89 กจิ กรรมท่ี 4 กำรจดั กำรกำรตลำดและกำรทำบัญชี คำสง่ั : ใหต้ อบคำถำมตอ่ ไปนี้ 1. ตลาดไข่ไก่ในประเทศไทย มกี ี่ประเภทอะไรบ้าง 2. การสง่ เสรมิ การขาย หมายถึงอะไร 3. ลักษณะของบรรจภุ ณั ฑ์ท่ีดีควรเปน็ อย่างไร
90 4. อะไรคือปัจจัยทีค่ วรคานงึ ในการกาหนดราคาไก่ไข่ 5. วธิ ีการข้ันพ้ืนฐานในการตั้งราคาท่ีนยิ มใช้กนั มกี ี่วิธอี ะไรบา้ ง 6. จงบอกประโยชน์ของการทาบัญชมี า 3 ข้อ
91 7. การจดบันทกึ ขอ้ มูลในดา้ นการผลิต ที่สาคัญมีก่ีขอ้ อะไรบ้าง 8. จงอธิบายข้อดีของการทาบญั ชีการผลติ มาโดยสงั เขป
92 บทที่ 5 กำรอนุรักษท์ รพั ยำกรธรรมชำตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม
93 แผนกำรเรยี นรปู้ ระจำบท บทที่ 5 กำรอนรุ ักษท์ รัพยำกรธรรมชำติและสงิ่ แวดลอ้ ม สำระสำคญั ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ถือว่าเป็นสิ่งสาคัญของมนุษย์ การประกอบอาชีพใดอาชีพหน่ึง สาคัญอย่างยิ่งว่าจะต้องนาทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่มาใช้ ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรน้า ทรัพยากรดิน ทรัพยากรป่าไม้ ดังนั้นการนาทรัพยากรธรราชาติเหล่าน้ันมาใช้ เราควรนามาใช้อย่างประหยัด คานึงถึง ประโยชนแ์ ละความคุ้มค่าให้มากท่สี ดุ ผลกำรเรียนรูท้ ่คี ำดหวงั 1. อธิบายการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมในการเลย้ี งไก่ไข่ได้ ขอบขำ่ ยเน้อื หำ 1. การอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ 1. ศกึ ษาเอกสารการสอนหน่วยท่ี 5 2. การแลกเปลยี่ นเรยี นร้ซู ่งึ กันและกนั 3. ปฏบิ ัติกจิ กรรมตามทไ่ี ด้รับมอบหมายในเอกสารการสอน 4. ทากิจกรรมท้ายบท สื่อประกอบกำรเรยี นรู้ 1. เอกสารการสอนหน่วยท่ี 5 2. แบบฝกึ ปฏบิ ัติ ประเมนิ ผล 1. การสงั เกตความสนใจในกระบวนการเรยี นรู้ ความรับผิดชอบ 2. การทากจิ กรรมท้ายบท
94 เร่อื งที่ 5.1 กำรอนุรักษ์ทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละส่ิงแวดล้อม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม หมายถึง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างฉลาด โดยใช้ให้น้อยเพ่ือประโยชน์สูงสุด โดยคานึงถึงระยะเวลาในการใช้ให้ยาวนานและก่อให้เกิดผล เสยี หายตอ่ สิ่งแวดลอ้ มนอ้ ยท่ีสุด รวมท้ังต้องมีการกระจายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างท่ัวถึง อย่างไรก็ตาม ในสภาพปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความเส่ือมโทรมมากขึ้น ดังนั้นการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงมีความหมายรวมไปถึงการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อมด้วยการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมสามารถกระทาไดห้ ลายวิธี ทั้งทางตรงและทางอ้อม ดงั นี้ 1. กำรอนรุ ักษ์ทรพั ยำกรธรรมชำติและสงิ่ แวดลอ้ มโดยทำงตรง ซง่ึ ปฏิบัติไดใ้ นระดบั บุคคล องค์กรและระดับประเทศท่ีสาคญั คือ 1) กำรใช้อย่ำงประหยัด คือ การใช้ท่าท่ีมีความจาเป็นเพื่อให้ให้มีทรัพยากรไว้ใช้ได้นานและเกิด ประโยชนอ์ ยา่ งคุม้ คา่ มากท่ีสดุ 2) กำรนำกลับมำใช้ซ้ำอีก ส่งิ ของบางอยา่ งเม่อื มีการใช้แล้คร้ังหน่ึงสามารถที่จะนามาใช้ซ้าได้อีก เช่น ถุงพลาสติก กระดาษ เปน็ ต้น ซึ่งเปน็ การลดปรมิ าณการใชท้ รพั ยากรและการการทาลายส่งิ แวดล้อมได้ 3) กำรบูรณะซ่อมแซม ส่ิงของบางอย่างเมื่อใช้เป็นเวลานานอาจเกิดการชารุดได้ เพราะฉะนั้นถ้ามี การบรู ณะซอ่ มแซมทาใหส้ ามารถยืดอายกุ ารใชง้ านตอ่ ไปได้อีก 4) กำรบำบัดและกำรฟื้นฟู เป็นวิธีการท่ีจะชว่ ยลดความเส่ือมโทรมของทรัพยากรด้วยการบาบัดก่อน เช่น การบาบัดน้า สาธารณะ ส่วนการฟื้นฟูเป็นการร้ืนฟ้ืนธรรมชาติให้กลับสู่สภาพเดิม เช่น การปลูกป่าชาย เลน เพอื่ ฟน้ื ฟคู วามสมดุลของป่าชายเลนให้กลับมาอุดมสมบูรณ์ เป็นตน้ 5) กำรใช้สิ่งอื่นทดแทน เป็นวิธีการท่ีจะช่วยให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติน้อยลงและไม่ทาลาย ส่ิงแวดล้อม เช่น การใช้ถุงผ้าแทนพลาสติก การใช้ใบตอนแทนโฟม การใช้พลังงานแสงแดดแทนแร่เชื้อเพลิง การใชป้ ๋ยุ ชวี ภาพแทนป๋ยุ เคมี เปน็ ต้น 6) กำรเฝ้ำระวังดูแลและป้องกัน เป็นวิธีการที่จะไม่ให้ทรัพยากรธรรมและสิ่งแวดล้อมถูกทาลายเช่น การเฝ้าระวงั การท้ิงขยะ สิง่ ปฏิกูลลงแมน่ า้ คูคลอง การจดั ทาแนวป้องกันไฟปา่ เปน็ ตน้ 2. กำรอนรุ ักษท์ รัพยำกรธรรมชำตแิ ละสิ่งแวดล้อมโดยทำงอ้อม สามารถทาได้หลายวธิ ี ดงั นี้ 1) กำรพัฒนำคุณภำพประชำชน โดยสนับสนุนการศึกษาด้านอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่ ถูกต้องตามวิชาการ ซ่ึงสามารถทาได้ทุกระดับอายุ ท้ังในระบบโรงเรียนและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ และนอก ระบบโรงเรียนผ่านส่ือสารมวลชนต่าง ๆเพ่ือให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงความสาคัญและความจาเป็นใน การอนรุ ักษ์ เกดิ ความรักความหวงแหน และให้ความรว่ มมอื อยา่ งจรงิ จงั 2) กำรใช้มำตรกำรทำงสังคมและกฎหมำย การจัดตั้งกลุ่ม ชุมชน ชมรม สมาคม เพื่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ ตลอดจนการให้ความร่วมมือทั้งทางด้านพลังกาย พลังใจ พลัง ความคิด ด้วยจิตสานึกในความมีคุณค่าของส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรที่มีต่อตัวเรา เช่น กลุ่มชมรมอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของนักเรียน นักศึกษา ในโรงเรียนละสถาบันการศึกษาต่าง ๆ มูลนิธิ ค้มุ ครองสัตว์ปา่ และพรรณพืชแห่งประเทศไทย มูลนิธิสืบ นาคะเสถียร มูลนิธโิ ลกสเี ขียว เป็นต้น
95 3) ส่งเสริมให้ประชำชนในท้องถ่ินได้มีส่วนร่วมในกำรอนุรักษ์ ช่วยกันดูแลรักษาให้ดูแลรักษาให้คง สภาพเดมิ ไมใ่ หเ้ กดิ ความเสื่อมโทรมเพอื่ ประโยชน์ในการดารงชวี ติ ในท้องถิ่นของตน การประสานงานเพื่อสร้าง ความร้คู วามเข้าใจ และความตระหนักระหว่างหน่วยงานของรัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับประชาชน ให้มี บาบาทหนา้ ที่ในการปกปอ้ ง คุ้มครอง ฟืน้ ฟูการใชท้ รพั ยากรอยา่ งคุ้มคา่ และเกิดประโยชน์สงู สดุ 4) ส่งเสริมกำรศึกษำวิจัย ค้นหาวิธีการและพัฒนาเทคโนโลยี มาใช้ในการจัดการกับ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การใช้ความรู้ความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มาจัดการการวางแผนพัฒนา การพัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ให้มีการประหยัดพลังงานมากข้ึน การ ค้นควา้ วิจยั วธิ ีการจดั การ การปรบั ปรงุ พัฒนาสง่ิ แวดลอ้ มให้มปี ระสิทธภิ าพและยัง่ ยืน เป็นต้น 5) กำรกำหนดนโยบำยและวำงแนวทำงของรฐั บำล ในการอนุรักษ์และพฒั นาส่ิงแวดล้อมทั้งในระยะ ส้ันและระยะยาวเพ่ือเป็นหลักการให้หน่วยงานและเจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ีเกี่ยวข้องยึดถือและนาไปปฏิบัติ รวมทั้ง การเผยแพรข่ ่าวสารดา้ นการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม ทงั้ ทางตรงและทางอ้อม
96 กจิ กรรมที่ 5 กำรอนุรกั ษ์ทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม คำสง่ั : ใหต้ อบคำถำมตอ่ ไปน้ี 1. การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มหมายถึง อะไร 2. ให้นักศึกษาบอกวธิ กี ารอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มมาเปน็ ข้อ ๆ 2.1 การอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมโดยทางตรง 2.2 การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มโดยทางออ้ ม
97 บทที่ 6 คุณธรรมในกำรประกอบอำชีพ ปญั หำ อปุ สรรค ในกำรเล้ียงไกไ่ ข่
98 แผนกำรเรยี นรู้ประจำบท บทท่ี 6 คุณธรรมในกำรประกอบอำชีพ ปัญหำ อุปสรรค ในกำรเลี้ยงไก่ไข่ สำระสำคญั การประกอบอาชีพทุกอาชีพ จะให้ประสบความสาเร็จได้ ผู้ประกอบการควรมีคุณธรรมในการ ประกอบอาชีพ การกระทาที่เปน็ ประโยชน์ ไม่เบียดเบียน ประกอบอาชีพด้วยความสุจริต จะก่อให้เกิดผลดี ต่อการประกอบอาชพี ไดผ้ ลผลติ และรายได้ท่ีดี เป็นทย่ี อมรบั ของสงั คม ผลกำรเรยี นรูท้ คี่ ำดหวงั 1. อธิบายคุณธรรมในการประกอบอาชีพได้ 2. อธบิ ายปญั หา และอปุ สรรคในการเล้ียงไกไ่ ข่ได้ ขอบขำ่ ยเน้ือหำ 1. คณุ ธรรมในการประกอบอาชีพ ความรับผิดชอบ ความซื่อสตั ย์ ความขยัน 2. ปัญหาและอุปสรรคในการเลี้ยงไกไ่ ข่ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ 1. ศึกษาเอกสารการสอนหนว่ ยที่ 6 2. การแลกเปล่ยี นเรยี นรูซ้ ่งึ กนั และกัน 3. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมายในเอกสารการสอน 4. ทากจิ กรรมท้ายบท ส่อื ประกอบกำรเรยี นรู้ 1. เอกสารการสอนหน่วยท่ี 6 2. แบบฝกึ ปฏิบัติ ประเมินผล 1. การสงั เกตความสนใจในกระบวนการเรียนรู้ ความรับผดิ ชอบ 2. การทากจิ กรรมทา้ ยบท
99 เรอ่ื งที่ 6.1 คุณธรรมในกำรประกอบอำชีพ คุณธรรม จริยธรรม มีความหมายว่าคุณงามความดีของบุคคลท่ีกระทาลงไปด้วยความมีสานึกใน จติ ใจ โดยยึดถือปฏิบตั จิ นเปน็ ความเคยชินกันมายาวนาน อันเป็นลกั ษณะนิสยั ของคนดีทพ่ี ึงประพฤติปฏิบัติจน เป็นที่ยอมรับว่าเป็นสิง่ ทด่ี งี ามถกู ต้องตามจารีตประเพณีของตนเองผู้อ่ืนและสงั คมโดยรวม ควำมหมำยของคณุ ธรรมงำนอำชพี คุณธรรมงานอาชพี หมายถึง การกระทาที่เป็นประโยชน์ ไมเ่ บียดเบียนการทาหน้าท่ีการทามาหากิน เลี้ยงชีพโดยสุจริต ก่อใหเ้ กดิ ผลผลิตและรายได้ เป็นทีย่ อมรับของสงั คม ควำมสำคัญของคณุ ธรรม จรยิ ธรรมงำนอำชีพ บคุ คลผู้มีคุณธรรม หมายถึง บุคคลที่มีความเป็นอยู่อย่างถูกต้องตามกฎเกณฑ์ และหลักการเหตุผล ของธรรมชาติ สังคมหรือชุมชนใดมีผู้มีคุณธรรมเป็นส่วนมาก สังคมน้ันย่อมมีความสมดุลกลมกลืน สงบสุข เจริญและพัฒนาอย่างไม่มีท่ีสิ้นสุดความสาคัญของคุณธรรมในข้อที่ว่า เป็นเคร่ืองเสริมบุคลิกภาพ และเป็น เคร่ืองส่งเสริมความสาเร็จน้ัน เป็นประเด็นที่มีความสาคัญต่องานอาชีพอย่างยิ่ง เพราะอาชีพต้องติดต่อ สัมพันธเ์ ก่ียวขอ้ งและประสานกบั ผู้คนท่ัวไป คณุ ธรรม จรยิ ธรรมท่พี ึงปฏบิ ตั ใิ นกำรพฒั นำอำชพี มีดังน้ี 1. ควำมรับผิดชอบ ความรับผิดชอบ คือ ความสานึกได้อยู่เสมอในการปฏิบัติงาน เอาใจใส่ ติดตามผลไม่ ทอดทง้ิ ยอมรบั ผิดชอบผลของหน้าท่ีการงานที่ตนเองกระทาทั้งดีไม่ดี ไม่ปัดความรับผิดชอบในหน้าที่ของตน แก่ผอู้ ื่น ความสาคัญของความรบั ผิดชอบ 1) ทาให้เป็นคนตงั้ ใจจริง รกั หนา้ ท่ีการงานท้ังเป็นของส่วนตนและสว่ นรวม 2) เป็นการสร้างความมั่นใจให้แกต่ นเองและหมูค่ ณะตลอดถึงประเทศชาติ 3) เปน็ คณุ สมบตั ิสาคัญของคนในชาตทิ เี่ จรญิ แล้ว 4) เปน็ คณุ ลักษณะทจ่ี าเป็นในวิถชี วี ิตในสงั คมประชาธปิ ไตย 5) เป็นการสร้างเสริมคุณลกั ษณะของความเป็นผ้นู าที่ดี 6) ทาให้สงั คมและประเทศชาติมีความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย ลกั ษณะของการรูจ้ ักรบั ผิดชอบต่อตนเอง 1) ตรงต่อเวลาได้แก่ การตรงตอ่ เวลาท่ีกาหนดนัดหมาย เช่น การไปโรงเรียน การไปทางาน การประชุม การนัดพบ ฯลฯ 2) รู้จักหน้าท่ีของตน ได้แก่ รู้จักสภาพสาคัญท่ีตนเองเป็นอยู่ ตนมีหน้าที่ทาอะไร ต้องทา สิ่งนั้นให้สมบูรณ์ด้วยความขยันหม่ันเพียรเต็มความสามารถเช่น นักเรียนต้องเรียนหนังสือ ครูต้องอบรม นักเรียน หมอตอ้ งรกั ษาคนเจ็บไข้ไดป้ ่วย 3) รู้จักคุ้มครองตน ได้แก่ รู้จักวิธีรักษาตน ป้องกันตนเองให้มีความปลอดภัยพ้นจาก อันตรายตา่ งๆ
100 4) รู้จักคุมความประพฤติของตนเอง ได้แก่ การท่ีตนมีความสามารถบังคับควบคุมจิตใจ ตนเองไมใ่ ห้หลงใหลมัวเมาในอบายมขุ ไม่ตกเปน็ ทาสของกิเลส ประพฤตติ นอยู่ในศีลธรรม 5) รู้จักรักษาสุขภาพอนามัย การรักษาร่างกายให้แข็งแรงอยู่ เสมอ เพื่อจะได้ใช้ ความสามารถทาหนา้ ที่การงานให้ได้สมบรู ณ์ 2. ควำมซ่อื สตั ย์ ความซื่อสัตย์ เป็นคุณลักษณะที่สาคัญและเป็นที่ต้องการในทุกองค์การ ซึ่งความซ่ือสัตย์ นอกจากจะหมายถงึ การรักษาความลับ ผลประโยชน์ และทรัพย์สินต่างๆ ของบริษัทแล้ว ความซื่อสัตย์ยัง หมายรวมไปถึงการให้ข้อมูลที่ถูกต้องและไม่บิดเบือนจากความเป็นจริง และการปฏิบัติตามระเบียบหรือกฎ ของบริษัท และยังพบอีกว่ามีหลายองค์การได้กาหนดความซ่ือสัตย์เป็นวัฒนธรรมองค์การ ( Corporate Culture) หรือคุณคา่ รว่ ม (Core Value) ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับความคิดความเช่ือทีอ่ ยากให้พนกั งานทุกคนปฏบิ ัติ ลักษณะของความซ่ือสัตย์จะมีความสาคัญและส่งผลต่อตนเองและต่อหน่วยงานหรือองค์การ สรปุ ไดด้ งั นี้ 1) การไดร้ บั ความไวว้ างใจ 2) ไดร้ ับความเช่อื ถือ 3) สร้างผลงาน (Performance) ความซือ่ สตั ยท์ าใหม้ โี อกาสทางานใหญห่ รอื สาคัญ 4) รักษาผลประโยชน์ของหน่วยงาน/บริษัท หากมีความซื่อสัตย์แล้วก็ย่อมหมายถึง ไม่ได้ เอาเปรียบหน่วยงานและบริษัท เน่ืองจากทางานอย่างเต็มท่ี ได้ปฏิบัติตามระเบียบและรักษาทรัพย์สินของ บริษัท 3. ควำมขยนั ความขยัน หมายถึง การปฏิบัติหน้าท่ีการงานและการประกอบอาชีพท่ีสุจริตอย่าง กระตือรือร้น และต้ังใจจริงให้สาเร็จด้วยความมานะอดทน สาหรับการปลูกฝังและสร้างเสริมเรื่องความ ขยันหม่ันเพียร ต้องมุ่งเน้นให้ทางานในหน้าท่ีของตนเองให้ประสบความสาเร็จ มีความอดทนไม่ย่อท้อต่อ ความยากลาบากหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้น ศึกษาหาความรู้อยู่เป็นนิจ ฝึกฝนตนเองให้มีความสามารถและความ ชานาญในงานท่สี ุจริตเปน็ ประโยชนต์ ่อสงั คม ความขยันหมน่ั เพียรไมว่ ่าจะเปน็ ความขยันหมั่นเพียรชนิดใดย่อมจะทาให้ผู้นั้นบรรลุผลสาเร็จ แต่ความขยันขันแข็งดังกล่าวมานี้ ควรจะมีจุดหมายแห่งชีวิตอย่างใดอย่างหน่ึงด้วย เพราะการมีจุดมุ่งหมาย แหง่ ชีวิตนน้ั จะทาให้พลงั แหง่ ความขยนั ขันแขง็ มีความรนุ แรงข้นึ การขยันขนั แข็งท่ีดีนั้นควรจะเป็นความขยัน ขันแข็งท้ังเฉพาะหน้าและอนาคตไปพร้อมๆ กัน ความขยันขันแข็งที่เกิดจากการทาประโยชน์ให้แก่ผู้อื่นมี อิทธิพลและพลานุภาพแรงกว่าความเห็นแก่ตัวหรือทาให้ตนเองร่ารวยเป็นเศรษฐีข้ึน เพราะบุคคลท่ีขยัน ขันแข็งด้วยความเห็นแก่ตัวเหล่าน้ี ไม่เห็นมีใครสร้างอนุสาวรีย์ไว้ให้ ไม่เห็นมีใครยกย่องสรรเสริญ ไม่เห็นมี ใครกล่าวถงึ แตบ่ ุคคลทโี่ ลกสรา้ งอนุสาวรียไ์ ว้ใหน้ ้ัน เชน่ อนสุ าวรีย์ของลินคอล์น อนุสาวรีย์ของพระพุทธยอด ฟา้ พระเจ้าตากสินมหาราช พระนเรศวรมหาราช ฯลฯ เกดิ จากความขยันขนั แขง็ ของบคุ คลดงั กล่าว ความขยันหม่ันเพียรในงานท่ีเป็นประโยชน์ต่อชุมชนหรือสังคม หมายถึงการมีความรัก ความตั้งใจทางานสุจรติ และเปน็ ประโยชน์ต่อสังคม มีความกระตือรือร้นทจ่ี ะทางานดังกล่าว มาทางานทุกคร้ัง
101 ด้วยความเต็มใจ และปรารถนาดี ไม่เลือกงานหรือรังเกียจงาน โดยยึดถือวัตถุ(เงิน สถานท่ี) หรือตัวบุคคล พยายามคดิ ศึกษาและสร้างสรรค์งานท่ีส่งผลใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ สงั คมหรือชุมชนอยู่เสมอ สังคมหรือชุมชนเป็น ส่วนหน่ึงในการดาเนินชีวิตของเราที่จะต้องมีการอยู่ร่วมกัน และมีการพ่ึงพาอาศัยกันอยู่เสมอเพราะเราไม่ สามารถอยู่ตามลาพังได้ ดังน้ันจึงมีความสาคัญ มีความจาเป็นต้องมีความรับผิดชอบ ต้องมีความขยัน ชว่ ยงานของสงั คมและชมุ ชนไมท่ าตัวเปน็ ส่วนเกินของสังคม ทั้งน้ีเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชนของเราให้มีความ เจรญิ กา้ วหน้าท้งั ทางวัตถุและจิตใจ อกี ท้ังใหม้ ีความสามัคคีรักใครก่ ลมเกลียวกัน
102 เรือ่ งที่ 6.2 ปญั หำ อุปสรรค ในกำรเลย้ี งไก่ไข่ ปญั หำดำ้ นกระบวนกำรผลิต การผลิตไข่ไก่ของเกษตรกรไทย จะพบว่าเกษตรกรผู้เล้ียงไก่ไข่ได้ประสบปัญหาการขาดทุนและมี รายได้จากการผลิตไข่ไก่ท่ีไม่แน่นอน ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้มีความผันผวน จึงมีผลทาให้รายได้จากการ เลีย้ งไก่ขาดเสถยี รภาพและเปน็ ผลทาให้เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งไก่ไข่ไดร้ บั ความเดือดร้อน จึงเป็นประเด็นที่สมควรต้อง นามาพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหาทั้งระบบ เพ่ือให้เกิดความยั่งยืนในอาชีพการเล้ียงไก่ไข่เพ่ือเล้ียง ครอบครัวให้อยู่รอดได้ต่อไป ตลอดจนเพื่อให้เกิดความกินดีอยู่ดีของเกษตรกร ท่ีเป็นประชากรส่วนใหญ่ของ ประเทศ และสามารถสรปุ ประเด็นปัญหาได้ดังนี้ 1. ปัญหาความผันผวนของราคาไข่ไก่ ได้มีผลกระทบต่อเสถียรภาพทางด้านรายได้ของเกษตรกรผู้ เล้ียงไก่ไข่ จึงทาให้เกิดความไม่แน่นอนของรายได้จากการประกอบอาชีพการเลี้ยงไก่ไข่ และเกิดปัญหาความ เสี่ยงทางการตลาดของธุรกิจไข่ไก่ประสบปัญหากับการขาดทุน นอกจากน้ัน ยังพบว่าราคาไข่ไก่ยังมีปัญหาท่ีมี การเคลอ่ื นไหวตามฤดกู าลในรอบปเี ดียวกัน 2. ปริมาณการผลติ มีความไมแ่ นน่ อน เน่ืองจากมผี เู้ ลี้ยงไก่ไข่รายย่อยเป็นจานวนมาก ทาให้ไม่สามารถ ควบคุมปริมาณผลผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดได้ และความผันผวนของปริมาณการผลิตเป็น สาเหตสุ าคญั ทีส่ ่งผลทาใหเ้ กิดปญั หาวัฏจกั รของตลาดไข่ไก่ 3. เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ขาดแคลนเงินทุนในการพัฒนาระบบการเล้ียงจึงทาให้ผลผลิตไขไก่ที่ได้มี คุณภาพตา่ และฟาร์มเล้ียงไกข่ าดมาตรฐาน 4. ต้นทุนการผลิตสูง ทาให้เป็นอุปสรรคในการพัฒนาการแข่งขันเพ่ือการส่งออก สาเหตุส่วนหน่ึงเกิด จากราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์สูงและต้องนาเข้าจากต่างประเทศ โดยเฉพาะพันธุ์ไก่ไข่และวัคซีน มีราคาสูง อีก ส่วนหนึ่งเกิดจากได้รับความช่วยเหลือจากภาครัฐน้อย มีสาเหตุจากรัฐบาลยังให้ความช่วยเหลือ และให้การ อุดหนนุ เกษตรกรนอ้ ยมาก เมื่อเปรียบเทยี บกับประเทศอื่นๆ ท่ีเป็นคู่แข่งขัน โดยเฉพาะการอุดหนุนเกษตรกรผู้ เลี้ยงไก่ไข่อยู่ในระดับต่า การคืนภาษีส่งออกไข่ไก่ตามมาตรา 19 ทวิ* ที่มีการชดเชยการคืนภาษีต่ากว่าความ เป็นจริง รวมท้ังประเทศไทยไม่เคยอุดหนุนการส่งออกทาให้ไม่สามารถอุดหนุนการส่งออกได้ จึงทาให้เป็น อปุ สรรคตอ่ การแข่งขันเพอื่ สง่ ออก ปญั หำดำ้ นกำรตลำด 1. การตลาดภายในประเทศยังมีขอ้ จากัดในด้านการบริโภค จะเหน็ ได้วา่ อัตราการบริโภคไข่ไก่เฉลี่ยต่อ คนต่อปีของคนไทยอยู่ในระดับต่าและต่ากว่ามาก เม่ือเปรียบเทียบกับหลายประเทศในโลก เนื่องจากแพทย์ และประชาชนบางกลุ่มเกิดความเช่ือในปัญหาโอกาสเส่ียงในการเกิดโรคภัยไข้เจ็บโดยเฉพาะโรคหลอดเลือด หัวใจและไขมันในหลอดเลือดอุดตันจากการบริโภคไข่ ซึ่งความเช่ือดังกล่าวได้ขยายวงกว้างออกไป จึงมีผลทา ใหป้ ระชาชนส่วนใหญจ่ ากัดการบรโิ ภคไขอ่ ันเปน็ ผลทาใหเ้ กิดความผิดพลาดของโอกาสในการบริโภคอาหารท่ีมี คณุ คา่ สงู และมีราคาต่าอกี ทงั้ ยงั ไม่บังเกิดผลดีต่อประเทศชาติ 2. ปริมาณห้องเย็นมีจากัด สาหรับการเก็บรักษาไข่ไก่ในภาวะที่มีราคาตกต่า เพ่ือยืดอายุการบริโภค และการเก็บรกั ษาคณุ ภาพไขไ่ กไ่ ว้ เพือ่ รอจาหน่ายในสถานการณ์ตลาดในชว่ งท่ีภาวการณ์ตลาดดีขึ้น
103 3. การส่งออกของไทยไม่สามารถจัดการได้อย่างมีเสถียรภาพ ขาดความต่อเนื่องในการส่งออก โดยเฉพาะในภาวะท่ีเกิดการขาดแคลนไข่ไก่ และราคาไข่ไก่อยู่ในระดับสูง ผู้ส่งออกไม่สามารถจัดหาไข่ไก่เพ่ือ การส่งออกได้ จึงทาให้ประเทศผู้นาเข้าขาดความเช่ือถือผู้ส่งออกไทย ซึ่งถือเป็นอุปสรรคสาคัญต่อการพัฒนา โอกาสสง่ ออกไข่ไกไ่ ทย 4. ฐานการตลาดบริโภคไข่ไก่ในประเทศไทยมีจากัด ฐานการบริโภคไข่ไก่ท่ีสาคัญ (Market Segment) อยู่ทเี่ ด็กนกั เรยี นและเยาวชนที่อยใู่ นวัยศึกษา ซ่ึงทาให้ปรมิ าณการบริโภคเกิดความผันผวน ผันแปร ไปตามฤดูกาลของการเปิดภาคเรียนสถานศึกษา รวมทั้งเทศกาลต่าง ๆ ท่ีทาให้มีความต้องการไข่ไก่มากกว่า ช่วงเวลาปกติ ซึ่งส่งผลทาให้ตลาดไข่ไก่ในประเทศไทยเป็นตลาดท่ีไร้เสถียรภาพเกิดความผันผวนในด้านราคา และส่งผลกระทบต่อการเปล่ียนแปลงในพฤติกรรมการผลิตของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ให้ผันแปรตามไปอย่างไร้ เสถียรภาพด้วย ขอ้ สงั เกต 1. ประเด็นผลกระทบต่อสุขภาพจากการบริโภคไข่ การบริโภคไข่ไก่ ไม่น่าจะมีผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะโรคหลอดเลือดหวั ใจ โรคไขมนั ในหลอดเลือด หรือท่เี รยี กวา่ คลอเลสเตอรอล 2. การเล้ียงไก่ไข่จะส่งผลทาให้เกิดการสร้างงานรายได้ก่อให้เกิดการเพิ่มมูลค่าในทางเศรษฐกิจของ ประเทศได้อย่างแท้จริงทั้งน้ี อาชีพการเลี้ยงไก่ไข่จะมีลักษณะการเช่ือมโยงของกลไกลทางเศรษฐกิจ หรือโซ่ เศรษฐกิจท่ีเชื่อมไปท้ังข้างหน้า (Forward Linkage) แล้วข้างหลัง (Backward Linkage)โดยที่หากเกษตรกรมี การเพิ่มขึ้นนั้น หมายถึง ความต้องการสินค้าเกษตรที่เป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์ก็มีความต้องการ เพมิ่ ขน้ึ กระบวนการดังกลา่ วจะมีผลทาใหก้ อ่ ให้เกิดการสร้างงาน และรายไดใ้ หก้ บั เกษตรกรไทยเพ่ิมมากขึน้ 3. ประเด็นการควบคุมปริมาณการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ประเด็นปัญหา ดังกลา่ วน้ี ดาเนนิ การได้ใน 3 แนวทาง ไดแ้ ก่ 3.1 สนับสนุนให้มีการทาสัญญาข้อตกลง (Contract Farming) ระหว่างเกษตรกรผู้เลี้ยง ผู้ประกอบการ กบั ธรุ กิจไขไ่ ก่ โดยมีการกาหนดปรมิ าณรบั ซอื้ และราคารับซือ้ ท่ีแน่นอน 3.2 เพ่ิมปริมาณการบริโภค (Create Demand) ด้วยการรณรงค์ให้ประชาชน โดยเฉพาะ กลมุ่ เยาวชนสามารถบริโภคไขไ่ ก่เพ่มิ ข้นึ ได้ อันเป็นการเพ่มิ คณุ ภาพทางโภชนาการใหก้ บั เยาวชน 3.3 ลดปรมิ าณผลผลติ (Supply Control) เพื่อควบคุมปรมิ าณผลผลิตให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาด การควบคุมปริมาณการผลิตจะเก่ียวข้องกับพฤติกรรมการตัดสินใจในการผลิต และโดยท่ี เกษตรกรผูเ้ ล้ยี งไกร่ ายยอ่ ยมีจานวนมาก รวมทง้ั ผเู้ ลี้ยงไกไ่ ข่รายใหญท่ ่ที าการเล้ยี งในเชิงพาณิชย์ การที่มีจานวน ผูเ้ ล้ยี งมากราย และมคี วามหลากหลายของประเภทผู้เลี้ยง จึงทาให้การควบคุมปริมาณการผลิตเป็นไปได้ยากท่ี จะประสบความสาเรจ็ แนวทางแก้ไขปัญหาในประเด็นดังกลา่ วน้ี จาเป็นต้องมีมาตรการจดทะเบียนผู้เลี้ยงไก่ไข่ ของตลาด การควบคมุ ปรมิ าณการผลติ จะเก่ยี วข้องกับพฤติกรรมการตัดสินใจในการผลิต และโดยท่ีเกษตรกรผู้ เลี้ยงไก่รายย่อยมีจานวนมาก รวมทั้งผู้เล้ียงไก่ไข่รายใหญ่ท่ีทาการเลี้ยงในเชิงพาณิชย์ การท่ีมีจานวนผู้เลี้ยงมา กราย และมีความหลากหลายของประเภทผู้เล้ียง จึงทาให้การควบคุมปริมาณการผลิตเป็นไปได้ยากที่จะ ประสบความสาเรจ็ แนวทางแก้ไขปญั หาในประเด็นดงั กลา่ วนี้ จาเปน็ ต้องมมี าตรการจดทะเบียนผู้เลี้ยงไก่ไข่ 4. ต้นทุนการผลิตไข่ไก่สูง เป็นอุปสรรคสาคัญต่อการเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันและ การส่งออกไข่ไก่จากข้อเท็จจริงของการส่งออกไขไก่ของไทยสามารถส่งออกได้เพียง 60 ล้านฟอง หรือคิดเป็น สัดส่วนไม่ถึงร้อยละ 1 ของปริมาณการผลิต สาเหตุสาคัญที่ต้นทุนการผลิตสูงเกิดจากราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ สูงค่าใช้จ่ายในด้านวัคซีน ยา และเวชภัณฑ์สูง ฟาร์มเล้ียงไก่ของเกษตรกรรายย่อยไร้ประสิทธิภาพและขาด
104 มาตรฐาน เกษตรกรขาดแคลนเงินในการพัฒนาการเลี้ยงไก่ไข่เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการเลี้ยง ภาระภาษี ส่งออก และการคืนภาษี ตามมาตรา 19 ทวิ ยังล่าช้า และไม่ได้คืนเต็มเม็ดหน่วย แนวทางการแก้ไขปัญหา ต้นทุนการผลิตไข่ไก่ของเกษตรกรสูงข้ึนน้ัน จาเป็นท่ีจะต้องพิจารณาองค์ประกอบในภาพรวมในส่วนของการ ผลิตไข่ไก่ท้ังระบบ เพอื่ หาจุดเหมาะสม การแก้ไขปัญหาในด้านน้ีจาเป็นท่ีส่วนราชการ โดยสานักงานเศรษฐกิจ การเกษตร และกรมปศุสตั วด์ าเนินการพิจารณาร่วมกับเกษตรกร และธรุ กจิ เอกชนเพื่อศกึ ษาหาข้อเสนอแนะใน การแก้ไขปญั หาร่วมกัน 5. วัตถุดิบอาหารสัตว์มีราคาสูง โยเฉพาะวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ต้องนาเข้าจากต่างประเทศ ราคา วัตถดุ บิ อาหารสัตว์ดงั กล่าวจะแปรไปตามแลกเปลี่ยน และในกรณีท่ีค่าเงินบาทอ่อนตัวได้ ส่งผลให้ราคาวัตถุดิบ อาหารนาเข้าเพม่ิ สงู ขึน้ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งกากถว่ั เหลืองที่ต้องนาเข้ามาผลิตเป็นอาหารสัตว์ ต้องเผชิญความผัน ผวนของต้นทุนการผลิตอาหารเพิ่มข้ึนและยังส่งผลกระทบต่อต้นทุนการเล้ียงไก่ไข่ด้วย ข้อเสนอแนวทางแก้ไข วางแผนการผลิตพืชวัตถุดิบอาหารสัตว์ ในประเทศให้มีปริมาณเพียงพอ และวิจัยสูตรอาหารสัตว์ โดยคานึงถึง สตู รอาหารสัตว์ที่มีผลทาให้ต้นทุนต่าสุดท่ีเกิดจากช่วงเวลาของเปล่ียนแปลงราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ ตลอดจน คานึงถึงสภาพของแต่ละท้องถ่ินท่ีเกิดประสิทธิภาพ และมีต้นทุนการผลิตต่าสุด นอกจากนั้นแล้ว นโยบายการ นาเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ควรต้องมีจุดยืนท่ีแน่นอน เพ่ือการตัดสินใจลงทุนการผลิตอาหารสัตว์ของธุรกิจ ภาคเอกชนไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพและลดต้นทัน 6. การเกดิ โรคระบาด โอกาสเสี่ยงของการเกดิ โรคระบาดสัตว์มีผลทาให้ต้นทุนท่ีเกิดจากค่าใช้จ่ายของ วัคซีน และเวชภัณฑ์ในการเลี้ยงไก่เพิ่มสูงข้ึน ข้อเสนอในประเด็นนี้ ภาครัฐ โดยกรมปศุสัตว์ควรลงทุนผลิต วัคซนี และเวชภัณฑ์ทจ่ี าเป็นสาหรับใช้ในการเลีย้ งไกไ่ ข่ และจาหนา่ ยหรอื จา่ ยแจกให้แก่เกษตรกร 7. ฟาร์มเล้ียงไก่ไข่ขาดมาตรฐาน ซ่ึงสามารถแก้ไขได้โดยภาครัฐลงทุนทาการวิจัยระบบเลี้ยงท่ีมี ประสทิ ธิภาพ และลดต้นทนุ เพ่ือเผยแพรไ่ ปยังเกษตรกรผู้เลยี้ งไก่ไข่ท่ัวประเทศสาหรับปัญหาในด้านเทคโนโลยี การเลี้ยงไก่จะมีปัจจัยเก่ียวข้องที่สาคัญ ได้แก่ ปัญหาการเกิดโรคระบาด จึงจาเป็นท่ีจะต้องมีการแนะนา เกษตรกรผเู้ ลยี้ งไก่ไข่ให้มีการปฏิบัติที่ถูกต้อง เพ่ือลดปัญหาการเกดโรคระบาดและโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค ระบาด โดยรักษาความสะอาดโรงเรือน และอุปกรณ์ การใช้ยา วัคซีน เท่าท่ีจาเป็น เพื่อการประหยัดค่าใช้จ่าย และการป้องกันไม่ให้มีพาหนะของโรค รวมท้ังการทาลายไก่ที่ป่วยเป็นโรคติดต่อ การป้องกันโรคจะต้องทาให้ ถกู วิธี และตรงกับสาเหตุของโรคนน้ั ๆ จงึ จะไม่ทาใหเ้ กิดรายจ่ายสงู เกนิ ขอบเขต 8. เกษตรกรขาดเงินลงทุนในการพัฒนาระบบการเลี้ยงท่ีมีประสิทธิภาพ ทาให้เป็นอุปสรรคสาคัญต่อ การพัฒนาการเล้ียงไก่ไข่ที่มีประสิทธิภาพ และขาดมาตรฐานของฟาร์มเล้ียงไก่ไข่ทาให้ต้นทุนการผลิตราคาสูง และยังเป็นอุปสรรคต่อการส่งออกด้วย ในประเด็นนี้ภาครัฐควรจัดสรรเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่าให้เกษตรกรกู้ นาไปลงทุนในการพัฒนาระบบการเล้ียงไก่ไข่ ในทางปฏิบัติของการแก้ไขปัญหาน้ีสามารถดาเนินการโดย เช่ือมโยงกับนโยบายกองทนุ หมูบ่ า้ นด้วยกันสนับสนนุ ใหเ้ กษตรกรขอรบั เงินตามนโยบายกองทุนหม่บู ้าน 9. การผลกั ดันการส่งออกไข่ไก่ไปยังต่างประเทศ เน่ืองจากต้นทุนการผลิตไข่ไก่ของไทยอยู่ในระดับสูง เม่ือเปรียบเทียบกับระดับสูงเม่ือเปรียบเทียบกับต่างประเทศ จึงเป็นอุปสรรคสาคัญต่อการส่งออกไข่ไก่ไทย สาเหตุสาคัญที่ประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่ โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกา เนเธอร์แลนด์ มีการอุดหนุนการ ส่งออก (Export Subsidy) หากทาการเปรียบเทียบการอดุ หนุนการส่งออกจะพบว่าเนเธอร์แลนด์มีการอุดหนุน การสง่ ออกคิดเปน็ มูลคา่ ฟองละ 30 สตางค์ ในขณะที่ประเทศไทยไมม่ กี ารอุดหนุนการส่งออก ฉะนั้น มูลค่าของ การส่งออกท่ีได้รับการอุดหนุนจากรัฐจึงเป็นการเพ่ิมรายได้ให้ผู้ส่งออกและผู้ ส่งออกยังมีความสารถในการลด ราคาส่งออก เพอ่ื เพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั
105 ข้อเสนอแนวทางแก้ไข แม้ว่าประเทศไทยมอิ าจจะใช้มาตรการอุดหนุนการส่งออกได้ แต่ประเทศไทยก็ ยังมีโอกาสในการให้ความช่วยเหลือในการอุดหนุนธุรกิจไข่ไก่ได้ โดยการอุดหนุนผู้ผลิตภายในประเทศตาม ข้อยกเว้น (Green Box and Blue Box) ด้วยการอุดหนุนทางด้านการวิจัย การจัดหาพันธุ์ดี สินเชื่ออัตรา ดอกเบ้ียต่าการบริการห้องเย็น การคลังสินค้า การให้บริการทางด้านวัคซีน ยา และเวชภัณฑ์ รวมทั้งการ อุดหนนุ การตลาดทีเ่ กี่ยวกับการบรรจภุ ณั ฑ์การขนสง่ เปน็ ตน้ 10. การคืนเงนิ ภาษีจากการสง่ ออกตามมาตรา 19 ทวิ* ลา่ ช้าและไดค้ ืนไม่เติมเม็ดเต็มหนว่ ย สาเหตุสาคัญเกิดจากปัญหาการจัดทาสูตรในการคานวณภาระภาษีที่เกิดจากการใช้วัตถุดิบนาเข้า (Import Content) ท่ีมีภาษีนาเข้าติดมากับวัตถุดิบที่ไปใช้ในการผลิตไข่ไก่กับวัตถุดิบท่ีผลิตได้ภายในประเทศ (Local Content) ที่ขาดความชัดเจน จึงทาให้กรมศุลกากรไม่อาจจะคืนภาษีจากการส่งออกไข่ไก่ได้ตามที่ ธุรกิจเรียกร้อง โดยท่ีภาระภาษีที่เกิดจากการผลิตไข่ไก่ที่เกษตรกรจ่ายจริงอยู่ที่ร้อยละ 6 หรือคิดเป็นมูลค่า ฟองละ 10 สตางค์ แต่การส่งออกจะได้รับการคืนภาษีเพียงฟองละ 1 สตางค์ เท่าน้ัน จึงเห็นว่า ภาครัฐควรมี การชดเชย และคืนภาษีในส่วนให้กับธุรกิจส่งออกให้เต็มท่ี เพ่ือให้สามารถนามาสู่การเพิ่มขีดความสามารถใน การแขง่ ขนั การแก้ไขปัญหาในประเด็นนี้ ควรให้มีการเร่งรัดในการจัดทาสูตรการคานวณสัดส่วนของวัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิตไข่ไก่ที่เป็นวัตถุดิบภายในประเทศ และนาเข้าเพื่อให้เกิดความชัดเจน และสามารถคืนภาษีให้กับ ธรุ กิจสง่ ออกไขไ่ กไ่ ดถ้ ูกต้องตามความเปน็ จริง 11. การแปรรูปไข่ไก่ เน่ืองจากประเทศไทยมีการนาเข้าผลิตภัณฑ์ไข่ไก่แปรรูปปีละไม่น้อยกว่า200 ล้านบาท และความต้องการนาเข้าดังกล่าวมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นทุกปี จึงเห็นเป็นโอกาสในการสร้างตลาด เพื่อ แหล่งรองรับผลผลิตไข่ไก่ของเกษตรกร และยังเป็นการทดแทนการนาเข้าสงวนไว้ซ่ึงรายได้ท่ีเป็นเงินตรา ต่างประเทศได้อีกปีละไม่น้อยกว่า 200 ล้านบาท รวมทั้งยังช่วยในการขจัดปัญหาผลผลิตไข่ไก่ส่วนเกินท่ีล้น ตลาดได้สว่ นหนงึ่ โดยทห่ี ลายฝา่ ยเหน็ สมควรใหภ้ าครัฐใหก้ ารสนับสนุนผลักดนั การลงทนุ ในการก่อสร้างโรงงาน ไขแ่ ปรรปู ซงึ่ โรงงานไข่แปรรูปจะเกิดผลประโยชนใ์ นทางเศรษฐกจิ ให้กบั ประเทศชาติ และเกษตรกรผู้เล้ียงไก่ไข่ ตามท่ไี ดก้ ลา่ วมาแลว้ นน้ั โอกาสท่ีจะได้ รับประโยชน์จากโรงงานแปรรูปไข่ในด้านการส่งออกก็มีโอกาสเพิ่มมาก ขึ้น ทั้งน้ีไข่แปรรูปสามารถยืดอายุในการเก็บรักษาได้ยาวนานกว่า มีความสะดวกต่อการขนส่ง รวมท้ังยังเกิด มูลค่าเพ่ิมจากการแปรรูปและอนั เนื่องมาจากกระบวนการแปรรปู สร้างงานและรายได้ดว้ ย 12. การแสวงหาตลาดส่งออกไข่ไก่ ไข่ไก่เป็นอาหารท่ีมีคุณค่าทางโภชนาการสูง ราคาต่าและผูกพัน กับการบริโภคของมนุษยชาติในโลก จึงทาให้ไข่ไก่เป็นอาหารหลักของมนุษย์ทุกภูมิภาคทั่วโลก จะเห็นได้ว่า มนุษยย์ งั คงมคี วามตอ้ งการบริโภคไขอ่ ีกเปน็ จานวนมาก ขอ้ เสนอแนะ 1. ภาครัฐควรเร่งรัดประชาสัมพันธ์ ในการให้ประชาชนได้ตระหนักถึงการบริโภคไข่ไก่เป็นแหล่ง อาหารที่มีคุณค่าในราคาถูกและไม่เกิดพิษภัยตามท่ีเข้าใจกัน การเร่งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้เห็นคุณค่า ของการบริโภคไข่ อันจะนามาสู่การสกู้ ารเสรมิ สร้างพลานามยั ทดี่ ี เพ่ิมคุณภาพชวี ิตใหก้ ับประชาชน 2. สนับสนนุ ใหม้ กี ารผลิตไข่เพ่ือสุขภาพ โดยการเติมสารไอโอดีน สาร DNA ลงไป เพื่อเพิ่มคุณค่าทาง โภชนาการในไข่ให้มากขน้ึ 3. ใหก้ รมปศสุ ัตว์ดาเนินการจดทะเบยี นเกษตรกรผเู้ ลย้ี งไก้ไขส่ ามารถดาเนนิ การ ได้ภายใต้ 4. พระราชบัญญัติเศรษฐกิจการเกษตร พ.ศ. 2522 โดยกรมปศุสัตว์ประสานงานกับสานักงาน เศรษฐกจิ การเกษตรและสหกรณ์ พิจารณาให้ความเหน็ ชอบและบังเกดิ ผลในทางปฏบิ ัตติ อ่ ไป
106 5. สนับสนุนให้มีการทาสัญญาข้อตกลง (Contract Farming) ระหว่างเกษตรกรผู้เลี้ยงกับ ผู้ประกอบการธุรกิจไข่ไก่ โดยมีการกาหนดปริมาณรับซื้อ และราคารับซ้ือที่แน่นอน โดยสานักงานเศรษฐกิจ การเกษตร และกรม ปศสุ ตั วเ์ ปน็ ผู้ประสานงานระหวา่ งผปู้ ระกอบการธรุ กิจและเกษตรกรผเู้ ลย้ี งไข่ไก่ 6. เพ่ิมปริมาณการบริโภค (Create Demand) ด้วยการรณรงค์ให้ประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชน สามารถบริโภคไข่ไก่เพ่ิมข้ึนได้ อันเป็นการเพ่ิมคุณภาพทางโภชนาการให้กับเยาวชน โดการจัดทาโครงการไข่ โรงเรยี น โดยกระทรวงศกึ ษาธกิ ารรว่ มกับกระทรวงมหาดไทยเปน็ ผ้พู จิ ารณาดาเนนิ การ 7. ให้กรมสรรพากรพิจารณาระบบการจัดเก็บภาษีรายได้ของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ท่ีจะเป็นอุปสรรค ต่อการจดทะเบียนของเกษตร ซ่ึงวิธีการคานวณภาษีควรใช้ระบบประเมินรายได้ตามความเป็นจริง ด้วยการ คานวณรายได้โดยหักคา่ ใชจ้ ่ายแทนการคานวณภาษีแบบระบบเหมาจา่ ยตามจานวนไกไ่ ข่ทเี่ กษตรกรเลยี้ ง 8. ให้สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร และปศุสัตว์ดาเนินการพิจารณาร่วมกับเกษตรกรและธุรกิจ เอกชน เพ่ือศึกษาหาข้อเสนอแนะในการลดตน้ ทุนการผลติ ไข่ไกร่ ว่ มกันตอ่ ไป 9. ภาครฐั ควรจดั สรรเงนิ ทุนอัตราดอกเบ้ียต่าให้เกษตรกรกู้นาไปลงทุนในการพัฒนาระบบการเล้ียงไก่ ไข่ ในทางปฏบิ ตั ิของการแกไ้ ขปัญหานี้สามารถดาเนนิ การเชือ่ มโยงกบั นโยบายกองทุนหมู่บ้าน 10. ภาครัฐควรลงทุนทาการวิจัยระบบการเล้ียงท่ีมีประสิทธิภาพและต้นทุน เพื่อเผยแพร่หรือ ถ่ายทอดเทคโนโลยไี ปยังเกษตรกรผเู้ ลยี้ งไกไ่ ข่ทัว่ ประเทศ โดยกรมปศสุ ัตวร์ ่วมกับสถานบันการศึกษา 11. ภาครัฐให้ความช่วยเหลือในการอุดหนุนธุรกิจไข่ไก่ได้โดยการอุดหนุนผู้ผลิตภายในประเทศตาม ข้อยกเว้น (Green Box andBlue Box) ด้วยการอุดหนุนทางด้านการวิจัย การจัดหาพันธ์ุดี สินเชื่ออัตรา ดอกเบ้ีย การบริการห้องเย็น การคลังสินค้า การให้บริการทางด้านวัคซีน ยา เวชภัณฑ์ รวมท้ังการอุดหนุน การตลาดท่เี ก่ียวกับการบรรจภุ ัณฑ์ การขนส่ง เป็นตน้ 12. ให้กรมศุลกากรเร่งรัดในการจัดทาสูตรการคานวณสัดส่วนของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตไข่ไก่ท่ีเป็น วัตถุดิบภายในประเทศและนาเข้าเพื่อให้เกิดความชัดเจน และสามารถคืนภาษาให้กับธุรกิจส่งออกไข่ไก่ตาม มาตรา 19 ทวิ ไดถ้ ูกตอ้ งตามความเปน็ จรงิ 13. ภาครัฐใหก้ ารสนบั สนุนผลกั ดันการลงทุนในการกอ่ สรา้ งโรงงานไขแ่ ปรรปู 14. ภาครัฐให้การสนับสนุนธุรกิจผู้ส่งออก ร่วมกับส่วนราชการในการเดินทางไปสารวจตลาด โดยเฉพาะตลาดที่เปน็ โอกาสในความหวังของธุรกิจไทย เปดิ ทางการเจรจาในการเปิดตลาดส่งออกสินค้าเกษตร ท่มี คี วามเป็นไปไดท้ ง้ั หมด ซ่งึ รวมถึงไขไ่ กด่ ว้ ย หมำยเหตุ: การคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ* แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร ( ฉบับท่ี 9 ) พ.