอบหมาย ดว ยความรับผิดชอบ และเต็มความสามารถ เพื่อใหกิจกรรมสำเร็จลุลวงไปอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุดแกทาง ราชการสบื ไป ประกาศ ณ วันท่ี ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ (นายวชิ ยั ราชธานี) ผูอำนวยการโรงเรียนนาบอน

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๔๓ - ผลงาน/เกยี รตบิ ตั ร รางวัลผูอ ำนวยการสถานศึกษายอดเย่ยี ม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สง เสรมิ การใชนวัตกรรม PLC ดา นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นการสอน จากสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน เมอื่ วันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๔๔ - รางวัลครูผสู อนยอดเยีย่ ม“ครูผมู ีจติ วญิ ญาณความเปน ครู”ปก ารศึกษา 2564 จากสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา มัธยมศกึ ษานครศรธี รรมราช เมอื่ วนั ที่ ๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ จำนวน ๓ รางวัล

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๔๕ - รางวัลครูผูจัดการเรียนการสอนออนไลนในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายใตแนวคิด “สอนดี เห็นผล คนชื่นชม” ประเภทครูผูสอนมัธยมศึกษาตอนปลายระดับเขตพื้นท่ี การศึกษานครศรีธรรมราช ปการศึกษา 2564 จากสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช เม่อื วนั ที่ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ จำนวน ๖ รางวลั

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๔๖ -

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) - ๔๗ - รางวัลครูผูจัดการเรียนการสอนออนไลนในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายใตแนวคิด “สอนดี เห็นผล คนชื่นชม” ประเภทครูผูสอนมัธยมศึกษาตอนปลายระดับเขตพื้นท่ี การศึกษานครศรีธรรมราช ปการศึกษา ๒๕๖๔ แบบคลิปสั้น ๕ นาที เมื่อวันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ จำนวน ๒ รางวลั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook