Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sc02017

Description: sc02017

Search

Read the Text Version

46   เวลาดูแลพันธ์ุพืชเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อที่เพ่ิงนําออกปลูกออกเป็น 2 ระยะเรียกว่าการอนุบาลระยะที่ 1 และการ อนุบาลระยะที่ 2 การอนุบาลระยะที่ 1 เป็นระยะที่ต้นพืชต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดด้วยการควบคุมปัจจัยท่ี เก่ยี วข้องไดแ้ ก่อุณหภูมิความชน้ื และความเข้มแสงที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชชนิดนั้นๆเป็นช่วงเวลา การดแู ลไม่ตํา่ กว่า 30 วนั ตั้งแต่ย้ายปลกู การ อนุบาลระยะท่ี 2 เป็นการดูแลต่อจากระยะที่ 1 อีก 30-45 วันระยะน้ีพืชจะมีความแข็งแรงและ ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้มากขึ้นเมื่อผ่านการอนุบาลระยะท่ี 2 แล้วรวมท้ังส้ินประมาณ 60-75 วันต้น พันธุ์พืชนั้นๆ (บางชนิด) จะสามารถย้ายปลูกในสภาพปลูกเลี้ยงปกติได้การอนุบาลพันธ์ุพืชจากการเพาะเลี้ยง เนื้อเย่ือตลอดระยะเวลา 60-75 วันเป็นกระบวนการท่ีมีความสําคัญควบคู่ไปกับการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือหรือ จดั เปน็ ส่วนหน่งึ ของความสําเรจ็ ของกระบวนการเพาะเลีย้ งเนอื้ เยือ่ พชื ดงั น้ันการศึกษาหาแนวทางการผลิตพันธุ์ พืชโดยวิธีเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือในเชิงเศรษฐกิจหรืออุตสาหกรรมต้องควบคู่ไปกับการนําพืชออกปลูกในสภาพ ธรรมชาติด้วยเสมอ

47   ภาพแสดงการคัดเลือกตน้ พชื ที่เจรญิ เติบโตออกจากขวดเพาะเลี้ยงเน้อื เย่ือนํามาเลีย้ งยังโรงเรอื น ภาพจากhttp://fieldtrip.ipst.ac.th/backend/images/resources/agriculture/content_pic/ agriculture_9_3.jpg 10 ปัญหาและอปุ สรรคท่พี บในการเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยือ่ มีการเผยแพร่ผลงานท่ีเกี่ยวข้องกับหลักการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือพืชกันแต่ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงปัญหา และอปุ สรรคท่ีพบเมือ่ มีการนํามาปฏิบัติจริงโดยเฉพาะเพ่ือการขยายผลในเชิงการค้ากับกลุ่มพืชเศรษฐกิจมักไม่ เป็นไปตามเป้าหมายไม่ว่าจะเป็นปัญหาจากค่าการลงทุนที่ค่อนข้างสูงความผิดพลาดในการชั่งตวงวัดความไม่ บริสุทธิ์ของนํ้าที่ใช้เป็นต้นในท่ีนี้จะกล่าวถึงปัญหาอุปสรรคท่ีพบเสมอเฉพาะในส่วนที่เก่ียวกับลักษณะของต้น พืชระหว่างดําเนนิ การพอสรปุ ไดด้ ังน้ี 1. ความผดิ ปกติท่เี กิดกบั ตน้ พชื หมายถึงต้นพืชจะแสดงลักษณะท่ีผิดไปจากสภาพการเจริญเติบโตปกติ อาจมีสาเหตุมาจากวิธีการดําเนินงานในแต่ละข้ันตอนของกระบวนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเช่นการใช้สารเร่งการ เจริญเติบโตหรอื อืน่ ๆในอัตราทเ่ี ขม้ ข้นมากเกินไปเป็นเวลานานเกินไปหรือแม้แต่การตัดชิ้นพืชที่มีขนาดแตกต่าง กันหรอื การเว้นระยะห่างระหว่างพืชท่ีวางในขวดต่างกันล้วนแล้วแต่อาจจะเป็นสาเหตุของความผิดปกติของต้น พืชไดท้ งั้ สนิ้ เช่น - อาการด่างขาวเป็นอาการท่ใี บพชื จะเปลย่ี นสีจากเขียวเป็นขาวมีทง้ั แบบสขี าวทั้งใบสขี าวครึง่ ใบหรือสี ขาวตามขอบใบ - อาการฉ่ํานํ้า (Verification) เปน็ อาการผดิ ปกติที่เหน็ ได้ชัดเจนบรเิ วณใบจะใสเหมอื นแก้วอาจมี สาเหตุจากปริมาณน้ําภายในเซลลม์ ากเกนิ ไปถา้ ยา้ ยออกปลกู มกั จะตายในทส่ี ดุ - ตน้ พชื หยุดเจริญเตบิ โตดา้ นความสูง - อาการยอดบิดเบี้ยวใบแคบเล็กหรอื ไม่มใี บ - ต้นพชื มีการเจริญเตบิ โตและพัฒนาไม่พร้อมกันทาํ ใหแ้ ผนการเพม่ิ ปรมิ าณอาจผิดพลาดไปได้ เนือ่ งจากตอ้ งคัดเลอื กตน้ ท่มี คี วามสูงมากเข้าสู่ระยะการชักนาํ รากส่วนต้นที่มคี วามสูงนอ้ ยนํามาเพมิ่ ปรมิ าณ ยอดต่อไปได้ 2. การปนเปอ้ื นของเชือ้ ราและเชื้อแบคทเี รยี ในขวดเนือ้ เยอ่ื พืช 3. พืชหลายชนิดสามารถขยายเพิ่มปรมิ าณไดม้ ากแตเ่ มอ่ื ถึงระยะสดุ ทา้ ยต้นพืชไมต่ อบสนองในระยะ การชกั นาํ รากถึงแม้วา่ จะผ่านการทดสอบในขน้ั ตอนดังกล่าวแลว้ 4. ความไมเ่ ปน็ ปัจจบุ นั ของสายพันธุภ์ ายหลังการผลิต-ขยายบรรลเุ ป้าหมายแล้วอาจพบกับกลุ่มไม้ดอก เนื่องจากความนยิ มเรอ่ื งสายพันธเ์ุ ปล่ยี นแปลงค่อนข้างเร็ว

48   5. ความแปรปรวนทางพันธกุ รรมของตน้ พืช (Somaclonal variation) เป็นลักษณะของต้นพชื ที่ แตกต่างไปจากเดมิ อาจเป็นการเปลย่ี นแปลงโดยถาวรหรอื กลบั มาเปน็ แบบเดมิ ก็ได้ปญั หาต่างๆดงั กล่าวเมอ่ื เกดิ ขึน้ แลว้ ตา่ งส่งผลใหต้ น้ พชื เหล่านั้นเจรญิ เตบิ โตนอ้ ยลงหรอื ตายในที่สุดการหาวิธแี ก้ไขคงเปน็ ไปไดย้ ากแต่ ควรเริ่มตน้ ทาํ งานใหม่ด้วยความระมดั ระวงั ในทกุ ลําดบั ขั้นตอนตั้งแตก่ ารฟอกฆ่าเชอ้ื วิธีการตัดและวางเนื้อเย่อื พชื สตู รอาหารทีใ่ ช้เทคนิคปลอดเช้ือความสะอาดของเครอ่ื งมือทีผ่ ่านการฆา่ เชือ้ แลว้ เปน็ ต้นแตป่ ัญหาอปุ สรรคท่ี เกดิ กบั งานขยายพันธพุ์ ชื ด้วยวธิ ีเพาะเลี้ยงเน้อื เยอ่ื เปน็ ปญั หาที่แก้ไขได้หากปฏบิ ตั ิตามหลกั เกณฑ์และให้ ความสาํ คัญกบั เทคนิคปลอดเช้ือผลสาํ เรจ็ ของงานผลิต-ขยายพนั ธุ์พืชบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์แนน่ อน

49   ใบงาน เรื่องการเพาะเลีย้ งเนอื้ เย่ือ จงตอบตําถามตอ่ ไปนี้ 1. จงอธบิ ายความสาํ คัญของการเพาะเล้ยี งเน้ือเยอื่ ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... 1. จงอธบิ ายวธิ ีการเพาะเลย้ี งเนอื้ เย่อื ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................................

50   แผนการเรียนรู้ประจาํ บท บทที่ 6 ประโยชน์และผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพต่อมนุษย์ สิง่ แวดล้อม สังคมและเศรษฐกจิ สาระสาํ คญั ประโยชนแ์ ละผลกระทบของเทคโนโลยีชวี ภาพ ในปัจจุบนั เทคโนโลยีชวี ภาพถกู นาํ มาใชป้ ระโยชน์ใน ดา้ นต่าง ๆ ทงั้ ในดา้ นเกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรม ด้านการแพทย์ ดา้ นอาหาร ด้านสิง่ แวดล้อม ดา้ นการผลิต พลงั งาน ฯลฯ ยังมีผลกระทบในเรอื่ งความหวาดกลวั ในเร่อื งความปลอดภัยของมนษุ ย์ และความขัดแยง้ กับ ธรรมชาตขิ องมนุษย์ ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั 1.สามารถอธิบายปจั จัยที่มีผลต่อเทคโนโลยชี ีวภาพได้ 2.สามารถอธบิ ายประโยชน์และผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อชีวติ และสงิ่ แวดล้อมได้ ขอบขา่ ยเนือ้ หา ประโยชนแ์ ละผลกระทบของเทคโนโลยีชวี ภาพตอ่ มนุษย์ สงิ่ แวดล้อม สงั คมและเศรษฐกจิ กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ศึกษาเน้อื หา บทท่ี 6 ประโยชนแ์ ละผลกระทบของเทคโนโลยชี ีวภาพต่อมนุษย์ สิ่งแวดลอ้ ม สังคม และเศรษฐกิจ 2. สบื คน้ ขอ้ มลู เพิม่ เติม เรือ่ ง ประโยชนแ์ ละผลกระทบของเทคโนโลยีชวี ภาพ จากแหลง่ เรยี นรู้อ่ืน ๆ 3. ทําใบงาน เรือ่ ง ประโยชน์และผลกระทบของเทคโนโลยชี ีวภาพตอ่ มนุษย์ สง่ิ แวดล้อม สังคมและ เศรษฐกจิ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ 1. เน้ือหา บทที่ 6 ประโยชนแ์ ละผลกระทบของเทคโนโลยชี ีวภาพต่อมนุษย์ สงิ่ แวดลอ้ ม สงั คมและ เศรษฐกจิ 2. ใบงาน เรอ่ื ง ประโยชน์และผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพตอ่ มนุษย์ สง่ิ แวดล้อม สงั คมและ เศรษฐกจิ 3. แหล่งเรียนรู้ สําหรบั การสบื คน้ ข้อมลู เพ่มิ เตมิ ประเมนิ ผล 1. ประเมินผลกจากการทาํ ใบงาน

51   บทที่ 6 เรอ่ื ง ประโยชนแ์ ละผลกระทบของเทคโนโลยีชวี ภาพต่อมนุษย์ สง่ิ แวดลอ้ ม สังคมและเศรษฐกิจ เทคโนโลยชี ีวภาพทน่ี าํ มาใชป้ ระโยชนใ์ นประเทศไทย ประเทศไทยได้มคี ้นควา้ ทางด้านเทคโนโลยีชวี ภาพ เพื่อทําประโยชนต์ อ่ ประเทศ ซง่ึ ส่วนใหญจ่ ะเปน็ เทคโนโลยชี ีวภาพด้านการเกษตร เชน่ 1. การเพาะเลย้ี งเนื้อเยื่อ ได้แก่ การขยายและปรบั ปรุงพันธ์กลว้ ย กล้วยไม้ ไผ่ ไม้ดอกไมป้ ระดับ หญา้ แฝก 2.การปรบั ปรงุ พันธุพ์ ืช ไดแ้ ก่ การปรบั ปรุงพันธ์ุมะเขือเทศ พรกิ ถว่ั ฝกั ยาว ให้ต้านทานตอ่ ศัตรพู ืช ด้วยเทคนิคการตดั ต่อยนี การพฒั นาพืชทนแลง้ ทนสภาพดนิ เคม็ และดนิ กรด เช่น ข้าว การปรับปรุงและขยายพันธ์พุ ืชท่เี หมาะสมกับเกษตรทสี่ งู เช่น สตรอเบอรร์ ่ี มนั ฝรัง่ การผลิตสตอเบอรร์ ่ีสําหรับปลูกในภาคเหนอื และอีสาน การพฒั นาพนั ธพุ์ ชื ต้านทานโรค เชน่ มะเขือเทศ มะละกอ 3. การพฒั นาและปรบั ปรุงพนั ธ์ุสตั ว์ ไดแ้ ก่ การขยายพนั ธ์ุโคนมท่ใี หน้ ้ํานมสงู โดยวิธี ปฏิสนธใิ นหลอดแก้ว และการฝากถ่ายตวั อ่อน การลดการแพร่ระบาดของโรคสตั ว์ โดยพัฒนาวิธกี ารตรวจวินจิ ฉัยที่รวดเร็ว เช่น การตรวจพยาธิ ใบไมใ้ นตับในกระบอื การตรวจหาไวรสั สาเหตโุ รคหวั เหลอื ง และจดุ ขาว จดุ แดงในกุ้งกลุ าดาํ 4.การผลติ ปุ๋ยชีวภาพ เช่น ปุ๋ยคอก ป๋ยุ หมัก จลุ นิ ทรียต์ รงึ ไนโตรเจน และปุ๋ยสาหรา่ ย 5.การควบคมุ โรคและแมลงโดยจุลินทรีย์ เชน่ การใช้จลุ นิ ทรยี ์ควบคมุ โรคในแปลงปลกู มะเขือเทศ ขงิ สตรอเบอรร์ ่ี การใชเ้ ชอ้ื ราบางชนดิ ควบคุมกาํ จัดโรครากเน่าของทเุ รียนและผลไมอ้ นื่ ๆ ควบคมุ โรคไส้เดอื น ฝอย ราก ปม การใชแ้ บคทเี รียหรอื สารสกัดจากแบคทีเรยี ในการควบคุมและกําจัดแมลง เชน่ การใช้แบคทีเรีย กาํ จัดลูกน้าํ และยงุ ทีเ่ ปน็ พาหะนําโรคไข้สมองอกั เสบ และโรคมาลาเรยี นอกจากดา้ นการเกษตรแล้ว ประเทศไทยยงั มีการพัฒนาเทคโนโยลีชีวภาพเพ่ือประโยชนด์ า้ นอน่ื ๆ อกี เช่น การพฒั นาเทคโนโลยลี ายพิมพ์ดีเอน็ เอ เพือ่ การตรวจการปลอมปนข้าวหอมมะลิและการตรวจพันธ์ุ ปลาทูนา่ การวิจัยและพฒั นาทางการแพทย์ ไดแ้ ก่ การตรวจวินิจฉยั โรคไขเ้ ลือดออก โรคทางเดนิ อาหาร การพัฒนาวิธีการตรวจหาสารตอ่ ตา้ นมาลาเรยี วณั โรค จากพชื และจลุ นิ ทรยี ์ การพัฒนาการเลยี้ งเซลลม์ นษุ ย์ และสัตว์ การเพิ่มคุณภาพผลผลติ การเกษตร เช่น การปรบั ลดสารโคเลสเตอรอลในไข่ไก่ การพฒั นาผลไม้ให้สุกช้า การพัฒนาอาหารให้มสี ว่ นปอ้ งกนั และรกั ษาโรคได้ เช่น การศึกษาสารทีเ่ จรญิ เติมโตในนาํ้ นม

52   ปัจจบุ นั เทคโนโลยชี ีวภาพถูกนาํ มาใชป้ ระโยชน์อย่างกว้างขวางกอ่ ใหเ้ กิดความหวงั ใหม่ ๆ ท่จี ะพัฒนา สิง่ มีชวี ติ ต่าง ๆ ใหม้ ีประสิทธภิ าพและคุณภาพให้ดยี ง่ิ ข้ึน ดงั นนั้ จึงมบี ทบาทสําคญั ต่อคณุ ภาพชวี ิตของมนษุ ย์ ดว้ ย ทงั้ นี้ ควรคดิ ตามขา่ วสารความกา้ วหนา้ ดา้ นเทคโนโลยชี วี ภาพ รวมถงึ ความเสี่ยงท่อี าจเกิดผลกระทบตอ่ ตนเองและสง่ิ แวดลอ้ มและอา่ นฉลากสินคา้ ก่อนการตัดสนิ ใจ ประโยชน์และผลกระทบของเทคโนโลยชี วี ภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยชี วี ภาพ ในปัจจบุ ันเทคโนโลยีชวี ภาพไดถ้ ูกนํามาใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นต่าง ๆ ไดแ้ ก่ 1.ด้านเกษตรกรรม 1.1 การผสมพนั ธสุ์ ัตว์และการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ การปรบั ปรงุ พันธ์ุสตั วโ์ ดยการนําสตั วพ์ นั ธดุ์ ีจากประเทศซง่ึ ออ่ นแอ ไม่สามารถทนต่อสภา อวกาศของไทยมาผสมพนั ธกุ์ ับพันธ์พุ นื้ เมือง เพอื่ ใหไ้ ด้ลกู ผสมทีม่ ีลกั ษณะดเี หมอื นกบั พันธุ์ต่างประเทศที่ แขง็ แรง ทนทานต่อโรคและทนต่อสภาพภูมิอากาศของเมืองไทย และที่สาํ คญั คอื ราคาตา่ํ 1.2 การปรับปรงุ พนั ธุ์พืชและการผลติ พืชพันธใุ์ หม่ เชน่ พชื ไร่ ผัก ไมด้ อก 1.3 การควบคมุ ศตั รพู ืชโดยชีววธิ ี 2. ดา้ นอตุ สาหกรรม 2.1 การถ่ายฝากตวั ออ่ น ทาํ ใหเ้ พ่มิ ปริมาณและคณุ ภาพของโคนมและโคเนอ้ื เพ่ือนํามาใช้ใน อตุ สาหกรรมการผลติ เนื้อวัวและนาํ้ นมวัว 2.2 การผสมเทียมสตั ว์บกและสตั วน์ า้ํ เพื่อเพม่ิ ปริมาณและคุณภาพสัตว์บกและสตั ว์น้าํ ทาํ ใหเ้ กิดการพัฒนาอตุ สาหกรรมการแช่เยน็ เนอ้ื สัตวแ์ ละการผลติ อาหารกระปอ๋ ง 2.3 พนั ธวุ ศิ วกรรม โดยนําผลติ ผลของยีนมาใชป้ ระโยชนแ์ ละผลิตเป็นอุตสาหกรรม เชน่ ผลติ ยา ผลิตวคั ซนี นา้ํ ยาสําหรับตรวจวินิจฉยั โรค ยาตา้ นเน้อื งอก ฮอร์โมนอนิ ซูลนิ รกั ษาโรคเบาหวาน ฮอรโ์ มนเรง่ การเจริญเติมโตของคน เป็นตน้ 2.4 ผลติ ฮอรโ์ มนเร่งการเจรญิ เตมิ โตของสัตว์ โดยการนํายีนสรา้ งฮอรโ์ มนเร่งการเจรญิ เตมิ โต ของววั และของคนมาฉีดเขา้ ไปในรังไข่ท่เี พ่งิ ผสมของหมู พบว่าหมจู ะมีการเจรญิ เติมโตดีกว่าหมูปกติ 2.5 ผลติ สตั ว์แปลงพันธุใ์ ห้มลี กั ษณะโตเร็ว เพ่มิ ผลผลิต หรอื มภี มู ิตา้ นทาน เช่น แกะทใ่ี ห้ นาํ้ นมเพิ่มข้ึน ไก่ทต่ี า้ นทานไวรัส 3.ดา้ นการแพทย์ 3.1 การใชย้ นี บําบดั โรค เชน่ การรกั ษาโรคไขกระดกู ทส่ี รา้ งโกลบนิ ผิดปรกติ การดูแลรกั ษา เด็กท่ตี ิดเชือ้ ง่าย การรกั ษาผปู้ ่วยที่เปน็ มะเรง็ เป็นตน้ 3.2 การตรวจวินจิ ฉยั หรอื ตรวจพาหะจากยีน เพ่ือตรวจสอบโรคธาลัสซีเมยี โรคโลหติ จาง สภาวะปญั ญาออ่ น ยนี ท่อี าจทําให้เกิดมะเรง็ เป็นต้น 3.3 การใชป้ ระโยชนจ์ ากการตรวจลายพิมพ์จากยนี ของส่งิ มีชีวิต เช่น การสบื หาตัวผ้ตู อ้ ง สงสยั ในคดตี า่ ง ๆ การตรวจสอบความเป็นพอ่ -แม-่ ลกู กัน การตรวจสอบพันธุ์สัตวเ์ ศรษฐกิจตา่ ง ๆ 4.ด้านอาหาร 4.1 เพม่ิ ปริมาณเนอื้ สัตว์ทง้ั สตั วบ์ กและสตั ว์นาํ้ ได้แก่ กระบือ สกุ ร สว่ นสัตวน์ ้าํ มที งั้ สตั ว์น้ําจดื และสตั วน์ ํา้ เคม็ จาํ พวกปลา กุ้ง หอย ตา่ ง ๆ ซึ่งเนอื้ สัตว์เป็นแหล่งสารโปรตีนที่สําคัญมาก 4.2 เพมิ่ ผลผลติ จากสัตว์ เชน่ นํา้ นมววั ไข่เปด็ ไข่ไก่ เป็นต้น