ศ. 2482 เป็นการคืนค่าภาระภาษี อากร สาหรับวตั ถดุ ิบท่นี าเข้า ได้แก่ อากรขาเข้า ค่าธรรมเนียมภาษีอื่น ภาษีสรรพสามิต ภาษีมหาดไทย ท่ีผู้นาของเข้าได้เสีย หรือวางประกันไว้ขณะนาเข้าเม่อื สามารถพิสูจน์ได้ว่าได้นาวัตถุดิบน้ันไปผลิตผสม ประกอบหรือบรรจุเป็นสินค้าส่งออก แล้วก็ จะไดร้ บั การคืนอากรโดยจะคานวณค่าภาษีอากรทีค่ นื ใหต้ ามสตู รการผลิต ทงั้ นโี้ ดยมีเงื่อนไข ว่าจะต้องผลิตส่งออกภายใน 1 ปี นับต้งั แตว่ นั ทไี่ ดน้ าเข้า และตอ้ งขอคืนเงินอากรภายใน 6 เดอื น นบั แตว่ นั ท่สี ่งของน้นั ออกไป
107 กจิ กรรมท่ี 6 คณุ ธรรมในกำรประกอบอำชีพ คำสั่ง : ใหต้ อบคำถำมต่อไปนี้ 1. คุณธรรมในการประกอบอาชีพมีความสาคัญอย่างไร 2. จงบอกคณุ ธรรม จรยิ ธรรมที่ผู้ประกอบอาชีพการเลย้ี งไก่ไขค่ วรมีมาพอสังเขป 3. จงอธิบายปัญหา อปุ สรรคของการเลย้ี งไกไ่ ขม่ าพอสังเขป
108 แบบทดสอบหลงั เรียน คำสัง่ จงเลือกคำตอบทีถ่ ูกต้องที่สุด 1. การกกลูกไก่ควรกกเปน็ เวลากีส่ ปั ดาห์ ก. 1 - 2 สัปดาห์ ข. 2 - 3 สัปดาห์ ค. 3 - 4 สปั ดาห์ ง. 4 - 5 สปั ดาห์ 2. ไก่พน้ื เมืองตามประวตั ิศาสตร์ มรี ายงานไว้วา่ เปน็ ไก่ท่มี ีตน้ กาเนิดมาจากไก่อะไร ก. ไกบ่ ้าน ข. ไก่พนั ธุ์เล็กฮอร์น ค. ไกป่ า่ ในทวีปเอเชีย ง. ไก่พันธเ์ุ หลืองหางขาว 3. ไก่พนื้ เมืองมีวิวัฒนาการเปลีย่ นแปลงปรบั ปรุงพันธ์ุโดยอาศัยพนื้ ฐานของอะไรเป็นหลัก ก. โดยมนุษย์ ข. ธรรมชาติ ค. หลกั การปรับปรุงพันธุ์ ง. ถกู ทุกข้อ 4. พนั ธุ์ไก่ทผี่ สมขึ้นเป็นพิเศษ ซึ่งบรษิ ัทผูผ้ ลติ ลูกไก่พันธ์จุ าหนา่ ยได้มกี ารพฒั นาและปรบั ปรุงพันธ์ุให้ได้ไก่พนั ธ์ุ ท่ใี หผ้ ลผลติ ไขส่ งู และมีคุณภาพตามความต้องการของตลาด ก. ไก่โรด๊ ไอร์แลนด์ ข. ไกเ่ ล็กฮอรน์ ค. ไก่ไฮบรดิ ง. ไกต่ ะเภา 5. อาหารผสมที่ให้ในระยะ 0 - 6 สัปดาหน์ ้ีควร มโี ปรตนี กี%่ ก. 18% ข. 19% ค. 20% ง. 21%
109 6. การเลยี้ งไก่สาว อายุ 17 - 26 สปั ดาห์ พื้นท่ี 1 ตารางเมตร เลีย้ งไกส่ าวได้ก่ีตัว ก. 3 - 4 ตวั ข. 5 - 6 ตวั ค. 7 - 8 ตวั ง. 8 - 9 ตวั 7. การเลย้ี งไก่ไขป่ ัจจุบนั ข้อใดผิด ก. ไก่ไขเ่ ลยี้ งกันมากทจี่ ังหวดั ฉะเชิงเทรา ข. ผู้เลยี้ งจะเลีย้ งไก่ไข่เลก็ บนพืน้ กอ่ นท่จี ะออกไขน่ าน 4 - 5 เดือน ค. ไขท่ ่ีไดจ้ ากฟาร์มไก่ไข่ทวั่ ไปจะเปน็ ไข่ไม่มีเชื้อ (fertile egg) ง. ไก่ไข่จะเลยี้ งบนกรงตบั เพื่อออกไข่ ระยะออกไข่จะประมาณ 15 - 18 เดอื น จงึ จะปลดระวาง 8. ข้อใดผิดเกี่ยวกับสภาวะการเลี้ยงไกก่ ระทง ก. พันธุไ์ ก่ระดบั ปู่ - ยา่ เรียกว่า Grand Parent Stock หรอื GP ไทยนาเข้าจากตา่ งประเทศ ข. พนั ธุ์ไก่ระดับพอ่ แม่พนั ธุ์ เรยี กว่า Parent Stock ไทยกอ็ าจจะนาเขา้ จากต่างประเทศด้วย ค. ไกเ่ นื้อ หรอื broilers ไทยกน็ าเขา้ จากต่างประเทศเชน่ กัน ง. ไทยสามารถผลติ ลูกไก่เนือ้ เพ่ือเลย้ี งขนุ ไดอ้ ยา่ งพอเพียง 9. ขอ้ ใดผดิ เก่ียวกบั การจัดการฟารม์ ไก่กระทงปจั จุบัน ก. ไก่มีอัตราการแลกเน้ือตา่ คือกนิ อาหาร 2 กก. หรือนอ้ ยกวา่ จะสร้างเป็นน้าหนกั ได้ 1 กก. ข. ไก่มีระยะเวลาการเลี้ยงส้นั 5 - 7 สปั ดาห์สามารถที่จะขายไดใ้ นน้าหนักประมาณ 1.5 - 2.0 กก. ค. ผลกาไรเฉลย่ี ต่อไก่ 1 ตัว จะไม่มากนัก ประมาณ 1 - 5 บาท ง. เดิมสว่ นใหญก่ ารเลยี้ งไก่จะเป็นโรงเรือนระบบปิด ตน้ ทุนต่า 10. ข้อใดผิดเกยี่ วกับการจดั การไก่โรงเรอื นระบบปิดในปจั จบุ ัน ก. เปน็ ระบบทเ่ี รยี กวา่ evaporative cooled cell โดยที่ในโรงเรอื นจะมีระบบทาความเย็นดว้ ยน้า ข. ระบบ evaporative cooled cell อุณหภมู ิตา่ กว่าภายนอกประมาณ 4 – 5 องศาเซลเซยี ส ค. ในระบบ evaporative cooled cell สามารถท่จี ะเลี้ยงไก่ได้ 10 - 12 ตวั ต่อ 1 ตร.ม. ง. โรงเรอื น evaporative cooled cell แต่ละหลงั อาจจะเลี้ยงไก่ไดถ้ ึง 10,000 ตวั หรือมากว่า 11. สัตว์ปกี ชนิดใดทีค่ นไทยนยิ มเลย้ี งมากทสี่ ุด ก. เป็ด ข. ไก่ ค. นกกระทา ง. นกกระจอกเทศ
110 12. ลูกไก่อายุ 5 - 7 วัน ควรทาวคั ซีนชนิดใด ก. อหิวาต์ ข. นวิ คาสเซิล ค. หลอดลมอักเสบ ง. ลมบา้ 13. โรคนิวคาสเซลิ หรอื ทีช่ าวบา้ นเรยี กวา่ อะไร ก. โรคห่า ข. โรคฉ่หี นู ค. โรคลมชกั ง. โรคทอ้ งร่วง 14. ขอ้ ใดคอื โรคไม่ตดิ ต่อ ก. โรคบดิ ข. โรคพยาธิ ค. โรคอหิวาต์ ง. โรคนวิ คาสเซิล 15. ฟุตแคนเดิล (Footcandle) หมายถึงอะไร ก. ระยะทางเปน็ ฟุตจากหลอดไฟถงึ ระดับหัวไก่ ข. ระยะทางเปน็ เมตรจากหลอดไฟถงึ ระดับหัวไก่ ค. ระยะทางเป็นน้ิวจากหลอดไฟถึงระดับหวั ไก่ ง. ระยะทางเปน็ กิโลเมตรจากหลอดไฟถึงระดับหวั ไก่ 16. ลกู ไก่ 1 ตัว ตอ้ งการพื้นที่ในห้องกกลูกไก่ เทา่ กับเทา่ ใด ก. 19 ตัว/ตารางเมตร ข. 20 ตวั /ตารางเมตร ค. 21 ตัว/ตารางเมตร ง. 22 ตัว/ตารางเมตร 17. ลักษณะทว่ั ไปของโรงเรอื นสตั วป์ ีกทีด่ ี ควรมีคุณสมบัตดิ งั ต่อไปน้ี ยกเวน้ ข้อใด ก. กันลม แดด ฝน ได้ ข. สามารถรักษาความสะอาดได้ง่ายไม่เป็นทข่ี งั น้า ค. อากาศภายในโรงเรอื นไมจ่ าเป็นต้องระบายถา่ ยเทอากาศ ง. พน้ื ควรเป็นพืน้ ซีเมนต์ จะทาใหท้ าความสะอาดได้ง่ายและควรปูแกลบเป็นวัสดุรองพื้น
