42 บทท่ี 5 ผลกระทบทมี่ ตี อ่ ชวี ติ และสิง่ แวดลอ้ มและแนวทางแก้ไข
43 แผนการเรยี นรปู้ ระจาํ บท บทท่ี 5 ผลกระทบทม่ี ตี อ่ ชวี ติ และสิง่ แวดล้อมและแนวทางแก้ไข สาระสาํ คญั สารพิษเมื่อเข้าสู่ร่างกายของสิ่งมีชีวิต จะทําปฏิกิริยาต่อร่างกาย ทําให้เกิดอันตรายต่อส่ิงมีชีวิต และ สิง่ แวดล้อมอีกดว้ ย ดงั นน้ั ผเู้ กยี่ วข้อง จาํ เปน็ ตอ้ งทราบถึงผลกระทบของสารพิษเพอ่ื ใชใ้ ห้ปลอดภัย จึงมีแนวทาง ในการป้องกนั และแกไ้ ข เพอ่ื ใหเ้ กิดการสูญเสียตอ่ ชีวิตและสิง่ แวดล้อมใหน้ ้อยที่สุด ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั 1.ผู้เรียนสามารถอธบิ ายผลกระทบสารพษิ ท่เี กดิ จากสารพิษในครัวเรือน และสารพษิ ทีเ่ กิดจากอาชีพท่ี มีตอ่ ชีวติ และสิ่งแวดล้อมได้ ขอบข่ายเน้อื หา 1.ผลกระทบทีม่ ีตอ่ ชวี ติ และสงิ่ แวดลอ้ มและแนวทางแกไ้ ข กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ใหผ้ ู้เรยี นศกึ ษาเนอ้ื หา ในบทท่ี 5 ผลกระทบทีม่ ีต่อชีวิตและสง่ิ แวดลอ้ มและแนวทางแกไ้ ข 2. ใหผ้ ้เู รียนทาํ ใบงาน บทท่ี 5 ผลกระทบทมี่ ีตอ่ ชีวติ และสิง่ แวดลอ้ มและแนวทางแกไ้ ข 3. ใหผ้ ้เู รยี นทาํ แบบทดสอบหลังเรียน สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ 1. ใบงาน บทท่ี 5 ผลกระทบท่มี ตี ่อชีวติ และสง่ิ แวดลอ้ มและแนวทางแกไ้ ข 2. สื่ออนิ เตอรเ์ น็ต ประเมนิ ผล 1. แบบทดสอบหลงั เรยี น 2. ประเมินจากผลการทาํ ใบงาน บทท่ี 5 ผลกระทบท่ีมตี อ่ ชีวติ และส่ิงแวดล้อมและแนวทางแก้ไข
44 บทท่ี 5 ผลกระทบที่มีต่อชีวิตและส่ิงแวดล้อมและแนวทางแก้ไข สารพิษ คือ สารเคมีหรือวัตถุท่ีเข้าสู่ร่างกายในปริมาณท่ีทําปฏิกิริยาต่อโครงสร้างและหน้าท่ีของ ร่างกาย จนทาํ ให้เกิดอันตรายต่อชีวิต อันตรายท่ีเกิดขึ้นอาจมากหรือน้อยข้นกับชนิด ปริมาณและวิถีทางท่ี ได้รับสารพิษนั้น อันตรายจากการใชส้ ารพิษ การใชส้ ารพษิ อยา่ งไม่ถกู ต้องมีอนั ตรายต่อมนษุ ยแ์ ละสิง่ แวดล้อม ดังน้ี คอื 1. เกดิ อนั ตรายต่อผใู้ ช้โดยตรง ซึ่งไดแ้ ก่ เกษตรกรผู้ประกอบอาชีพในโรงงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับ การใชส้ ารพษิ และประชาชนทั่ว ๆ ไป ท้ังนี้เนอื่ งมาจากขากความรคู้ วามเข้าใจในการใชแ้ ละการปอ้ งกัน อนั ตรายจากสารพษิ อยา่ งถูกตอ้ งจงึ ทาํ ให้เกิดอบุ ัตเิ หตุกอ่ ใหเ้ กิดอันตรายหรอื เจบ็ ปว่ ยถงึ ชีวิตไดใ้ นทนั ที หรอื สะสมสารพษิ ในสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย ทาํ ให้สุขภาพทรดุ โทรม เกิดโรคภัยรา้ ยแรงข้นึ ไดภ้ ายหลงั 2. เกิดอนั ตรายตอ่ ชีวิตและสขุ ภาพอนามัยของประชาชนและส่ิงมชี วี ติ ที่อาศัยอยู่ในบริเวณ ใกล้เคียงกับแหลง่ ที่มีการใชส้ ารพษิ ทงั้ นีเ้ น่ืองจากสารพิษทใ่ี ช้หรือที่เกิดจากกระบวนการผลติ ถกู ปลดออกสู่ สง่ิ แวดลอ้ มรอบ ๆ ในปรมิ าณสงู จนอาจเกดิ อันตรายตอ่ ผ้ทู ่อี ยอู่ าศยั บรเิ วณรอบ ๆ ซึง่ ต้องรับสารพิษเข้าไป อยา่ งหลกี เลี่ยงไมไ่ ด้ 3. ก่อให้เกิดสภาวะสมดุลตามธรรมชาตเิ สยี ไปเนอ่ื งจากศตั รูธรรมชาติ เช่น ตัวหํา้ ตวั เบียนที่มี ประโยชนใ์ นการปอ้ งกันกําจัดศตั รูพชื ศตั รมู นษุ ย์และสัตว์ ถกู สารพิษทาํ ลายไปหมด แต่ขณะเดียวกันศตั รูทเ่ี ปน็ ปัญหาโดยเฉพาะพวกแมลงศัตรูพชื สามารถสรา้ งความต้านทานพษิ ได้ ทาํ ใหเ้ กิดปัญหาการระบาดเพิ่มมากขนึ้ หรอื ศตั รูทไ่ี ม่เคยระบาดก็เกิดปัญหาขน้ึ มา เป็นปญั หาในการปอ้ งกนั กาํ จัดมากขน้ึ 4. เกิดอนั ตรายตอ่ ชวี ิตของนก ปลา สัตวป์ ่าชนิดต่าง ๆ แมลงที่มปี ระโยชน์ เชน่ ผง้ึ พบว่ามี ปรมิ าณลดน้อยลง จนบางชนิดเกือบสูญพันธ์ุทั้งน้ี เนือ่ งจากถกู ทําลายโดยสารพิษท่ไี ด้รับเขา้ ไปทันที หรือ สารพษิ ที่สะสมในรา่ งกายของสตั วเ์ หลา่ น้ันผลให้เกดิ ความลม้ เหลวในการแพร่ขยายพันธุ์ 5. อนั ตรายแก่สงิ่ มีชวี ติ และมนษุ ยใ์ นระยะยาว เนอื่ งจากการไดร้ บั สารพษิ ซ่ึงแพร่กระจาย ตกค้างอยู่ในอาหารและสง่ิ แวดล้อมเข้าไปสะสมร่างกายทีละน้อย จนทาํ ใหร้ ะบบและวงจรการทาํ งานของ รา่ งกายผิดปกติเป็นเหตุให้เกดิ โรคอนั ตรายขนึ้ หรือบางครง้ั อาจทาํ ใหเ้ กิดการกลายพนั ธ์ุ หรือเกิดความผดิ ปกติ ในรุน่ หลายข้นึ ได้ 6. เกดิ ความสูญเสยี ทางเศรษฐกจิ ข้ึนกบั ประเทศชาตเิ น่ืองจากการเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ยของประชาชน ทําให้ไมส่ ามารถทํางานได้เตม็ ทแ่ี ละยังตอ้ งเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลอีกด้วย นอกจากน้ี ยังมปี ญั หาไม่ สามารถส่งอาหารผลติ ภัณฑก์ ารเกษตรออกไปจาํ หน่ายยังตา่ งประเทศได้ เนอื่ งจากมสี ารพิษตกค้างอยใู่ น ปรมิ าณสูงเกินปริมาณที่กาํ หนดไว้ ทาํ ใหข้ าดรายไดท้ ีจ่ ะนํามาพฒั นาประเทศต่อไป