53   4.3 เพ่ิมผลติ ภัณฑท์ ีแ่ ปรรูปจากผลผลติ ของสัตว์ เชน่ เนย นมผง นมเปรย้ี ว และโยเกริ ต์ เป็น ตน้ ทําใหเ้ รามอี าหารหลากหลายที่เป็นประโยชน์มากมาย 5. ดา้ นส่งิ แวดล้อม 5.1 การใชจ้ ลุ นิ ทรยี ช์ ่วยรักษาสภาพแวดล้อม โดยการคัดเลอื กและปรบั ปรงุ พันธจุ์ ุลนิ ทรยี ์ให้มี ประสิทธภิ าพในการยอ่ ยสลายสูงขึ้น แล้วนาํ ไปใชข้ จัดของเสีย 5.2 การค้นหาทรัพยากรธรรมชาตมิ าใช้ประโยชนแ์ ละการสร้างทรพั ยากรใหม่ 6.ด้านการผลติ พลังงาน 6.1 แหลง่ พลงั งานทไ่ี ด้จากชีวมวล คือ แอลกอฮอล์ชนิดต่างๆ และอาซีโตน ซ่ึงได้จากการแปร รูป แป้ง น้าํ ตาล หรอื เซลลโู ลส โดยใช้จลุ ินทรีย์ 6.2 แก๊สชวี ภาพ คอื แกส๊ ท่เี กดิ จากการที่จุลนิ ทรีย์ย่อยสลายอินทรียวัตถุ โดยไม่ตอ้ งใช้ ออกซิเจน ซึง่ จะเกิดแกส๊ มีเทนมากทีส่ ดุ (ไมม่ สี ี ไมม่ ีกลิน่ และตดิ ไฟได้ )แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ แก๊สไนโตรเจน แกส๊ ไฮโตรเจน ฯลฯ ผลของเทคโนโลยชี วี ภาพดา้ นการตัดต่อพนั ธุกรรม การนาํ เทคโนโลยีการตดั ต่อพันธุกรรมมาใช้ เพอื่ ใหจ้ ุลนิ ทรยี ส์ ามารถผลิตสารหรอื ผลิตภณั ฑบ์ างชนิด หรอื ผลติ พืชทตี่ า้ นทานตอ่ แมลงศัตรูพืช โรคพชื และยาปราบวชั พชื และปรับปรงุ พนั ธุ์ให้มผี ลผลติ ท่มี คี ณุ ภาพ ดีขน้ึ ซึ่งสิ่งมีชวี ติ ท่ไี ดจ้ ากการตดั ตอ่ พันธุกรรมน้ี เรยี กว่า จีเอ็มโอ(GMO) เปน็ ชอ่ื ยอ่ มาจากคําว่า Genetically Modified Organism พชื จเี อม็ โอ ส่วนใหญ่ ได้แก่ ขา้ วโพด และฝา้ ยทีต่ ้านทานแมลง ถ่วั เหลอื งต้านทานยาปราบศัตรพู ืช มะละกอ และมนั ฝรั่งตา้ นทานโรค แมว้ า่ เทคโนโลยชี วี ภาพน้ัน มีประโยชนใ์ นการพัฒนา พันธ์ุพืช พนั ธ์ุสัตว์ ใหม้ ผี ลผลติ ทมี่ ปี ริมาณและ คณุ ภาพสูง และมีต้นทุนการผลติ ต่าํ กต็ าม แตก่ ย็ ังไม่มหี ลักฐานทแ่ี น่นอนยืนยันไดว้ ่าพชื ทีต่ ัดต่อยีนจะไม่สง่ ผล กระทบตอ่ สภาพแวดล้อม และความหลากหลายทางชวี ภาพ ทงั้ นี้ มีการทดสอบการปลูกพชื จเี อ็มโอ ท่ัวโลก ดังน้ี 1.พชื ไรท่ นทานตอ่ สารเคมกี ําจดั วชั พืช เพ่อื ลดการใช้ยาปราบวชั พืชในปริมาณมาก 2.พชื ไร่ทนทานต่อยาฆ่าแมลง กําจัดวชั พืช 3.พชื ไรท่ นทานต่อไวรสั ไดแ้ ก่ มะละกอ และนาํ้ เต้า ผลกระทบของการใชเ้ ทคโนโลยชี วี ภาพ การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ ทาํ ใหเ้ กดิ ความหวาดกลัวในเรอ่ื งความปลอดภยั ของมนุษย์ และ จริยธรรมของเทคโนโลยีชีวภาพทม่ี ีตอ่ สาธารณะชน โดยกลวั วา่ มนุษยจ์ ะเขา้ ไปจัดระบบสิ่งมชี ีวติ ซึง่ อาจทําให้ เกิดความวบิ ตั ิทางส่ิงแวดล้อม และการแพทย์ หรอื อาจนาํ ไปสูก่ ารขัดแย้งกับธรรมชาติของมนุษย์ เช่น การผลิตเช้อื โรคชนดิ รา้ ยแรงเพอื่ ใชใ้ นสงครามเชอ้ื โรค การใชส้ ารพนั ธกุ รรมของพืชจากประเทศกาํ ลังพัฒนาเพือ่ หวงั กาํ ไร ดงั นัน้ การใช้เทคโนโลยีชวี ภาพอยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม จึงจะกอ่ ให้เกดิ ความม่ันคงในการ ดํารงชีวิต แตถ่ า้ ใชอ้ ย่างไม่มีความตระหนักถึงผลในด้านความปลอดภัยและไมม่ ีจริยธรรมตอ่ สาธารณะชนแลว้ อาจเกดิ ผลกระทบได้ ผลกระทบของสิง่ มชี ีวิต จีเอม็ โอ พบวา่ สง่ิ มชี ีวิต จเี อ็มโอ เคยสง่ ผลกระทบ ดงั นี้ 1.ผลกระทบตอ่ ความหลากหลายทางชีวภาพ