111 18. ขอ้ ใดจดั เปน็ พันธไุ์ ก่พน้ื เมือง ก. ไกแ่ จ้ ไก่อู ไก่ตะเภา ไกบ่ าร์ ข. ไกแ่ จ้ ไก่อู ไก่ตะเภา ไกเ่ บตง ค. ไก่แจ้ ไก่อู ไก่บาร์ ไก่โรด๊ ไอรแ์ ลนด์ ง. ไก่แจ้ ไกบ่ าร์ ไกโ่ รด๊ ไอร์แลนด์ ไก่เล็กฮอรน์ 19. ไก่พื้นเมืองมีอาการทางระบบหายใจและระบบประสาท คอื ไกจ่ ะหายใจลาบาก นา้ มกู ไหล หายใจดัง ชักกระตุก คอบิดเบี้ยว ขาปีกเปน็ อนั พาต เดนิ เปน็ วงกลม เบื่ออาหาร และภายใน 2 - 4 วัน ไก่พน้ื เมือง อาจจะตายหมด เปน็ ได้ทัง้ ไก่พื้นเมืองตัวเล็กและตวั ใหญ่ ก. โรคหลอดลมอักเสบ ข. โรคฝดี าษ ค. โรคนิวคาสเซลิ ง. โรคอหิวาต์ 20. ไก่พ้นื เมืองจะแสดงอาการตัวรอ้ นจัด หายใจไม่สะดวก หงอนเหนยี งเปลี่ยนเป็น สีดาคลา้ ก. โรคหลอดลมอักเสบ ข. โรคฝีดาษ ค. โรคอหวิ าต์ ง. โรคนิวคาสเซิล
112 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 1. ค 2. ค 3. ง 4. ค 5. ค 6. ค 7. ข 8. ค 9. ข 10. ข 11. ก 12. ข 13. ค 14. ข 15. ก 16. ง 17. ก 18. ง 19. ค 20. ข เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น 1. ค 2. ค 3. ข 4. ค 5. ก 6. ง 7. ค 8. ค 9. ง 10. ค 11. ข 12. ข 13. ก 14. ข 15. ก 16. ง 17. ค 18. ข 19. ค 20. ข
113 บรรณำนกุ รม เฉลิมชัย สงั ขม์ ณฑล. (2557). คู่มอื ไกไ่ ข.่ กรุงเทพฯ :สานกั พิมพ์เกษตรสยาม. ปรเมศร์ ตนั ตินพรตั น์. (2557). กำรเลย้ี งไกไ่ ข่. กรงุ เทพฯ: เกษตรสยาม. ภูวนาท นนทร.ี (2544). กำรเล้ยี งไก่ไข่. กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พเ์ กษตรสาส์น. รัตนา โพธริ ตั น.์ (2557). ไกไ่ ข่(ชุดเกษตรลองทำดู). กรงุ เทพฯ: นานมบี คุ๊ ส์พบั ลิเคชนั่ ส์. วิภาวรรณ ชว่ ยสงค์ และคณะ. (2554). ชอ่ งทำงกำรพฒั นำอำชีพ. นนทบรุ ี: สานกั พมิ พ์ ลอง ไลฟ์เอ็ด. อารีลกั ษณ์ อุดมแก้ว. (2554). กำรเลยี้ งไกไ่ ข่. นนทบุรี. กฤดกิ ร เผดิมเกื้อกูลพงศ์. พระรำชบัญญตั ิ แข่งขันทำงกำรคำ้ พ.ศ. 2542 และกำรผกู ขำดในภำคเกษตร: กรณีศกึ ษำตลำดไขไ่ ก่. สานักพิมพ์ openworlds: กรุงเทพมหานคร. เข้าถึงเมื่อวันท่ี 1 ตุลาคม 2558 จากเวบ็ ไซต์ http://v-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/การผกู ขาดในภาค เกษตร-กรณตี ลาดไขไ่ ก่.pdf www.as.mju.ac.th เก่ง มงั กรนิทรา. รูปแบบและปัจจัยที่เก่ียวข้องกับกำรเกดิ โรค. เขา้ ถงึ เมื่อวนั ที่ 1 ตลุ าคม 2558 จากเว็บไซต์ https://www.gotoknow.org/posts/271990 สรุ ะ ภินโย. กำรเลีย้ งไก่ไข่. เขา้ ถึงเมือ่ วันท่ี 1 ตลุ าคม 2558 จากเวบ็ ไซต์ http://www.oknation.net/blog/surapinyo/2012/10/01/entry-3 โรงเรอื นเลยี้ งไก่เน้อื . เขา้ ถงึ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 จากเวบ็ ไซต์ http://www.animals-farm.com/ โรงเรอื นเลี้ยงไกเ่ นอื้ /
114 คณะผ้จู ัดทำ นายสรอ้ ย พุทธโส ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอสะเมงิ ประธาน นางสุพรรณี ฟองเงนิ นายภูวกร วิริยา ครูชานาญการ กศน.อาเภอสะเมิง รองประธาน นายยุทธศักด์ิ ช่ืนชภู าพ นางสาวศรัญญา ตันใจ ครูอาสาสมัครฯ กศน.อาเภอสะเมิง กรรมการ นางสุภาษา สบสขุ สกลุ ผล นายสรรนกิ ร ใจบุญ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอสะเมิง กรรมการ นายไพรชั ปุนนะมา นางสาวนงลักษณ์ ดังเดง็ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอสะเมิง กรรมการ นายบญุ รตั น์ หมน่ื บญุ ตนั นายณฐั วตั ร แสงประสทิ ธิ์ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอสะเมิง กรรมการ นายธงชยั ขยัน ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอสะเมิง กรรมการ ครูอาสาสมัครฯ กศน.อาเภอสะเมิง กรรมการ ครูอาสาสมัครฯ กศน.อาเภอสะเมิง กรรมการ เจา้ หนา้ ทบ่ี นั ทกึ ขอ้ มูล กศน.อาเภอสะเมิง กรรมการ บรรณารักษ์ กศน.อาเภอสะเมิง กรรมการ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอสะเมิง กรรมการและเลขานุการ
115 ทีป่ รึกษำ คณะบรรณำธกิ ำร/ปรับปรุงแกไ้ ข นายศภุ กร ศรีศักดา ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จงั หวดั เชยี งใหม่ นางมีนา กิติชานนท์ รองผูอ้ านวยการสานกั งาน กศน.จังหวดั เชยี งใหม่ คณะบรรณำธิกำร/ปรบั ปรุงแกไ้ ข นางสาวมนทิกา ปอู นิ ต๊ะ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอแม่อาย ประธานกรรมการ นางนชุ ลี นางยพุ ดี สทุ ธานนทก์ ุล ครูชานาญการพิเศษ กศน.อาเภอสนั ป่าตอง กรรมการ นางพรวไิ ล นายสมัย ดวงคา ครชู านาญการ กศน.อาเภอสนั ทราย กรรมการ นายทวชิ นายสมชาย สาระจนั ทร์ ครู คศ.1 กศน.อาเภอเมืองเชยี งใหม่ กรรมการ นางธเนตรศรี นางประกายมาศ รกั รว่ ม ครู คศ.1 กศน.อาเภอแม่ออน กรรมการ นายทนง นายจกั รกฤษณ์ กันธะคา ครู คศ.1 กศน.อาเภอแม่อาย กรรมการ นางสาวดารกิ า นายศภุ ฤกษ์ วงศ์เขยี ว ครอู าสาสมัครฯ กศน.อาเภอดอยสะเก็ด กรรมการ นายธนภูมิ นายดนุพงษ์ บุญหม่นื ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอสารภี กรรมการ นางศาธมิ า เขมกิ าอัมพร ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอสารภี กรรมการ อนิ ทรตั น์ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอสันกาแพง กรรมการ ปีกา่ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอแม่แตง กรรมการ ชยั แกน่ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอสันป่าตอง กรรมการ ศริ ธิ นาสรรค์ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอสันป่าตอง กรรมการ ชมภรู ัตน์ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอสนั ปา่ ตอง กรรมการ บูรณะพิมพ์ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอหางดง กรรมการ ศรนี า นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สานกั งาน กศน.จังหวดั เชียงใหม่ กรรมการและเลขานกุ าร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127