45 7. เกดิ ความเสียหายตอ่ สขุ ภาพของสิ่งแวดล้อมทีด่ ี ปรมิ าณสารพิษท่ถี ูกปลดปลอ่ ยและตกคา้ ง อยใู่ นสิง่ แวดลอ้ ม เช่น สารพษิ โลหะหนกั ในแหล่งนาํ้ หรือก๊าซพษิ ทผี่ สมอยใู่ นบรรยากาศทาํ ให้คณุ ภาพของ ส่ิงแวดล้อมเสยี หายไมเ่ หมาะสมต่อการดํารงชีพของสิงมีชีวิต แหล่งกําเนดิ ของสารพิษ 1. แหล่งกาํ เนดิ ตามธรรมชาติ สารพษิ ที่กาํ เนิดตามธรรมชาติ อนั ได้แกป่ รากฏการณ์ตามธรรมชาติ ทาํ ใหเ้ กดิ สารพษิ ได้เช่น การ ระเบดิ ของภเู ขาไฟจะกอ่ ใหเ้ กิดผงฝุ่นและกา๊ ซพษิ ชนดิ ตา่ งๆ เข้าสบู่ รรยากาศโลกนอกจากปรากฏการณ์ ธรรมชาตแิ ล้ว สารพษิ อาจเกดิ ขนึ้ ในรูปแร่ธาตตุ ่าง ๆ เชน่ กํามะถนั ตะกัว่ ปรอท สารหนู แคเม่ยี มและรังสใี น อากาศ เรดโิ อไอโซโทป เป็นตน้ 2. แหล่งกําเนดิ จากการสังเคราะห์ของมนษุ ย์ การกาํ เนดิ สารพิษชนดิ น้ี นับเปน็ แหล่งท่ีสาํ คญั ทสี่ ุดเพราะสารเคมีหรือสารพษิ ท่ีถูกสังเคราะห์ขึ้นมาน้ัน เกี่ยวข้องกับการดํารงชีวิตประจําวันของมนุษย์ในด้านต่างๆ เช่น สารเคมีท่ีใช้ในการป้องกันกําจัดศัตรูพืชและ สัตว์ สารประกอบในอาหาร ยารักษาโรค เคร่ืองสําอาง และสารพิษท่ีเกิดข้ึนก่อนหรือหลังขบวนการผลิตทาง อุตสาหกรรมไดแ้ ก่ ก๊าซพิษ ฝุน่ หรอื ผงจากโลหะหนักรวมทง้ั กากสารพิษจากอุตสาหกรรม เปน็ ตน้ 3. แหล่งกําเนดิ จากสิ่งมีชีวติ อ่ืนๆ สารพษิ สามารถเกิดขึ้นได้จากการสังเคราะห์ โดยพืชสัตว์ และจลุ นิ ทรีย์ ชนดิ ต่างๆนัน้ ให้ปรากฏขน้ึ ไดน้ อกจากนีย้ งั ทาํ ใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงทางสรรี วทิ ยา เช่น ทําใหค้ วามดันโลหิตสูงขน้ึ เกดิ โรคกระเพาะ โรคหัวใจ เกิดภาวะ ตงึ เครยี ดทําใหช้ พี จรเต้นผิดปกติ เกดิ อาการเกรง็ ของกล้ามเน้ือและอาจทาํ ใหเ้ กดิ อาการหด ตัวของหลอดเลือดเลก็ ๆ เชน่ ทม่ี ือและเทา้ ได้ คาํ แนะนาํ การป้องกันอันตรายจากสารพิษสาํ หรับผู้ปฏิบัติงาน 1. พยายามหลีกเล่ียงการใช้สารเป็นพิษเพ่ือกิจกรรมต่าง ๆ 2. ควรศึกษาให้เข้าใจถึงอันตรายและวิธีการใช้สารเคมีแต่ละชนิด 3. ใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ เพื่อการป้องกันอันตรายขณะท่ีมีการทํางานหรือเกี่ยวข้องกับสารเคมี 4. ควรมีการตรวจสุขภาพ สาํ หรับผู้ท่ีทาํ งานเกี่ยวข้องกับสารเคมีอย่างน้อยปีละครั้ง 5. หลีกเล่ียงการอยู่ใกล้บริเวณท่ีมีการใช้สารเคมีเพ่ือป้องกันสารเป็นพิษเข้าสู่ร่างกายทาง ปาก จมูก และผิวหนัง 6. เม่ือมีการใช้สารเคมี ควรอ่านฉลากกาํ กับโดยตลอดให้เข้าใจก่อนใช้ และต้องปฏิบัติตามคาํ เตือนและข้อควรระวังโดยเคร่งครัด 7. อย่าล้างภาชนะบรรจุสารเคมีหรืออุปกรณ์เครื่องพ่นยาลงไปในแม่นํ้า ลาํ ธาร บ่อ คลอง ฯลฯ 8. ภาชนะบรรจุสารเคมีเม่ือใช้หมดแล้วให้ทําลายและฝังดินเสีย
46 คาํ แนะนาํ สาํ หรับผู้ที่ได้รับผลกระทบ 1. ไม่สัมผัสภาชนะบรรจุสารเคมีท่ีชํารุด หรือสารที่ร่ัวไหล 2. อย่าเข้าใกล้แนวก้ันเขตอันตราย สังเกตจากแถบเหลือง-ดําหรือแถบแดง-ดํา 3. หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้บริเวณที่มีการใช้สารเคมีเพ่ือป้องกันสารเป็นพิษเข้าสู่ร่างกายทาง ปาก จมูก และผิวหนัง 4. ใส่หน้ากากอนามัย เพ่ือบรรเทากล่ินเหม็น และลดอาการแสบจมูก 5. หากจําเป็นต้องสัมผัสสารพิษ ให้ใส่หน้ากากและชุดอุปกรณ์ป้องกัน 6. ถอดเส้ือท่ีเป้ือนสารเคมีออก และแยกใส่ถุงหรือภาชนะต่างหาก และล้างตัวด้วยน้ํามากๆ อย่าง น้อย 15 นาที 7. อยู่เหนือลม หรือท่ีสูง หรือออกจากบริเวณท่ีเกิดเหตุทันที หากเห็นว่าไม่ปลอดภัย 8. ไม่ควรจับสัตว์นํ้าและนาํ นาํ้ จากแหล่งน้ําใกล้เคียงที่พบสารพิษมาอุปโภคบริโภค 9. หากมีอาการเจ็บป่วย ให้ไปพบแพทย์
47 ใบงานบทท่ี 6 ผลกระทบที่มีต่อชีวิตและส่ิงแวดล้อมและแนวทางแก้ไข ................................................................................ คาํ ส่งั : ให้ผู้เรียนทาํ กิจกรรมตามใบงานตอ่ ไปนี้ 1. บอกผลกระทบของสารพิษที่มีต่อส่ิงมีชวี ติ และสิ่งแวดล้อม 2. บอกแหลง่ กําเนิดของสารพิษ และแนวทางการปอ้ งกันแกไ้ ข 3. บอกแนวทางการป้องกันอันตรายจากสารพิษ หมายเหตุ ใหผ้ ้เู รียนจดั ทาํ เป็นรายงานรปู เลม่
48 แบบทดสอบหลังเรียน สารพิษกบั การดําเนินชวี ติ ประจาํ วัน ให้นักศึกษาเลอื กตอบขอ้ ท่ถี กู ตอ้ งทสี่ ดุ 7. สารเคมใี นเคร่อื งสําอางขอ้ ใดเมอื่ ดดู ซึมเขา้ สู่ 1. ขอ้ ใดไมใ่ ชส่ ารทําความสะอาด รา่ งกายแลว้ ทาํ ใหเ้ ส่ยี งต่อการเปน็ มะเร็งเตา้ นม ก. สบู่ ข. ยาสฟี นั ก. โพลเี อธลิ ีนไกลคอล ค. นาํ้ มะนาว ข. โซเดยี มลอรลิ ซัลเฟต ง. ยาลา้ งจาน ค. ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์ 2. ขอ้ ใดไมใ่ ช่อนั ตรายจากการบรโิ ภคเนื้อหมูทมี่ ี ง. สารกันเสยี ประเภทพาราเบน 8. สารเคมีในขอ้ ใดท่ีมักจะใชใ้ นผลิตภณั ฑท์ าํ ความ สารเรง่ เน้ือแดง ก. ปวดศีรษะ สะอาดเพื่อใหเ้ กดิ ฟอง ข. คลื่นไส้ อาเจยี น ก. โพลเี อธลิ ีนไกลคอล ค. ภมู ิคมุ้ กันบกพรอ่ ง ข. โซเดยี มลอริลซลั เฟต ง. มอื สัน่ กลา้ มเนอ้ื กระตกุ ค. ไอโซโพรพลิ แอลกอฮอล์ 3. ข้อใดไมใ่ ช่ฮอรโ์ มนหรอื สารสังเคราะหท์ ใ่ี ชก้ ับพชื ง. สารกนั เสยี ประเภทพาราเบน ก. ออกซนิ 9. สารเคมใี นขอ้ ใดที่มีการตรวจพบในนํา้ หอมปรับ ข. ซิลิทิลีน อากาศ ค. ไซโตไคนนิ ก. พาทาเลต ง. จิบเบอเรลลนิ ข. โซเดยี มซลั เฟต 4. สัญลกั ษณท์ างเคมขี องตะกวั่ คือขอ้ ใด ค. คอปเปอรซ์ ัลเฟต ก. Pb ง. เอททลิ แอลกอฮอล ข. Pd 10. จากการสาํ รวจสารเคมีในขอ้ ใดทีพ่ บมากทส่ี ดุ ใน ค. Li ง. Le ของเดก็ เลน่ เดก็ 5. สารเคมีสามารถเขา้ สู่รา่ งกายไดท้ างใดบา้ ง ก. ตะกัว่ ก. ทางตา ทางปาก ทางจมกู ข. ปรอท ข. ทางปาก ทางผิวหนงั ทางจมูก ค. โครเมียม ค. ทางตา ทางผวิ หนัง ทางการหายใจ ง. สารกนั เสียประเภทพาราเบน ง. ทางปาก ทางผิวหนงั ทางการหายใจ 6. ข้อใดไม่ใชอ่ าการเมอ่ื ร่างกายไดร้ บั สารเคมี ก. ออ่ นเพลีย ข. ระคายเคือง ค. เกิดผดผื่นคัน ง. ผิวหนงั ไหมอ้ ักเสบ
49 เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรยี น รายวิชาสารพษิ กบั การดาํ เนนิ ชีวติ ประจําวนั 1. ค 2. ค 3. ข 4. ก 5. ง 6. ก 7. ง 8. ข 9. ก 10. ก
50 บรรณานกุ รม จลุ พงษ์ สขุ ารมย์. สารพษิ ในชีวติ ประจําวัน. พิมพค์ ร้ังท่ี 1. นนทบุร:ี ซัมธงิ ค์ ทู รดี จาํ กดั . 2554 http://www.gttestkit.com/aboutpest_poison.htm. (วนั ทส่ี บื คน้ วนั ที่ 5 ตลุ าคม พ.ศ.2558) https://uedu.wikispaces.com/ชอ่ งทางทส่ี ารพษิ เข้าสรู่ ่างกาย. (วนั ทสี่ บื ค้น วันท่ี 5 ตลุ าคม พ.ศ. 2558) https://cacashompoo.wordpress.com/2013/11/17/สารพษิ ในชวี ติ ประจาํ วนั . (วันทสี่ ืบค้นวนั ท่ี 7 ตลุ าคม พ.ศ. 2558) http://158.108.70.5/e-book/oila/1.html. (วนั ทสี่ ืบค้น วนั ท่ี 7 ตลุ าคม พ.ศ. 2558) http://www.doctor.or.th/article/detail/3163 (วันทสี่ บื ค้น วันท่ี 7 ตลุ าคม พ.ศ. 2558) http://www.hiso.or.th/hiso/tonkit/tonkits_38.php. (วันทสี่ ืบค้น วนั ที่ 7 ตลุ าคม พ.ศ. 2558) http://www.myfirstbrain.com/thaidata/image.aspx?id=606526. (วันทสี่ ืบค้น วนั ท่ี 8 ตลุ าคม พ.ศ. 2558) http://www.kucm2.com/wp-content/uploads/2013/05/dsc3991.jpg (วันทส่ี บื คน้ วนั ที่ 8 ตลุ าคม พ.ศ. 2558) http://www.thaiprompt.in.th/toxic. (วันทีส่ บื คน้ วนั ท่ี 8 ตลุ าคม พ.ศ. 2558) http://local.environnet.in.th/formal_data2.php?id=611. (วนั ทส่ี บื คน้ วนั ท่ี 8 ตลุ าคม พ.ศ. 2558) www.ipesp.ac.th/learning/supitcha/html/D3-3-4.html. (วนั ทสี่ ืบคน้ วันท่ี 29 ตุลาคม พ.ศ. 2558) www.ipesp.ac.th/learning/supitcha/html/D3-3-4.html. (วนั ท่สี บื คน้ วันท่ี 29 ตุลาคม พ.ศ. 2558) http://www.ipesp.ac.th/ . (วนั ที่สืบค้น วนั ท่ี 30 ตลุ าคม พ.ศ. 2558) http://www.healthcarethai.com ภัยจากเครอ่ื งสําอาง. (วันทสี่ บื ค้น วนั ท่ี 30 ตลุ าคม พ.ศ.2558)
51 คณะผ้จู ดั ทํา ทีป่ รึกษา ใจมา ประธานกรรมการสถานศกึ ษา ณ สุนทร รองประธานกรรมการสถานศึกษา 1. ดต.สมบูญณ สงิ หต์ าแก้ว กรรมการสถานศึกษา 2. นายถวิล พงษป์ ญั ญา กรรมการสถานศึกษา 3. นายอานนท์ ชยั แกว้ กรรมการสถานศกึ ษา 4. นายธานี ปกั ษณิ กรรมการสถานศึกษา 5. นายธวัช สภุ าวฒั น์ กรรมการสถานศกึ ษา 6. นางสรุ ยี ์ จมูศรี กรรมการสถานศกึ ษา 7. นางศรีนาล 8. นางธนภรณ์ วรรณฤทธิ์ ผูอ้ ํานวยการศนู ยก์ ศน.อําเภอสารภี ตาคาํ คณะทาํ งาน นพศิริวงศ์ ครชู ํานาญการ กศน.อําเภอสารภี อนิ ทะชยั 1. นางสาวปรียา ศรวี งค์ ครู กศน.ตําบล กศน.อําเภอสารภี 2. นางกาญจนา เขมิกาอัมพร 3. นางมาลี เหมือนแท้ ครู กศน.ตําบล กศน.อําเภอสารภี 4. นางกนกอร 5. นางสาวชัญญาภัค ตาคํา ครู กศน.ตาํ บล กศน.อาํ เภอสารภี 6. นางประกายมาศ นพศริ วิ งค์ 7. นายกิตติศกั ดิ์ ครู กศน.ตําบล กศน.อําเภอสารภี ตาคํา บรรณาธกิ าร ครู กศน.ตําบล กศน.อาํ เภอสารภี 1. นางกาญจนา ครูชาํ นาญการ กศน.อาํ เภอสารภี 2. นางมาลี ครู กศน.ตําบล กศน.อําเภอสารภี ออกแบบปก ครูชาํ นาญการ กศน.อําเภอสารภี 1. นางกาญจนา
52 คณะบรรณาธิการ/ปรบั ปรงุ แก้ไข ท่ีปรึกษา ศรีศักดา ผอู้ าํ นวยการสํานกั งาน กศน.จงั หวัดเชยี งใหม่ กิติชานนท์ รองผูอ้ าํ นวยการสํานักงาน กศน.จังหวัดเชยี งใหม่ นายศุภกร นางมีนา คณะบรรณาธกิ าร/ปรบั ปรงุ แกไ้ ข นางนริ มล บญุ ชู ผอู้ าํ นวยการ กศน.อาํ เภอไชยปราการ ประธานกรรมการ นางจฑุ ามาศ วงษ์ศิริ ครชู าํ นาญการพิเศษ กศน.อาํ เภอแม่รมิ กรรมการ นางวฒั นีย์ พฒั นียก์ านต์ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ กศน.อําเภอหางดง กรรมการ นางจารวี มะโนวงค์ ครชู ํานาญการ กศน.อําเภอดอยสะเกด็ กรรมการ นางนชิ าภา สลักจิตร ครูชํานาญการ กศน.อําเภอแม่แตง กรรมการ นางพิมพใ์ จ โนจ๊ะ ครู คศ.1 กศน.อําเภอแม่วาง กรรมการ นางยพุ นิ คําวัน ครู คศ.1 กศน.อาํ เภอฮอด กรรมการ นางสาววริยาภรณ์ นามวงศพ์ รหม ครู กศน.ตําบล กศน.อาํ เภอเมือง กรรมการ นางเบญจพรรณ ปันกํา ครู กศน.ตาํ บล กศน.อาํ เภอแมร่ มิ กรรมการ นายศรณั ย์ภทั ร จกั รแก้ว ครู กศน.ตาํ บล กศน.อาํ เภอแม่แตง กรรมการ นางสาวณัฐกฤตา มะณีแสน ครู กศน.ตําบล กศน.อําเภอดอยสะเกด็ กรรมการ นางสาวณฐมน บญุ เทยี ม ครู กศน.ตาํ บล กศน.อาํ เภอเชียงดาว กรรมการ นางโยธกา ธรี ะวาสน์ ครูอาสาฯ กศน.อาํ เภอดอยสะเก็ด กรรมการ นางสาวภาสนิ ี สงิ หร์ ตั นพันธ์ุ บรรณารกั ษ์ สํานักงาน กศน.จงั หวัดเชียงใหม่ กรรมการ และเลขานกุ าร
Search