54   พบวา่ พืชทีต่ ดั แตง่ พนั ธกุ รรมสง่ ผลต่อแมลงท่ีช่วยผสมเกสร และพบวา่ แมลงเตา่ ทองท่เี ลี้ยง ดว้ ยเพลย้ี ออ่ นทเ่ี ล้ียงในมนั ฝรงั่ ตัดตอ่ ยนี วางไขน่ อ้ ยลง 1 ใน 3 และมอี ายสุ น้ั กวา่ ปกติครงึ่ หนึง่ เมื่อเปรยี บเทียบ กับแมลงเต่าทองท่ีเล้ยี งดว้ ยเพลีย้ ออ่ นที่เลย้ี งด้วยมนั ฝร่ังทั่วๆไป 2.ผลกระทบตอ่ ชวี ติ และสงิ่ แวดล้อม ผลกระทบของสิ่งมีชีวิต จีเอ็มโอ ต่อชีวิตของผู้บริโภค นั้น เคยเกิดขึ้นบ้างแล้ว โดยบริษัทผลิต อาหารเสริมประเภทวิตามิน บี 2 โดยใช้เทคนิคพันธุวิศวกรรม และนํามาขายในสหรับอเมริกา หลังจากน้ัน พบว่ามีผู้บริโภคป่วยด้วยอาการกล้ามเน้ือผิดปกติ เกือบ 5,000 คน โดยมีอาการเจ็บปวด และมีอาการทาง ระบบประสาทรว่ มด้วย ทําใหม้ ผี ูเ้ สียชวี ิต 37 คน และพกิ ารอยา่ งถาวร เกือบ 1,500 คน การศึกษาหาความรู้ เพ่ือที่จะเรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพให้มากข้ึนนั้นควร ติดตามข่าวสารความก้าวหน้า การใช้ประโยชน์ รวมถึงความเส่ียงท่ีอาจเกิดผลกระทบต่อตนเอง และ สิ่งแวดล้อมเพื่อกาํ หนดทางเลือกของตนเองได้อยา่ งปลอดภยั

55   ใบงาน ประโยชนแ์ ละผลกระทบของเทคโนโลยชี ีวภาพตอ่ มนษุ ย์ สงิ่ แวดลอ้ มและเศรษฐกิจได้ จงตอบตําถามต่อไปน้ี 1. จงบอกประโยชน์ของเทคโนโลยชี วี ภาพมา 5 ขอ้ ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... 1. จงบอกผลกระทบทีเ่ กดิ จากของเทคโนโลยชี ีวภาพมา 5 ข้อ ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................................

56   บรรณานกุ รม http://api.ning.com/files/KgzHHUbL9Okk3SaYYB2*MMc0CQaTiPoiGnqXCUla4u4dJG9ATW5xgi*X LHMBV9Wt5vQhOnhFmcqgYUAbIycYx8-42fCFkRpV/P1010961.JPG?width=721 (สืบคน้ เม่อื วันท่ี 25 กนั ยายน 2558) http://www.rspg.or.th/information/pic/tissue/ts_06.jpg(สืบค้นเมอ่ื วนั ที่ 25 กนั ยายน 2558) http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type2/ science04/24/images/ 091353_1433_3.jpg (สบื ค้นเม่ือวนั ที่ 26 กันยายน 2558) http://www.rspg.or.th/information/information_11-1.html(สืบคน้ เมื่อวันท่ี 28 กันยายน 2558) http://110.77.138.105/files/km/km1/km_1.pdf (สบื ค้นเมอื่ วนั ที่ 28 กันยายน 2558) http://www.rspg.or.th/information/pic/tissue/ts_02.jpg( สืบคน้ เม่ือวันที่ 28 กนั ยายน 2558) http://fieldtrip.ipst.ac.th/backend/images/resources/agriculture/content_pic/ agriculture_9_3.jpg (สบื คน้ เมือ่ วนั ที่ 28 กันยายน 2558) สาํ นกั งาน กศน. 2551. กองพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น หนังสือเรยี นสาระความรู้พ้นื ฐาน รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์(พว31001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย. กรงุ เทพฯ. 359 น. วโิ รจนไ์ ววานิชกจิ , พ.บ., อาจารย,์ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสูตร คณะแพทยศาสตร์จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั ,มกราคม 2544. http://medinfo.psu.ac.th/smj2/191/1919.html ( สืบค้นเม่ือวนั ที่ 25 กนั ยายน 2558)

57   คณะผูจ้ ดั ทาํ ทีป่ รึกษา บุญวงษ์ ผอู้ าํ นวยการ กศน.อําเภอแมว่ าง นางออมสนิ ปัญโญ ครู กศน.ตําบล กศน.อาํ เภอแม่วาง ขันแขง่ บญุ ครู กศน.ตําบล กศน.อําเภอแมว่ าง คณะผู้จัดทาํ นายบญุ รัตน์ นายยรุ นันท์

58   คณะบรรณาธิการ/ปรบั ปรงุ แกไ้ ข ที่ปรึกษา ศรศี ักดา ผอู้ ํานวยการสํานักงาน กศน.จังหวัดเชียงใหม่ กิตชิ านนท์ รองผ้อู าํ นวยการสาํ นักงาน กศน.จงั หวดั เชียงใหม่ นายศภุ กร นางมีนา คณะบรรณาธิการ/ปรบั ปรุงแกไ้ ข นางนริ มล บญุ ชู ผู้อาํ นวยการ กศน.อําเภอไชยปราการ ประธานกรรมการ นางจฑุ ามาศ วงษศ์ ริ ิ ครูชํานาญการพิเศษ กศน.อําเภอแม่รมิ กรรมการ นางวฒั นีย์ พฒั นยี ก์ านต์ ครชู ํานาญการพิเศษ กศน.อําเภอหางดง กรรมการ นางจารวี มะโนวงค์ ครูชาํ นาญการ กศน.อําเภอดอยสะเก็ด กรรมการ นางนชิ าภา สลกั จติ ร ครชู ํานาญการ กศน.อาํ เภอแมแ่ ตง กรรมการ นางพิมพใ์ จ โนจะ๊ ครู คศ.1 กศน.อําเภอแม่วาง กรรมการ นางยุพนิ คําวัน ครู คศ.1 กศน.อาํ เภอฮอด กรรมการ นางสาววริยาภรณ์ นามวงศ์พรหม ครู กศน.ตําบล กศน.อาํ เภอเมือง กรรมการ นางเบญจพรรณ ปันกํา ครู กศน.ตําบล กศน.อาํ เภอแมร่ มิ กรรมการ นายศรณั ยภ์ ทั ร จักรแก้ว ครู กศน.ตาํ บล กศน.อาํ เภอแมแ่ ตง กรรมการ นางสาวณัฐกฤตา มะณีแสน ครู กศน.ตําบล กศน.อําเภอดอยสะเก็ด กรรมการ นางสาวณฐมน บญุ เทยี ม ครู กศน.ตําบล กศน.อําเภอเชียงดาว กรรมการ นางโยธกา ธีระวาสน์ ครอู าสาฯ กศน.อําเภอดอยสะเก็ด กรรมการ นางสาวภาสนิ ี สิงห์รตั นพันธุ์ บรรณารักษ์ สาํ นักงาน กศน.จงั หวดั เชยี งใหม่ กรรมการ และเลขานกุ าร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook