Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่-2-พัฒนาพูดอ่านเขียน

หน่วยการเรียนรู้ที่-2-พัฒนาพูดอ่านเขียน

Published by KAGIROON, 2021-02-05 07:18:29

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ท 22101) หน่วยที่ 2 เรื่องพัฒนาพูดอ่านเขียน

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๘ กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ พฒั นาพูด อา่ น เขียน (เม่อื แพะกลายเป็นสุนขั ) เรอ่ื ง สรปุ เรอื่ งและข้อคดิ จากการฟัง จานวน ๑ ชั่วโมง ชื่อครูผสู้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ สอนวนั ท.่ี .................................................... ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณและพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ๒. สาระสาคญั การฟังเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ คือ การฟังสารแล้วพิจารณาไตร่ตรอง แยกแยะสารออกเป็นส่วน ๆ อย่างถ่ีถ้วน เพื่อให้สามารถแยกแยะข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และประเมินค่าส่ิงที่ได้ฟังน้ัน นาไปใช้ใน ชวี ิตประจาวนั ๓. ตัวชี้วัด ท ๓.๑ ม. ๒/๓ วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องท่ีฟังและดูอย่างมีเหตุผล เพื่อนาข้อคิดมาประยุกต์ใช้ใน การดาเนินชวี ิต ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. นักเรยี นอธบิ ายหลักการวิเคราะห์ วิจารณก์ ารฟงั วเิ คราะห์ วิจารณ์ได้ ๒. นกั เรยี นสามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ และบอกข้อคิดจากเรอ่ื งท่ีฟังได้ ๓. นักเรยี นมมี ารยาทในการฟงั ๕. สาระการเรยี นรู้ การฟงั เรือ่ ง เม่ือแพะกลายเป็นสนุ ขั ๖. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นาเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรยี นและครรู ว่ มสนทนาในเรอ่ื ง ความสาคญั ของการสือ่ สารด้วยการฟัง ข้นั สอน ๒. จากน้ันนักเรียนฟังครอู ธิบายความรู้เกี่ยวกับการฟัง วิเคราะห์ วิจารณ์ และหลักการมีมารยาทใน การฟัง ซักถาม ตอบคาถาม และแสดงความคิดเหน็ จนกวา่ นักเรยี นจะเข้าใจ ๓. ครเู ล่าเร่ือง เมอื่ แพะกลายเปน็ สุนัข ให้นกั เรยี นฟงั ๔. จากนั้นแบ่งนักเรียนออกเป็น ๔ กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มศึกษาเร่ือง เมื่อแพะกลายเป็นสุนัข จาก หนงั สือเรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทยชดุ ววิ ิธภาษา ม. ๒ หน้า ๓๒-๓๔ และศึกษาในประเดน็ ต่อไปน้ี

กลุ่ม ๑ จับประเด็นสาคัญของเรื่อง กลมุ่ ๒ บอกจุดประสงค์ของเร่อื ง กลุ่ม ๓ จดั ลาดบั เหตุการณ์ของเรอ่ื ง กลมุ่ ๔ สรุปเนื้อเรอ่ื ง ๕. เม่ือเรียบร้อยแล้วให้ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงานผลการศึกษาในประเด็นต่างๆ ครู สังเกตและประเมินผล ขนั้ สรปุ ๖. เม่ือรายงานครบทุกกลุ่มเรียบร้อยแล้ว ครูสรุปเรื่อง เม่ือแพะกลายเป็นสุนัข ในประเด็นต่างๆ ให้ นกั เรียนฟังอกี คร้งั รวมทง้ั สรปุ ความรู้เรื่องการฟัง วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และหลักการมมี ารยาทในการฟังด้วย ๗. สอ่ื การเรยี นรู้ หนังสอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทยชดุ วิวธิ ภาษา ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ๘. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ วิธีการวัด ๑. สังเกตการอธิบายหลักการวเิ คราะห์ วิจารณก์ ารฟงั วิเคราะห์ วิจารณ์ได้ (K) ๒. ประเมินผลการวิเคราะห์ วิจารณ์ และบอกข้อคิดจากเร่ืองที่ฟัง บอกจุดประสงค์ของเรื่อง จัดลาดับเหตุการณ์ และสรุปเน้อื เรอ่ื ง (P) ๓. ประเมนิ การมมี ารยาทในการฟงั (A) เครอ่ื งมือวัด ๑. แบบสงั เกตสังเกตการอธบิ ายหลักการวิเคราะห์ วิจารณก์ ารฟัง วิเคราะห์ วิจารณ์ได้ (K) ๒. แบบประเมินผลการวิเคราะห์ วิจารณ์ และบอกข้อคิดจากเร่ืองท่ีฟัง บอกจุดประสงค์ของเร่ือง จดั ลาดบั เหตกุ ารณ์ และสรปุ เนอ้ื เร่ือง (P) ๓. แบบประเมินการมีมารยาทในการฟัง (A) เกณฑก์ ารประเมนิ ๑. นักเรียนมีความรู้ และสามารถอธิบายความรู้เก่ียวกับการฟัง วิเคราะห์ วิจารณ์ (K) อยู่ในระดับ คุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช)้ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการฟังแล้วจับประเด็นสาคัญ บอกจุดประสงค์ของเรอ่ื ง จัดลาดับ เหตุการณ์ และสรปุ เนอ้ื เรอ่ื ง (P) อย่ใู นระดบั คณุ ภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช)้ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ ๓. นกั เรียนมีมารยาทในการฟัง (A) อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช)้ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ๔ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ๑ ควรปรับปรงุ

๘. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์ วธิ กี ารวดั เครือ่ งมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน ดา้ นความรคู้ วามเข้าใจ (K) สงั เกตการอธบิ ายหลกั การ แบบสงั เกตสงั เกตการ นักเรยี นมคี วามรู้ และ นักเรียนอธิบายหลักการวเิ คราะห์ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์การฟัง อธบิ ายหลักการวเิ คราะห์ สามารถอธิบายความรู้ วจิ ารณ์การฟัง วเิ คราะห์ วิจารณ์ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ได้ วจิ ารณก์ ารฟงั วเิ คราะห์ เกย่ี วกบั การฟัง วิเคราะห์ ได้ วจิ ารณไ์ ด้ วิจารณ์ อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช้) ถือว่าผ่าน ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ประเมนิ ผลการวเิ คราะห์ แบบประเมนิ ผลการ เกณฑ์ นักเรยี นสามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ วิจารณ์ และบอกขอ้ คิดจาก วเิ คราะห์ วิจารณ์ และบอก และบอกข้อคดิ จากเรื่องทฟ่ี งั ได้ เรอ่ื งทฟ่ี งั บอกจุดประสงค์ ข้อคิดจากเร่ืองที่ฟัง บอก นกั เรยี นมที กั ษะ ของเรอ่ื ง จัดลาดบั จุดประสงคข์ องเร่ือง กระบวนการในการฟังแลว้ เหตุการณ์ และสรุปเนอ้ื เรื่อง จดั ลาดบั เหตุการณ์ และ จับประเดน็ สาคญั บอก สรปุ เนอื้ เรือ่ ง จดุ ประสงคข์ องเร่ือง จดั ลาดบั เหตุการณ์ และ ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ประเมนิ การมมี ารยาทใน แบบประเมนิ การมมี ารยาท สรปุ เนือ้ เรือ่ ง อยู่ในระดับ (A) การฟัง ในการฟัง คุณภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช้) นักเรยี นมีมารยาทในการฟัง ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ นกั เรียนมมี ารยาทในการฟงั อยู่ในระดับคณุ ภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ การประเมินผลตามสภาพจริง ดา้ นความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสังเกตการอธบิ ายความรู้เกยี่ วกบั การฟงั วิเคราะห์ วิจารณ์ และหลกั การมมี ารยาทในการฟงั (K) รายการ ระดบั คุณภาพ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔๓๒๑ อธิบายความรู้เกยี่ วกับ อธิบายความรู้เกยี่ วกบั อธบิ ายความรูเ้ กย่ี วกบั อธิบายความรเู้ กย่ี วกับ นักเรยี นอธบิ าย การฟงั วเิ คราะห์ การฟงั วเิ คราะห์ การฟัง วิเคราะห์ การฟัง วิเคราะห์ หลกั การวิเคราะห์ วิจารณ์ และหลักการ วจิ ารณ์ และหลกั การ วจิ ารณ์ และหลกั การมี วิจารณ์ และหลักการมี วิจารณ์การฟงั มีมารยาทในการฟัง มีมารยาทในการฟงั มารยาทในการฟงั ได้ มารยาทในการฟัง ได้ วิเคราะห์ วิจารณ์ได้ ได้ถกู ตอ้ ง ละเอยี ด ได้คอ่ นข้างถกู ตอ้ งดี ถูกต้องบา้ งบางสว่ น อยา่ งคร่าวๆ ถูกต้อง ชดั เจน ดมี าก เพยี งเล็กนอ้ ย

๒. แบบประเมินผลการวิเคราะห์ วิจารณ์ และบอกข้อคิดจากเร่ืองท่ีฟัง บอกจุดประสงค์ของเรื่อง จดั ลาดบั เหตุการณ์ และสรปุ เนือ้ เรอื่ ง (P) รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔๓๒๑ นักเรยี นสามารถ ฟังแลว้ จบั ประเด็น ฟังแลว้ จบั ประเดน็ ฟังแลว้ จบั ประเด็น ฟงั แลว้ จบั ประเดน็ วิเคราะห์ วิจารณ์ และ สาคัญ บอก สาคญั บอก สาคญั บอก สาคัญ บอก จดุ ประสงคข์ องเร่ือง จุดประสงคข์ องเร่ือง จุดประสงคข์ องเรอื่ ง จดุ ประสงคข์ องเร่ือง บอกข้อคดิ จากเรื่องท่ี จัดลาดับเหตุการณ์ จัดลาดับเหตกุ ารณ์ จดั ลาดบั เหตุการณ์ จัดลาดับเหตุการณ์ ฟงั ได้ (P) และสรุปเนอื้ เรอื่ งได้ และสรุปเน้ือเรอื่ งได้ และสรุปเนื้อเร่อื งได้ และสรุปเน้อื เรอื่ งได้ ถูกตอ้ ง ละเอยี ด ค่อนขา้ งถกู ต้องทุก ถกู ต้องบ้าง บาง อย่างคร่าวๆ แตล่ ะ ชดั เจน ครบถว้ นทุก ประเดน็ แตอ่ ธิบาย ประเดน็ ประเดน็ มีความถูกตอ้ ง ประเดน็ อยา่ งสน้ั ๆ เพียงเลก็ น้อย ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมใฝ่เรยี นรู้ (A) รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ ๑ ๔๓๒ ตั้งใจฟงั เป็นอยา่ งดี ไม่ ตง้ั ใจฟัง ไม่พูดคยุ สนใจฟงั บ้างเปน็ ไม่ต้งั ใจฟัง ไม่เขา้ ใจใน มมี ารยาทในการฟัง พูดคุยในขณะกาลงั ฟงั บอกประเด็นสาคญั ได้ บางคร้ัง พอเข้าใจใน เน้ือหาและประเดน็ ที่ (A) บอกประเดน็ สาคญั ท่ี เนื้อหาที่ไดร้ บั จากการ ไดร้ บั จากการฟงั ได้รบั จากการฟังได้ ฟงั

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๙ กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒ พัฒนาพดู อา่ น เขียน (เมื่อแพะกลายเปน็ สุนขั ) เรอ่ื ง นทิ านปญั จตนั ตระ จานวน ๑ ช่ัวโมง ชอ่ื ครผู ู้สอน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ สอนวันท.่ี .................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณและพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรสู้ กึ ในโอกาสต่างๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ๒. สาระสาคญั นิทานปัญจตันตระ เป็นหนังสือประชุมนิทานโบราณในภาษาสันสกฤตมีห้าเล่ม หรือห้าภาค แสดงถึง วิธีสอนคนสมัยโน้นให้เด็กรู้วิชาความรู้ต่าง ๆ ตามนิติประเพณี และให้มีความฉลาดเท่าทันกลวิธีเล่ห์เหลียม นิทานเร่ืองหนึ่ง ๆ ย่อมมีเรื่องอ่ืน ๆ เกี่ยวโยงกันเป็นแบบนิทานซ้อนนิทาน โดยส่วนใหญ่ยกอุทาหรณ์ของสัตว์ ตา่ งชนิดต่างนิสัยขึ้นมาประกอบเป็นเรื่อง มีการเจรจาโต้ตอบ หรือคิดต่อสัมพันธ์กันจนในท่ีสุดสรุปเป็นของส่ิง สอนให้จดจาไว้ วิธีน้ีมีทานองคล้ายคลึงกันกับนิทานอีสปของชาติโยนก ซึ่งปรากฏแพร่หลายมาก่อนประมาณ ๑๐๐ ปเี ศษ ๓. ตวั ชว้ี ดั ท ๓.๑ ม.๒/๕ พูดรายงานเร่อื งหรอื ประเดน็ ที่ศึกษาคน้ คว้าจากการฟงั การดแู ละการพดู ๔. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. นกั เรียนอธิบายความหมายและท่มี าของนทิ านปัญจตันตระได้ ๒. นักเรยี นสามารถค้นคว้าเรื่องนิทานปญั จตันตระพร้อมท้ังสรุปข้อคดิ ทีไ่ ด้รับจากเรื่องได้ ๓. นกั เรียนรกั ความเปน็ ไทย ๕. สาระการเรยี นรู้ นิทานปัญจตันตระ ๖. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นนาเข้าสบู่ ทเรียน ๑. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสนทนาว่ารู้จกั นทิ านเรอ่ื งใดบ้าง ถาม-ตอบ และครูสรุปในเร่อื งของนนิทาน ขน้ั สอน ๒. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง นิทานปัญจตันตระ พร้อมทงั้ เลา่ เรื่องแต่ละเรือ่ ง อยา่ งยอ่ ดังน้ี

มิตฺรเภท หรือการแตกมิตร เน้ือเรื่องหลักคือการแตกมิตรระหว่างสิงโตกับโค โดยมีสุนัข จ้งิ จอกเป็นผยู้ ยุ ง มิตรฺ ลาภ หรือการผกู มิตร เนื้อเรือ่ งหลักคอื การคบหาเป็นมติ รระหว่างหนู กา เตา่ กวาง กาโกลูกียมฺ หรอื สงคราม เน้อื เร่อื งหลกั คือการทาสงครามระหว่างกากับนกเคา้ แมว ลาพฺธาปรฺญาศมฺ หรือ ลาภหาย เนือ้ เรอื่ งหลักเปน็ เรอ่ื งระหวา่ งลิงกับจระเข้ อปรีกษติ การาก หรอื สนั ตภิ าพ ไมม่ เี นอ้ื เรอื่ งหลักทีช่ ัดเจน ขนั้ สรุป ๓. นักเรียนและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ขอ้ คิด ที่ได้รับจาก นิทานปัญจตันตระ รวมทั้งการนาข้อคิดไป ปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวันของนักเรียน ๗. ส่อื การเรียนรู้ หนังสอื เรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทยชุด ววิ ธิ ภาษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ใบความรู้เร่ือง นทิ านปญั จตนั ตระ ๘. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ วธิ ีการวดั ๑. สังเกตการอธบิ ายความหมายและทมี่ าของนิทานปญั จตันตระได้ (K) ๒. ตรวจและประเมินผลการคน้ ควา้ เร่อื งนทิ านปญั จตันตระพรอ้ มท้ังสรุปข้อคดิ ท่ีได้รับจากเร่ืองได้(P) ๓. ประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมรักความเป็นไทย (A) เคร่ืองมอื วัด ๑. แบบสงั เกตการอธบิ ายความหมายและท่มี าของนิทานปญั จตันตระได้ (K) ๒. แบบประเมนิ ผลการคน้ ควา้ เรื่องนทิ านปญั จตันตระพร้อมทง้ั สรุปขอ้ คดิ ท่ีไดร้ บั จากเร่ืองได้ (P) ๓. แบบประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรมรักความเปน็ ไทย (A) เกณฑก์ ารประเมิน ๑. นักเรียนมีความรู้ และสามารถอธิบายความรู้เก่ียวกับการโน้มน้าวใจ อันได้แก่ กลวิธีการโน้มน้าว ใจ ภาษาโน้มนา้ วใจ และการใช้วิจารณญาณในการรับสารโน้มน้าวใจ (K) อยู่ในระดับคณุ ภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการเขียนการโน้มน้าวใจ จากหัวข้อท่ีกาหนดให้ (P) อยู่ในระดับ คุณภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช)้ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ ๓. นกั เรียนมพี ฤตกิ รรมรกั ความเป็นไทย (A) อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช้) ถือว่าผา่ นเกณฑ์ เกณฑร์ ะดับคุณภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ๔ ดมี าก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ๑ ควรปรับปรงุ

๘. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์ วธิ ีการวัด เครื่องมือวดั ผล เกณฑ์การประเมิน ดา้ นความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) สังเกตการอธิบาย แบบสงั เกตการอธบิ าย นกั เรียนมคี วามรู้ และ นักเรยี นอธิบายความหมายและ ความหมายและท่ีมาของ ความหมายและที่มาของ สามารถอธบิ ายความรู้ ทม่ี าของนทิ านปัญจตนั ตระได้ นิทานปัญจตนั ตระได้ นิทานปญั จตันตระได้ เกี่ยวกบั การโนม้ น้าวใจ อัน ได้แก่ กลวธิ ีการโน้มน้าวใจ ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) ตรวจและประเมนิ ผลการ แบบประเมนิ ผลการค้นคว้า ภาษาโนม้ นา้ วใจ และการใช้ นักเรียนสามารถคน้ คว้าเรื่อง วจิ ารณญาณในการรบั สาร นทิ านปัญจตนั ตระพร้อมทง้ั สรุป ค้นคว้าเรอื่ งนทิ านปญั จ เร่อื งนิทานปญั จตันตระ โนม้ น้าวใจ อยใู่ นระดบั ข้อคดิ ท่ีไดร้ บั จากเรื่องได้ คุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช)้ ตนั ตระพรอ้ มทั้งสรุปข้อคิดที่ พรอ้ มท้ังสรปุ ข้อคิดทไี่ ด้รบั ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ ได้รบั จากเรื่องได้ จากเรอ่ื งได้ นกั เรยี นมที กั ษะ กระบวนการในการเขียน ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ประเมนิ การสังเกต แบบประเมนิ การสังเกต การโนม้ นา้ วใจ จากหัวขอ้ ท่ี (A) กาหนดให้ อย่ใู นระดบั นักเรยี นรกั ความเปน็ ไทย พฤติกรรมรักความเป็นไทย พฤตกิ รรมรกั ความเปน็ ไทย คณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช้) ถือว่าผา่ นเกณฑ์ นกั เรียนมีพฤตกิ รรมรกั ความเปน็ ไทย อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช้) ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ การประเมินผลตามสภาพจริง ดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสงั เกตการอธบิ ายความหมายและที่มาของนทิ านปญั จตันตระได้ (K) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔๓๒๑ อธบิ ายความหมาย อธบิ ายความหมาย อธบิ ายความหมาย อธบิ ายความหมาย อธิบายความหมาย และทม่ี าของนิทาน และท่ีมาของนิทาน และทีม่ าของนทิ าน และทม่ี าของนิทาน และท่ีมาของนทิ าน ปัญจตันตระได้ถูกต้อง ปญั จตันตระได้ ปัญจตันตระได้ ปญั จตันตระได้ถูกตอ้ ง ปัญจตันตระได้ (K) ละเอียดชัดเจนดีมาก ค่อนข้างถูกต้องดี ถกู ตอ้ งบา้ งบางส่วน เพียงคร่าวๆ ถกู ต้อง เพยี งเล็กนอ้ ยเท่านั้น ๒. แบบประเมนิ ผลการค้นคว้าเรื่องนทิ านปญั จตนั ตระพรอ้ มท้ังสรปุ ขอ้ คดิ ทไี่ ด้รบั จากเรอื่ งได้ (P) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๔๓๒๑ คน้ ควา้ ขอ้ มลู นทิ าน ค้นคว้าข้อมลู นิทาน ค้นคว้าขอ้ มูลนิทาน คน้ ควา้ ข้อมูลนิทาน ตรวจและประเมนิ ผล ปัญจตันตระพรอ้ มทั้ง ปัญจตันตระพร้อมทง้ั ปัญจตนั ตระพร้อมทง้ั ปัญจตนั ตระพร้อมทั้ง การคน้ ควา้ เร่ืองนทิ าน สามารถสรปุ ข้อคิดได้ สามารถสรปุ ขอ้ คดิ ได้ สามารถสรปุ ข้อคดิ ได้ สามารถสรปุ ข้อคิดได้ ปญั จตนั ตระพรอ้ มทงั้ ถูกตอ้ ง ละเอียด ค่อนข้างถกู ตอ้ งดี ถกู ตอ้ งบ้างบางส่วน ถกู ตอ้ งเพียงคร่าวๆ สรุปขอ้ คดิ ทไ่ี ดร้ บั จาก ชัดเจนดีมาก ถูกต้องเพยี งเลก็ นอ้ ย เรอ่ื งได้ (P) เทา่ น้ัน

๓. แบบประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรมรักความเป็นไทย (A) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๑ ๔๓๒ รักความเปน็ ไทย (A) เหน็ คณุ คา่ ของ เหน็ คุณคา่ ของ เหน็ คณุ คา่ ของ ขาดการเหน็ คณุ คา่ ภาษาไทย และรจู้ กั ภาษาไทย และรจู้ กั ภาษาไทย และรจู้ ัก ของภาษาไทย และไม่ รักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ รกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ รกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็น รจู้ ักรกั ษาภาษาไทยไว้ สมบัติของชาติ ด้วย สมบตั ิของชาติ ด้วย สมบตั ขิ องชาติ ดว้ ย เปน็ สมบตั ิของชาติ ใช้ การใช้ภาษาไทยอยา่ ง การใชภ้ าษาไทยอยา่ ง การใช้ภาษาไทยอยา่ ง ภาษาไทยอยา่ งไม่ ถกู ตอ้ งเป็นประจา ถูกต้องบ่อยครง้ั ถูกต้องบา้ งบางครัง้ ถกู ต้องเสมอ

ใบความรู้ นทิ านปญั จตันตระ ปัญจตนั ตระ (องั กฤษ: Pancatantra ) เป็นนทิ านโบราณของอนิ เดีย คาดว่ามตี ้นกาเนิดท่ีแคชเมียร์เมอ่ื พ.ศ. 343 เขียนดว้ ยภาษาสันสกฤต ไดร้ บั อทิ ธิพลจากนทิ านชาดกของพุทธศาสนา มีการแปลเปน็ ภาษาตา่ งๆ มาตั้งแต่สมยั โบราณ เช่น แปลเปน็ ภาษาอาหรบั เม่ือราว พ.ศ. 1400 ต่อมาจงึ แปลไปเป็นภาษาละตนิ ภาษา ฮบี รู ภาษากรีก และภาษาอ่ืนๆในยโุ รป ส่วนฉบบั ภาษาองั กฤษนั้นตงั้ ช่อื ใหม่ว่า นทิ านของปิลเป (Pilpay's Fable) ส่วนปัญจตันตระฉบบั ภาษาไทยแปลจากฉบับภาษาองั กฤษโดยศักดา วมิ ลจนั ทร์ นทิ านปัญจตันตระเป็นนทิ านซ้อนนิทานซ่ึงเป็นลักษณะที่พบบ่อยในวรรณคดภี าษาสนั สกฤต ลักษณะ เดียวกับนทิ านเวตาลและกถาสรติ สาคร เนอ้ื หาของปญั จตันตระคลา้ ยหิโตปเทศ โดยหิโตปเทศแบง่ ย่อยเป็นสี่ เล่ม สว่ นปัญจตนั ตระแบง่ ย่อยเป็น 5 เล่ม โครงเร่ืองหลักคือเป็นการรวบรวมเร่ืองราวเพ่ือให้เจา้ ชายทโี่ ง่เขลา ได้เรียนรูใ้ หเ้ ข้าใจโดยรวดเรว็ เร่อื งยอ่ ยของปัญจตันตระ ได้แก่ • มิตฺรเภท หรอื การแตกมิตร - เน้อื เรอ่ื งหลกั คือการแตกมิตรระหวา่ งสิงโตกบั โค โดยมีสุนัขจิ้งจอกเปน็ ผูย้ ยุ ง • มติ ฺรลาภ หรอื การผูกมิตร - เนอ้ื เรอื่ งหลักคือการคบหาเป็นมติ รระหว่างหนู กา เตา่ กวาง • กาโกลกู ยี มฺ หรือ สงคราม เน้ือเร่ืองหลักคือการทาสงครามระหว่างกากับนกเค้าแมว • ลาพฺธาปรฺญาศมฺ หรือ ลาภหาย - เน้อื เรอื่ งหลกั เป็นเร่ืองระหว่างลิงกบั จระเข้ • อปรีกษิตการาก หรือ สนั ตภิ าพ - ไมม่ ีเนื้อเรือ่ งหลกั ทช่ี ดั เจน อย่างไรกต็ าม เม่ือดูตามหลักฐานบทแปลท่ีเก่าแก่ที่สดุ ทีเ่ หลืออยู่ นทิ านปญั จตันตระเคยมีถึง 12 เล่ม เมื่อมี การแก้ไขตดั ตอนกันตอ่ ๆมาจึงเหลอื เท่าที่มีในปัจจุบัน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๐ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๒ พฒั นาพูด อา่ น เขยี น (เมอ่ื แพะกลายเปน็ สุนขั ) เรือ่ ง การพูดโนม้ นา้ วใจ จานวน ๒ ช่ัวโมง ช่ือครูผู้สอน นางสาวจิราพร กุลให้ สอนวันท่ี..................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคิด เพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปญั หาในการ ดาเนินชีวติ ๒. สาระสาคญั การโน้มน้าวใจ เป็นการทาให้ผู้ถูกโน้มน้าวเชื่อว่า ถ้าทาตามผู้โน้มน้าวชักนาแล้ว ก็จะได้รับ ผลตอบสนองตามความต้องการของตนเอง จึงควรรู้กลวิธีการเขียนโน้มน้าวใจ ภาษาโน้มน้าวใจ และการใช้ วจิ ารณญาณในการรบั สารโน้มน้าวใจจึงจะเรยี นรู้ได้อยา่ งสัมฤทธิผ์ ล ๓. ตัวชว้ี ัด ท ๑.๑ ม. ๒/๖ ระบุขอ้ สังเกตการชวนเช่ือ การโน้มน้าวหรือความสมเหตุสมผลของงานเขยี น ๔. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. นกั เรยี นอธบิ ายหลกั การพูดโนม้ น้าวใจได้ ๒. นักเรยี นพดู โน้มนา้ วใจได้ ๓. นักเรยี นมีความใฝ่เรียนรู้ ๕. สาระการเรียนรู้ การพูดโนม้ น้าวใจ ๖. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรียน (ชว่ั โมงท่ี ๑-๒) ๑. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเก่ียวกับเร่ืองการโฆษณาขายสินค้า ตามสอื่ ในปัจจุบนั ว่ามีวิธีดึงดูด ผู้ซ้ืออย่างไร ขน้ั สอน (ช่วั โมงท่ี ๑) ๒. นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง การโน้มน้าวใจ จากหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทยชุด วิวิธ- ภาษา ม. ๒ หน้า ๓๖-๓๙ โดยครูเปน็ ผ้อู ธบิ าย ซกั ถาม ตอบคาถาม และแสดงความคิดเห็น จนกวา่ นักเรยี นจะ เข้าใจ

ขั้นสอน (ช่วั โมงท่ี ๒) ๓. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๓-๔ คน ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวข้อต่อไปน้ี นาไปคิดหาวิธีโน้มน้าวใจ โดยการ เขยี นส่งครู - ใชข้ องไทย ซ้ือของไทย ชาตไิ ทยเจรญิ - รกั สงิ่ ใดไม่สาคัญเท่ารกั ชาติ - หญิงไทยต้องรกั นวลสงวนตวั - ผลประโยชน์ส่วนรวมต้องมากอ่ นส่วนตน - เดก็ ไทยร่วมใจตา้ นยาเสพตดิ - สขุ ภาพดี ไมม่ ขี าย อยากได้ต้องทาเอง - เดก็ ไทยลดหวาน รบั ประทานผัก รักออกกาลังกาย เมื่อเสรจ็ แลว้ ใหน้ าส่งครู เพอื่ ตรวจและประเมินผล ขั้นสรุป ๔. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ โดยครูต้ังคาถามเกี่ยวกับ การโน้มน้าวใจ และให้นักเรียนเป็น ผตู้ อบคาถาม ทัง้ นเ้ี พ่อื แสดงความรแู้ ละความเขา้ ใจอกี ครัง้ ๗. ส่อื การเรียนรู้ หนังสือเรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทยชุด ววิ ิธภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ วิธกี ารวัด ๑. สังเกตการอธิบายความรู้เกี่ยวกับการโน้มน้าวใจ อันได้แก่ กลวิธีการโน้มน้าวใจ ภาษาโน้มน้าวใจ และการใช้วจิ ารณญาณในการรับสารโน้มน้าวใจ (K) ๒. ตรวจและประเมนิ ผลการเขียนการโน้มน้าวใจ จากหัวขอ้ ทีก่ าหนดให้ (P) ๓. ประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมใฝเ่ รียนรู้ (A) เครื่องมอื วัด ๑. แบบสังเกตการอธิบายความรู้เก่ียวกับการโน้มน้าวใจ อันได้แก่ กลวิธีการโน้มน้าวใจ ภาษาโน้ม น้าวใจ และการใชว้ จิ ารณญาณในการรับสารโนม้ น้าวใจ (K) ๒. แบบประเมินผลการเขียนการโน้มนา้ วใจ จากหัวข้อทกี่ าหนดให้ (P) ๓. แบบประเมนิ การสงั เกตพฤตกิ รรมใฝเ่ รยี นรู้ (A) เกณฑก์ ารประเมนิ ๑. นักเรียนมีความรู้ และสามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกับการโน้มน้าวใจ อันได้แก่ กลวิธีการโน้มน้าว ใจ ภาษาโน้มน้าวใจ และการใช้วิจารณญาณในการรับสารโนม้ น้าวใจ (K) อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช้) ถือว่าผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการเขียนการโน้มน้าวใจ จากหัวข้อที่กาหนดให้ (P) อยู่ในระดับ คุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช้) ถือว่าผา่ นเกณฑ์ ๓. นักเรยี นมพี ฤตกิ รรมใฝเ่ รยี นรู้ (A) อย่ใู นระดบั คุณภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช)้ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

เกณฑร์ ะดบั คุณภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ๔ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ๑ ควรปรับปรงุ ๘. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์ วิธกี ารวดั เครอื่ งมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน ดา้ นความรู้ความเขา้ ใจ (K) สังเกตการอธิบายความรู้ แบบสังเกตการอธบิ าย นักเรียนมีความรู้ และ นักเรยี นอธิบายหลักการพดู โน้ม เกี่ยวกบั การโนม้ นา้ วใจ อัน ความรเู้ ก่ียวกับการโนม้ น้าว สามารถอธบิ ายความรู้ น้าวใจได้ ไดแ้ ก่ กลวธิ กี ารโนม้ นา้ วใจ ใจ อันได้แก่ กลวิธกี ารโนม้ เก่ยี วกับการโนม้ นา้ วใจ อัน ภาษาโน้มนา้ วใจ และการใช้ นา้ วใจ ภาษาโนม้ นา้ วใจ ได้แก่ กลวิธีการโน้มนา้ วใจ วิจารณญาณในการรับสาร และการใชว้ จิ ารณญาณใน ภาษาโน้มน้าวใจ และการใช้ โน้มนา้ วใจ การรบั สารโนม้ นา้ วใจ วจิ ารณญาณในการรบั สาร โนม้ นา้ วใจ อยูใ่ นระดบั ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ตรวจและประเมนิ ผลการ แบบประเมนิ ผลการเขียน คุณภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช้) นกั เรยี นพดู โน้มน้าวใจได้ เขียนการโนม้ นา้ วใจ จาก การโน้มน้าวใจ จากหัวขอ้ ที่ ถือว่าผา่ นเกณฑ์ หัวขอ้ ท่ีกาหนดให้ กาหนดให้ นกั เรียนมที ักษะ ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ประเมนิ การสังเกต แบบประเมนิ การสังเกต กระบวนการในการเขียน (A) พฤติกรรมใฝ่เรยี นรู้ พฤตกิ รรมใฝ่เรยี นรู้ การโน้มนา้ วใจ จากหัวข้อที่ นกั เรียนมีความใฝ่เรยี นรู้ กาหนดให้ อยู่ในระดับ คุณภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช้) ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ นักเรยี นมพี ฤตกิ รรมใฝ่ เรียนรู้ อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช้) ถือว่าผา่ น เกณฑ์

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสงั เกตการอธบิ ายความร้เู ก่ียวกบั การโน้มน้าวใจ อนั ได้แก่ กลวิธกี ารโนม้ น้าวใจ ภาษาโน้มน้าวใจ และการใช้วจิ ารณญาณในการรบั สารโน้มนา้ วใจ (K) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๔๓๒๑ อธบิ ายความรู้เกยี่ วกบั อธิบายความร้เู กย่ี วกบั อธิบายความรู้เกยี่ วกบั อธิบายความรเู้ กยี่ วกับ อธิบายความร้เู กยี่ วกับ การโน้มนา้ วใจ อัน การโนม้ น้าวใจ อัน การโน้มน้าวใจ อัน การโนม้ น้าวใจ อัน การโน้มน้าวใจ อัน ได้แก่ กลวธิ ีการโนม้ ได้แก่ กลวธิ กี ารโน้ม ไดแ้ ก่ กลวธิ กี ารโน้ม ได้แก่ กลวธิ ีการโน้ม ไดแ้ ก่ กลวิธกี ารโน้ม น้าวใจ ภาษาโน้มน้าว น้าวใจ ภาษาโน้มน้าว นา้ วใจ ภาษาโนม้ นา้ ว น้าวใจ ภาษาโนม้ น้าว น้าวใจ ภาษาโนม้ น้าว ใจ และการใช้ ใจ และการใช้ ใจ และการใช้ ใจ และการใช้ ใจ และการใช้ วจิ ารณญาณในการรับ วจิ ารณญาณในการรบั วิจารณญาณในการรับ วจิ ารณญาณในการรับ วิจารณญาณในการรับ สารโนม้ นา้ วใจ ได้ สารโนม้ น้าวใจได้ สารโนม้ นา้ วใจ ได้ สารโนม้ น้าวใจ ได้ สารโนม้ น้าวใจ (K) ถูกตอ้ ง ละเอียด ค่อนข้างถกู ต้องดี ถูกต้องบ้างบางส่วน เพียงคร่าวๆ ถูกต้อง ชัดเจนดมี าก เพียงเล็กนอ้ ยเทา่ นัน้ ๒. แบบประเมนิ ผลการเขยี นการโน้มนา้ วใจ จากหวั ขอ้ ทกี่ าหนดให้ (P) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๑ ๔๓๒ เสนอความคดิ กลวิธี เสนอความคดิ กลวธิ ี เสนอความคดิ กลวธิ ี เสนอความคดิ กลวธิ ี การเขียนการโน้มน้าว การโนม้ น้าวใจ และใช้ การโนม้ น้าวใจ และใช้ การโน้มนา้ วใจ และใช้ การโน้มนา้ วใจ และใช้ ใจ จากหวั ข้อท่ี ภาษาในการเขียนที่ ภาษาในการเขยี นที่ ภาษาในการเขยี นที่ ภาษาในการเขยี นทไี่ ม่ กาหนดให้ (P) นา่ สนใจ มีเหตผุ ลทีด่ ี นา่ สนใจมีการแสดง น่าสนใจ แต่เหตผุ ล คอ่ ยน่าสนใจ แตเ่ ขยี น อยา่ งส้ัน ๆ ต้อง เรียบเรียงเนอ้ื หาอย่าง เหตุผล ประกอบไมค่ ่อย พฒั นาการเรยี บเรยี ง เป็นลาดับดีมาก ประกอบเล็กนอ้ ย สมั พันธ์กัน มี เนอื้ หา เรยี บเรยี งเนอ้ื หา ข้อบกพร่องเล็กนอ้ ย ไดด้ ี ในการเรยี บเรียง เนือ้ หา ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤตกิ รรมใฝ่เรียนรู้ (A) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๔๓๒๑ ตงั้ ใจเรยี น และรว่ มทา ตัง้ ใจเรยี น และรว่ มทา ต้ังใจเรียน และร่วมทา ตัง้ ใจเรยี น และรว่ มทา ใฝเ่ รียนรู้ (A) กจิ กรรม เป็นประจา กจิ กรรมบ่อยคร้ัง กิจกรรม บ้างบางคร้ัง กิจกรรม เพยี ง รวมท้ังใช้และร้จู กั รวมทัง้ ใชแ้ ละรู้จัก รวมท้ังใช้และรู้จัก เล็กน้อย รวมทัง้ ใช้ ไตรต่ รองภาษาการ ไตรต่ รองภาษาการ ไตรต่ รองภาษาการ และรจู้ กั ไตร่ตรอง โน้มน้าวใจใน โน้มน้าวใจใน โนม้ น้าวใจใน ภาษาการโนม้ นา้ วใจ ชีวติ ประจาวนั ได้ ชีวติ ประจาวนั ได้ ชวี ิตประจาวันได้ ในชีวติ ประจาวันได้



แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ พฒั นาพูด อ่าน เขียน (ลกู ผชู้ ายตัวเกือบจริง) เรอื่ ง พินิจสารจากการฟงั จานวน ๑ ชั่วโมง ชอื่ ครผู ้สู อน นางสาวจริ าพร กุลให้ สอนวนั ที่..................................................... ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณและพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สึกในโอกาสตา่ งๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์ ๒. สาระสาคญั การฟังเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ คือ การฟังสารแล้วพิจารณาไตร่ตรอง แยกแยะสารออกเป็นส่วน ๆ อย่างถ่ีถ้วน เพื่อให้สามารถแยกแยะข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และประเมินค่าส่ิงท่ีได้ฟังนั้น นาไปใช้ใน ชีวิตประจาวนั ๓. ตัวช้ีวดั ท ๓.๑ ม. ๒/๓ วิเคราะห์และวิจารณ์เร่ืองที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล เพื่อนาข้อคิดมาประยุกต์ใช้ใน การดาเนินชวี ิต ๔. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. นกั เรยี นอธิบายหลักการวิเคราะห์ วิจารณก์ ารฟัง วเิ คราะห์ วิจารณไ์ ด้ ๒. นกั เรียนสามารถวเิ คราะห์ วิจารณ์ และบอกข้อคิดจากเรอ่ื งท่ีฟงั ได้ ๓. นกั เรียนมมี ารยาทในการฟงั ๕. สาระการเรยี นรู้ การฟงั เร่ือง ลูกผชู้ ายตวั เกอื บจริง ๖. กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้ันนาเขา้ สบู่ ทเรียน ๑. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ ฝ่าย หญิงและชาย เพื่อจัดกิจกรรมอภิปรายในหัวข้อว่า “เป็นผู้หญิง แทจ้ ริงแสนลาบาก เปน็ ผู้ชายย่งิ ยากกวา่ หลายเทา่ ” ๒. เม่ือจัดกิจกรรมจบลง ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ ในเร่อื งดังตอ่ ไปน้ี หลายคนบอกว่าผู้ชายดีกว่าผู้หญิง จริงหรือเปล่า? โดยส่วนใหญ่ถ้าถามผู้ชายก็ต้องตอบว่า ผ้ชู ายดีกว่าอยู่แลว้ และถ้าถามผู้หญิง ผ้หู ญิงก็ต้องตอบว่าผูห้ ญิงดีกวา่ แนน่ อน แลว้ เราจะรไู้ ด้ยังไงว่าท่ีจริงแล้ว ใครดกี ว่ากัน แต่ไม่ว่าจะเป็นผู้หญิงหรือผู้ชายกม็ ีท้ังดีและไม่ดี ขึน้ อยู่กับจะถูกปลูกฝังมาแบบไหน เพียงแตเ่ รา

เอาใจเขามาใส่ใจเรา มองถึงจิตใจคนอ่ืนบ้าง เราก็สามารถดารงชีวิตอยู่ร่วมกัน ทาหน้าท่ีของตนได้อย่างมี ความสุขและไมม่ อี คตติ อ่ กัน รวมถงึ การรักกันอยา่ งมีความสุข เพราะยงั ไงผหู้ ญิงกบั ผ้ชู ายกเ็ กดิ มาคกู่ ันอยแู่ ลว้ ข้ันสอน ๓. จากน้ันนักเรียนฟังครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับการฟัง วิเคราะห์ วิจารณ์ และหลักการมีมารยาทใน การฟงั ซกั ถาม ตอบคาถาม และแสดงความคดิ เห็นจนกว่านักเรยี นจะเข้าใจ ๔. จากนั้นแบ่งนักเรียนออกเป็น ๔ กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มศึกษาเรื่อง เมื่อแพะกลายเป็นสุนัข จาก หนงั สือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทยชุด วิวิธภาษา ม. ๒ หน้า ๔๖ – ๕๑ และศึกษาในประเด็นตอ่ ไปนี้ โดย ใหเ้ ขยี นบันทึกลงในกระดาษท่คี รูแจกให้ กลุ่ม ๑ จบั ประเด็นสาคัญของเรอื่ ง กลมุ่ ๒ บอกจุดประสงคข์ องเรื่อง กลุ่ม ๓ จัดลาดับเหตุการณข์ องเรื่อง กล่มุ ๔ สรุปเนอ้ื เรื่อง ๕. เมื่อเรียบร้อยแล้วให้ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงานผลการศึกษาในประเด็นต่างๆ ครู สังเกตและประเมนิ ผล ขัน้ สรปุ ๖. เมื่อรายงานครบทุกกลุ่มเรียบร้อยแล้ว ครูสรุปเร่ือง ลูกผู้ชายตัวเกือบจริง ในประเด็นต่างๆ ให้ นักเรียนฟังอกี ครงั้ รวมทั้งสรปุ ความรเู้ รอ่ื งการฟงั วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และหลักการมีมารยาทในการฟงั ดว้ ย ๗. สือ่ การเรียนรู้ ๑. หนังสือเรยี น รายวชิ าพนื้ ฐาน ภาษาไทยชุด วิวิธภาษา ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ๒. กระดาษ ๘. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ วิธกี ารวัด ๑. สงั เกตการอธบิ ายหลกั การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์การฟัง วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ได้ (K) ๒. ประเมินผลการวิเคราะห์ วิจารณ์ และบอกข้อคิดจากเร่ืองท่ีฟัง บอกจุดประสงค์ของเรื่อง จดั ลาดับเหตกุ ารณ์ และสรุปเน้ือเรอ่ื ง (P) ๓. ประเมินการมมี ารยาทในการฟัง (A) เคร่อื งมอื วดั ๑. แบบสังเกตสังเกตการอธบิ ายหลกั การวเิ คราะห์ วิจารณก์ ารฟงั วเิ คราะห์ วิจารณ์ได้ (K) ๒. แบบประเมินผลการวิเคราะห์ วิจารณ์ และบอกข้อคิดจากเรื่องท่ีฟัง บอกจุดประสงค์ของเร่ือง จัดลาดับเหตกุ ารณ์ และสรุปเนื้อเรอื่ ง (P) ๓. แบบประเมินการมีมารยาทในการฟงั (A) เกณฑ์การประเมิน ๑. นักเรียนมีความรู้ และสามารถอธิบายความรู้เก่ียวกับการฟัง วิเคราะห์ วิจารณ์ (K) อยู่ในระดับ คุณภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช)้ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ ๒. นกั เรียนมีทักษะกระบวนการในการฟังแล้วจับประเด็นสาคัญ บอกจุดประสงค์ของเรอื่ ง จัดลาดับ เหตกุ ารณ์ และสรปุ เน้อื เร่ือง (P) อยู่ในระดบั คุณภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช)้ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

๓. นกั เรยี นมีมารยาทในการฟัง (A) อยูใ่ นระดบั คุณภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช้) ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ เกณฑร์ ะดับคุณภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ๔ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ๑ ควรปรับปรุง ๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ วธิ ีการวัด เครอ่ื งมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ ด้านความรู้ความเขา้ ใจ (K) สงั เกตการอธบิ ายหลกั การ แบบสงั เกตสงั เกตการ นักเรียนมคี วามรู้ และ นกั เรียนอธบิ ายหลกั การวเิ คราะห์ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์การฟัง อธบิ ายหลักการวเิ คราะห์ สามารถอธบิ ายความรู้ วจิ ารณก์ ารฟงั วิเคราะห์ วิจารณ์ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ได้ วิจารณ์การฟงั วิเคราะห์ เกยี่ วกบั การฟงั วิเคราะห์ ได้ วิจารณไ์ ด้ วิจารณ์ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช้) ถือว่าผา่ น ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) ประเมนิ ผลการวเิ คราะห์ แบบประเมนิ ผลการ เกณฑ์ นกั เรียนสามารถวเิ คราะห์ วิจารณ์ วจิ ารณ์ และบอกขอ้ คดิ จาก วิเคราะห์ วจิ ารณ์ และบอก และบอกข้อคดิ จากเรอ่ื งทฟี่ งั ได้ เร่อื งทฟี่ ัง บอกจดุ ประสงค์ ข้อคดิ จากเรือ่ งที่ฟงั บอก นกั เรียนมีทักษะ ของเรอ่ื ง จดั ลาดับ จุดประสงคข์ องเร่ือง กระบวนการในการฟงั แล้ว เหตกุ ารณ์ และสรุปเน้ือเรือ่ ง จดั ลาดบั เหตุการณ์ และ จับประเด็นสาคญั บอก สรุปเน้อื เรอื่ ง จดุ ประสงค์ของเรอ่ื ง จัดลาดับเหตุการณ์ และ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ประเมนิ การมมี ารยาทใน แบบประเมินการมมี ารยาท สรุปเน้ือเรอ่ื ง อย่ใู นระดับ (A) การฟงั ในการฟงั คุณภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) นกั เรียนมีมารยาทในการฟัง ถือว่าผา่ นเกณฑ์ นักเรยี นมมี ารยาทในการฟงั อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ การประเมินผลตามสภาพจริง ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสงั เกตการอธิบายความรเู้ กยี่ วกับการฟัง วิเคราะห์ วิจารณ์ และหลักการมีมารยาทในการฟงั (K) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔๓๒๑ อธบิ ายความรเู้ กย่ี วกบั อธิบายความรู้เกย่ี วกับ อธบิ ายความรูเ้ กย่ี วกบั อธบิ ายความรู้เกยี่ วกับ นักเรียนอธบิ าย การฟงั วเิ คราะห์ การฟัง วิเคราะห์ การฟัง วเิ คราะห์ การฟงั วิเคราะห์ หลกั การวิเคราะห์ วิจารณ์ และหลกั การ วิจารณ์ และหลักการ วิจารณ์ และหลกั การมี วิจารณ์ และหลกั การมี วิจารณ์การฟงั มมี ารยาทในการฟัง มมี ารยาทในการฟัง มารยาทในการฟัง ได้ มารยาทในการฟงั ได้ วิเคราะห์ วจิ ารณไ์ ด้ ได้ถูกตอ้ ง ละเอยี ด ไดค้ ่อนขา้ งถกู ตอ้ งดี ถกู ต้องบา้ งบางส่วน อยา่ งคร่าวๆ ถูกต้อง ชดั เจน ดมี าก เพียงเลก็ น้อย

๒. แบบประเมินผลการวิเคราะห์ วิจารณ์ และบอกข้อคิดจากเร่ืองท่ีฟัง บอกจุดประสงค์ของเร่ือง จดั ลาดบั เหตุการณ์ และสรปุ เนือ้ เรอื่ ง (P) รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๔๓๒๑ นักเรยี นสามารถ ฟงั แลว้ จบั ประเด็น ฟังแลว้ จบั ประเดน็ ฟังแลว้ จบั ประเด็น ฟงั แล้วจับประเด็น วิเคราะห์ วิจารณ์ และ สาคัญ บอก สาคญั บอก สาคญั บอก สาคัญ บอก จดุ ประสงคข์ องเร่ือง จุดประสงคข์ องเร่ือง จุดประสงคข์ องเรอื่ ง จดุ ประสงคข์ องเรือ่ ง บอกข้อคดิ จากเรื่องท่ี จัดลาดับเหตุการณ์ จัดลาดับเหตกุ ารณ์ จดั ลาดบั เหตุการณ์ จัดลาดับเหตุการณ์ ฟงั ได้ (P) และสรุปเนอื้ เรอื่ งได้ และสรุปเน้ือเรอื่ งได้ และสรุปเนื้อเร่อื งได้ และสรุปเนื้อเรอื่ งได้ ถูกตอ้ ง ละเอยี ด ค่อนขา้ งถกู ต้องทุก ถกู ต้องบ้าง บาง อย่างคร่าวๆ แตล่ ะ ชดั เจน ครบถว้ นทุก ประเดน็ แตอ่ ธิบาย ประเดน็ ประเดน็ มีความถกู ต้อง ประเดน็ อยา่ งสน้ั ๆ เพยี งเลก็ น้อย ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมใฝ่เรยี นรู้ (A) รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๑ ๔๓๒ ตั้งใจฟงั เป็นอยา่ งดี ไม่ ตง้ั ใจฟัง ไม่พูดคยุ สนใจฟงั บ้างเปน็ ไมต่ ง้ั ใจฟัง ไม่เข้าใจใน มมี ารยาทในการฟัง พูดคุยในขณะกาลงั ฟงั บอกประเด็นสาคญั ได้ บางคร้ัง พอเข้าใจใน เน้อื หาและประเดน็ ที่ (A) บอกประเดน็ สาคญั ท่ี เนื้อหาที่ไดร้ บั จากการ ได้รบั จากการฟงั ไดร้ บั จากการฟังได้ ฟงั

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๒ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ พฒั นาพดู อา่ น เขียน (ลูกผชู้ ายตวั เกอื บจริง) เร่ือง เรื่องสัน้ จานวน ๒ ชัว่ โมง ชอ่ื ครผู ูส้ อน นางสาวจิราพร กุลให้ สอนวันท่.ี .................................................... ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตดั สินใจ แก้ปญั หาในการ ดาเนนิ ชวี ติ และมีนสิ ยั รกั การอ่าน ๒. สาระสาคัญ เรอ่ื งสน้ั เปน็ วรรณกรรมรูปแบบหน่งึ ประเภทบันเทิงคดี มีลกั ษณะเป็นร้อยแก้ว คลา้ ยนวนิยาย แตส่ ้ัน กว่า โดยมีเหตุการณ์ในเร่ืองและตัวละครน้อย มักจบแบบพลิกความคาดหมายหรือจบแบบทิ้งให้คิด เป็นต้น การดาเนินเรื่องจะมุ่งเข้าสู่ประเด็นหลักอย่างรวดเร็ว ต้นกาเนิดของเรื่องสั้นมาจากประเพณีการเล่านิทาน ซ่ึง มักจะปูโครงเร่ืองอย่างคร่าวๆ แล้วเข้าสู่จุดสาคัญของเร่ืองอย่างรวดเร็ว ลักษณะเด่นของเร่ืองส้ันคือ มักมี เหตุการณ์หลักเพียงเหตุการณ์เดียว โครงเร่ืองเดียว ฉากเดียว จานวนตัวละครเพียงไม่กี่ตัว และมีระยะเวลา ตั้งแตต่ น้ จนจบเรื่องไมน่ านนกั ๓. ตัวช้วี ดั ท ๑.๑ ม. ๒ / ๗ อ่านหนังสือ บทความ หรือคาประพันธ์อย่างหลากหลาย และประเมินคุณค่าหรือ แนวคดิ ทไ่ี ดจ้ ากการอา่ นเพ่ือนาไปใชแ้ ก้ปัญหาในชวี ิต ๔. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นักเรยี นอธบิ ายความหมาย ลกั ษณะ และองค์ประกอบของเร่ืองส้ันได้ ๒. นกั เรยี นประเมนิ ค่า ข้อคิด คตสิ อนใจ จากเร่ืองสน้ั ได้ ๓. นกั เรียนใฝเ่ รียนรู้ ๕. สาระการเรียนรู้ เรื่องส้ัน ๖. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นาเขา้ สูบ่ ทเรยี น (ชัว่ โมงท่ี ๑ – ๒) ๑. ครูแนะนาหนังสือเร่ืองส้ันรางวัลซีไรต์ประจาปี ๒๕๕๕ เรื่องคนแคระ ของผู้แต่งวิภาส สีทอง ให้ นักเรียนได้รับทราบเรอ่ื งราวโดยย่อ รวมทง้ั เร่ืองอน่ื ๆ ที่ผ่านมาเช่น ความสขุ ของกะทิ ขนุ ทองเจ้าจะกลับมาเม่ือ

ฟ้าสาง เป็นต้น และแนะนานักเรียนหากมีโอกาสให้เข้าเว็บไซต์ค้นหาช่ือหนังสือ และผู้แต่งรางวัลซีไรต์ในปี ตา่ งๆ ขน้ั สอน (ช่วั โมงท่ี ๑) ๒. นักเรียนศึกษาความรู้เก่ียวกับลักษณะและองค์ประกอบของเร่ืองส้ัน จากหนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน ภาษาไทยชุด วิวิธภาษา ม. ๒ หน้า ๕๒ – ๕๓ โดยครูเป็นผู้อธิบาย ซักถาม ตอบคาถาม จนกว่า นกั เรียนจะเขา้ ใจ ๓. จากน้ันให้นักเรียนช่วยกันบอกลักษณะและองค์ประกอบของเร่ือง ลูกผู้ชายตัวเกือบจริง ว่ามี อะไรบ้าง โดยครเู ป็นผู้ช้ีแจง อธบิ ายรว่ มดว้ ยจนนักเรียนนนั้ เกดิ ความเข้าใจเป็นอย่างดี (ช่วั โมงท่ี ๒) ๔. จากน้ันให้นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม จานวนตามความเหมาะสม ให้ได้ ๔ กลุ่ม อ่านเรอื่ งสั้น โดยยอ่ เรือ่ ง มอม ของ ผู้แต่ง ม.ร.ว. คึกฤทธ์ิ ปราโมช และเมื่ออ่านจบแล้วให้นักเรียนประเมินคุณค่าของเรื่อง โดยให้แต่ละกลุ่ม พจิ ารณาตามประเด็นตอ่ ไปนี้ กล่มุ ที่ ๑ ความสนุกสนานเพลิดเพลินที่ได้รับจากเรื่อง มอม มีมากน้อย เพยี งไร กล่มุ ที่ ๒ สาระความรู้ แนวคิด และแนวปฏิบัติ ท่ีอาจหยิบยกเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อการดาเนินชวี ิตของผ้อู า่ นได้มากน้อยเพียงไร กลุ่มที่ ๓ การสอดแทรกคุณธรรมจรยิ ธรรม หรอื พฤตกิ รรมของตวั ละครสามารถ นาไปเปน็ แบบอย่างหรือควรนาไปปฏบิ ัตติ ามหรอื ไม่ กลมุ่ ท่ี ๔ การใช้ภาษาเพ่ือดาเนนิ เรือ่ งและสรา้ งความสมจรงิ นัน้ มีความถกู ตอ้ ง เหมาะสมชัดเจนเพยี งไร เม่ือเรียบร้อยแล้วให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการประเมินคุณค่าของเร่ือง หนา้ ชั้นเรียน โดยครูสังเกต และประเมินผลใหค้ ะแนน ๕. นกั เรียนและครรู ว่ มกันสรุป ความรู้เก่ียวกับลักษณะและองคป์ ระกอบของเร่ืองส้ัน และความรูเ้ ก่ยี วกบั เรอ่ื ง สนั้ ดังนี้ เรอื่ งสั้น เป็นวรรณกรรมรปู แบบหนึง่ ประเภทบันเทิงคดี มีลกั ษณะเปน็ ร้อยแก้ว คล้ายนวนยิ าย แต่ส้ันกว่า โดยมีเหตุการณ์ในเร่ืองและตัวละครน้อย มักจบแบบพลิกความคาดหมายหรือจบแบบทิ้งให้คิด เป็นต้น การ ดาเนินเรอื่ งจะม่งุ เขา้ ส่ปู ระเดน็ หลกั อย่างรวดเร็ว ต้นกาเนดิ ของเร่ืองส้ันมาจากประเพณีการเล่านิทาน ซึ่งมักจะ ปูโครงเร่ืองอย่างคร่าวๆ แล้วเข้าสู่จุดสาคัญของเรื่องอย่างรวดเร็ว ลักษณะเด่นของเรอื่ งส้ันคือ มักมีเหตุการณ์ หลักเพียงเหตุการณ์เดียว โครงเรื่องเดียว ฉากเดียว จานวนตัวละครเพียงไม่ก่ีตัว และมีระยะเวลาต้ังแต่ต้นจน จบเรอื่ งไม่นานนกั ๗. สือ่ การเรยี นรู้ ๑. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทยชุด วิวธิ ภาษา ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒. เอกสารเร่ืองที่กาหนดให้อ่าน เรอ่ื ง มอม ของผู้แต่ง ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช

๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการวดั ๑. สงั เกตการอธบิ ายความร้เู ก่ยี วกับลักษณะและองคป์ ระกอบของเรื่องส้ัน (K) ๒. ประเมินผลการบอกลกั ษณะและองค์ประกอบของเร่อื ง ลกู ผูช้ ายตวั เกือบจริง (P) ๓. ประเมินการสังเกตพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ (A) เครอื่ งมอื วดั ๑. แบบสงั เกตการอธิบายความรูเ้ ก่ียวกบั ลกั ษณะและองค์ประกอบของเร่ืองส้นั (K) ๒. แบบประเมินผลการบอกลกั ษณะและองคป์ ระกอบของเร่อื ง ลูกผชู้ ายตัวเกอื บจรงิ (P) ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤตกิ รรมใฝเ่ รียนรู้ (A) เกณฑก์ ารประเมนิ ๑. นักเรียนมีความรู้ และสามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกับลักษณะและองค์ประกอบของเรื่องส้ัน (K) อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช้) ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ ๒. นักเรยี นมีทักษะกระบวนการในการบอกลักษณะและองค์ประกอบของเรอ่ื ง ลกู ผูช้ ายตัวเกอื บจริง (P) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ ๓. นกั เรียนมีพฤตกิ รรมใฝเ่ รียนรู้ (A) อยใู่ นระดับคุณภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช)้ ถือว่าผา่ นเกณฑ์ เกณฑร์ ะดับคุณภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ๔ ดมี าก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ๑ ควรปรบั ปรุง ๘. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ วิธกี ารวดั เครื่องมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมิน ด้านความร้คู วามเขา้ ใจ (K) สงั เกตการอธบิ ายความรู้ แบบสังเกตการอธิบาย นักเรยี นมคี วามรู้ และ นักเรยี นอธบิ ายความหมาย เกยี่ วกบั ลกั ษณะและ ความร้เู กยี่ วกบั ลักษณะและ สามารถอธบิ ายความรู้ ลกั ษณะ และองค์ประกอบของ องค์ประกอบของเรื่องสั้น องคป์ ระกอบของเรือ่ งส้ัน เกยี่ วกับลักษณะและ เรื่องสั้นได้ องคป์ ระกอบของเร่ืองส้นั ประเมนิ ผลการบอกลกั ษณะ แบบประเมนิ ผลการบอก อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ๒ ขึ้น ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) และองคป์ ระกอบของเร่อื ง ลักษณะและองค์ประกอบ ไป (พอใช้) ถือว่าผา่ นเกณฑ์ นกั เรียนประเมินคา่ ข้อคิด คติ ลกู ผูช้ ายตวั เกอื บจรงิ ของเร่ือง ลกู ผูช้ ายตวั เกือบ สอนใจ จากเรอ่ื งสน้ั ได้ จริง นักเรียนมีทกั ษะ ประเมินการสังเกต กระบวนการในการบอก ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ พฤตกิ รรมใฝ่เรยี นรู้ แบบประเมนิ การสงั เกต ลกั ษณะและองคป์ ระกอบ (A) พฤตกิ รรมใฝเ่ รยี นรู้ ของเร่อื ง ลกู ผ้ชู ายตวั เกือบ นกั เรยี นใฝ่เรยี นรู้ จริง อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช้) ถอื ว่าผ่าน เกณฑ์ นกั เรยี นมีพฤตกิ รรมใฝ่ เรยี นรู้ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช)้ ถอื วา่ ผ่าน เกณฑ์

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง ด้านความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสงั เกตการอธิบายความรู้เกย่ี วกับลกั ษณะและองคป์ ระกอบของเรื่องส้ัน (K) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๔๓๒๑ อธิบายความรเู้ กย่ี วกับ อธบิ ายความรู้เกยี่ วกบั อธบิ ายความรูเ้ กยี่ วกับ อธิบายความรเู้ กยี่ วกับ อธิบายความรู้เกยี่ วกบั ลกั ษณะและ ลักษณะและ ลักษณะและ ลกั ษณะและ ลักษณะและ องคป์ ระกอบของเร่ือง องคป์ ระกอบของเรอื่ ง องค์ประกอบของเรอื่ ง องค์ประกอบของเร่ือง องคป์ ระกอบของเร่ือง สั้น ไดถ้ ูกต้อง ละเอยี ด สนั้ ไดค้ อ่ นข้างถกู ตอ้ ง สั้น ได้ถูกตอ้ งบา้ ง สั้น ได้อยา่ งคร่าวๆ ส้ัน (K) ชดั เจน ดมี าก ดี บางส่วน ถกู ต้องเพยี งเล็กนอ้ ย ๒. แบบประเมนิ ผลการบอกลักษณะและองค์ประกอบของเรื่อง ลูกผูช้ ายตัวเกอื บจรงิ (P) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔๓๒๑ บอกลกั ษณะและ บอกลกั ษณะและ บอกลักษณะและ บอกลกั ษณะและ บอกลักษณะและ องค์ประกอบของเร่ือง องค์ประกอบของเรอ่ื ง องค์ประกอบของเรื่อง องคป์ ระกอบของเรอื่ ง องคป์ ระกอบของเร่ือง ลูกผูช้ ายตวั เกอื บจริง ลูกผูช้ ายตวั เกือบจริง ลูกผู้ชายตวั เกอื บจรงิ ลกู ผชู้ ายตวั เกือบจริง ลูกผู้ชายตัวเกือบจริง ได้ถูกตอ้ ง ละเอียด ได้ค่อนข้างถูกต้องดี ได้ถกู ต้องบา้ งบางสว่ น ได้อย่างครา่ วๆ ถูกต้อง (P) ชัดเจน ดีมาก เพียงเล็กน้อย ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤตกิ รรมใฝ่เรียนรู้ (A) รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๑ ๔๓๒ ตงั้ ใจเรียน และรว่ มทา ต้ังใจเรยี น และรว่ ม ตัง้ ใจเรยี น และรว่ มทา ตง้ั ใจเรียน และร่วมทา ใฝ่เรียนรู้ (A) กจิ กรรม รวมทง้ั มี ทากิจกรรม รวมท้ังมี กจิ กรรม รวมทงั้ มี กจิ กรรม รวมท้งั มี มารยาทในการอา่ น มารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน มารยาทในการอ่าน เปน็ ประจา บ่อยครั้ง บ้างบางครงั้ เพยี งเล็กนอ้ ย

เร่ือง มอม ผู้แต่ง ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เรื่องย่อ มอมเป็นสุนัขพันธ์ุทางที่เกิดจากความไม่ตั้งใจ ของเจ้าของ มันเติบโตขึ้นท่ามกลางความรัก ความเอา ใจใส่จากนายของมนั มันซ่ือสัตย์ ฉลาดและเชื่อฟังนาย ของมันเป็นอย่างยิ่ง มันถูกเล้ียงอย่างอ้วนท้วนสมบูรณ์ จนวันหนึ่งนายของมันถูกเกณ ฑ์ ไปเป็นทหารใน สงครามโลกครง้ั ที่ ๒ ทิ้งมนั ให้อยกู่ ับลูกกบั เมยี ของนาย และฝากให้มอมดูแลคนทั้ง ๒ ด้วย การจากไปของ นายของมันในคร้ังนี้ทาให้ทงั้ ๓ ชีวิตถึงจดุ เปล่ียนแปลง ครอบครัวท่ีเคยมีความสุขกลับอยู่แบบอดมื้อกินม้ือ มอมที่เคยอ้วนท้วนสมบูรณ์ก็กลับผอมโซอย่างเห็นได้ชัด ทั้ง ๓ ชีวติ เฝ้ารอคอยการกลบั มาของชายคนนท้ี ีจ่ ากไปเพ่ือช่วยชาติจากสงคราม ประทงั ชีวิตอยู่ดว้ ยการขาย สมบัติเก่าที่สะสมไว้ท่ีละชิ้นสองช้ิน เพื่อเอาเงินมาจุนเจือครอบครัว จนวันหน่ึงสงครามก็ได้คุกคามมาถึง ๓ ชีวิตนี้ มีเครื่องบินทิ้งระเบิดมาตรงกลางหลังคาบ้านที่เคยหลับนอนจนพังทลายเหลือแต่เถ้าถ่าน นายหญิง และลูกของนายจบชีวิตลงเพราะเหตุการณ์คร้ังน้ีเนื่องจากถูกแรงระเบิดฝังร่างท้ัง ๒ ซึ่งมอมไม่สามารถช่วย อะไรได้ หลังจากเหตุการณ์นี้มอมก็เฝ้ารอการกลับมาของนาย แต่ด้วยความหิวมันจึงต้องออกเร่ร่อนหา อาหารตามถังขยะซึ่งมอมไม่เคยเป็นมาก่อนแต่ก็จาต้องทาเพื่อเอาชีวิตให้รอด มอมเร่ร่อนไปเร่ือย หลับตาม ข้างถนนบ้างข้างต้นไม้บ้าง จนวันหน่ึงเมือ่ มันตื่นข้ึนมามันก็พบว่าตัวมันหลับอยู่หน้าตึกที่ใหญ่โตหรูหรา และ เด็กผู้หญิงคนหน่ึงเก็บมันไปเล้ียง ให้ความรักให้อาหารจนมันอ้วนท้วนสมบูรณ์เช่นเดิม มอมมีความสุขทาง กายแต่ก็ยังคิดถึงนายเก่า อยากกลับไปอยู่กับนายเก่าเหมือนเดิม จนวันหน่ึงครอบครัวของเด็กผู้หญิงคนนี้ก็ ทง้ิ ให้มันเฝ้าบา้ น และในคืนน้ันเองก็มขี โมยมางัดบ้าน ซึ่งมอมก็ได้ยินเสียงงัดแงะและออกไปดูเพอ่ื ให้รู้ว่าเป็น ขโมยหรือไม่และมันก็พบว่าแท้จริงแล้วขโมยคนนั้นก็คือนายเก่าของมนั นัน่ เอง มันดีใจมากท่ีได้เจอนายเก่าของ มนั อกี ครัง้ และมันก็เลอื กท่ีจะไปอยู่กับนายเก่าโดยจากบา้ นหลงั นัน้ ไปและไม่กลัวต่อความลาบากท่ีจะเกิดข้ึนใน วันข้างหนา้ อีกเลย

ขอ้ คิดทไี่ ด้จากเรอ่ื งมอม ๑) ความรักความซื่อสัตย์ของสุนขั ท่ีมันมีให้กับนายของมันโดยไม่คิดแบ่งแยกว่านายมันจะรวยจะจน จะ ดีจะช่ัวอย่างไร ขอเพียงแต่ให้ความรักแก่มันเท่านั้นมันก็พร้อมท่ีจะซ่ือสัตย์ต่อผู้เป็นนายของมัน ไม่มีวันที่จะ ทรยศ เหมอื นเช่นคนบางคนท่เี รียกตนวา่ มนุษยใ์ นยุคปจั จบุ นั ๒) สงครามไม่เคยสรา้ งสรรค์ส่ิงท่ีดแี ก่ใคร มันเป็นวิธีการทใ่ี ช้ทาลายลา้ งหรือยุติขอ้ ขัดแย้งซ่ึงต้องแลกมา ด้วยเลือดและนา้ ตาเท่าน้ัน ๓) การใช้ชีวิตคู่ เม่ืออยู่กันด้วยความรกั ความเข้าใจท่ีมีให้แก่กันเสมอมา หากวา่ มีเหตุอันใดท่ีทาให้ต้อง จากกัน ชีวิตที่เหลืออยู่จากนี้แม้ต้องอยู่เพื่อรอวันกลับมาก็จะรอ แม้รู้ว่ารอโดยไม่มีจุดมุ่งหมายก็จะรอ โดย เก็บเอาคืนวันที่ดี ๆ ที่ผ่านมาเปล่ียนเป็นกาลังใจให้ต่อสู้และอดทน และคล้ายจะสัญญาว่าเค้าคนน้ันคือคนดี คนเดยี วตลอดไป ซง่ึ ในยคุ ปัจจบุ นั อาจหาได้ยากแตใ่ ช่ว่าจะหาไม่ได้เลย ๔) ความรักท่ีแม่มีให้แก่ลูกไม่ว่าจะยามสุข ทุกข์ เศร้าใจ หรือสุขสันต์อย่างไรก็ยังคงมีให้เสมอมา ยอ มอดเพอ่ื ท้องลกู ไดอ้ ม่ิ ยอมฝนื ยิ้มเพอื่ แลกกับความสบายใจของลูก ๕) สุนัขเป็นสัตว์เล้ียงที่ต้องการความรักความเอาใจใส่จากนายของมัน เช่นเดียวกับการเลี้ยงลูกก็ จาเปน็ ต้องให้ความรักความเอาใจใส่ของพ่อ แม่ตลอดจนการอบรมส่งั สอนไม่ต่างจากการเลีย้ งสนุ ัขแต่อยา่ งใด ๖) การหาความรูใ้ ส่ตัวไม่ว่าหญิงหรอื ชายลว้ นแล้วแต่มคี วามสาคัญกับตนเอง ไว้ช่วยเหลือตนเองในยาม ทุกขย์ ากได้ อย่างเช่นแม่บา้ นที่สามีเป็นคนหาเลี้ยงหากวันใดสามีเกิดจากไป ชีวิตที่เหลอื จะได้ใชว้ ิชาความรู้ท่ี ตนมเี ล้ยี งชีพได้ ๗) ความเมตตากรุณาของมนุษย์ไม่ว่าจะมีต่อมนุษย์ด้วยกันหรือมีให้แก่สรรพสัตว์ทั้งหลายล้วนแล้วแต่มี คุณค่าย่ิง และยิ่งไปกว่าน้ันหากหยิบย่ืนความเมตตาให้ยามคนหรือสัตว์เหล่าน้ันต้องการที่พึ่งพาหรือยามไร้ แล้วซึ่งความหวัง ย่ิงเป็นส่ิงท่ีประเสริฐยิ่งนักเพราะนั่นคือสิ่งที่ใช้ต่อชีวิตให้กับชีวิตท่ีกาลังจะล้ม ให้ลุกข้ึนยืน และเดนิ ได้อีกครงั้ ๘) ในยามที่คนเราหมดส้ินทุกส่ิงทุกอย่าง หาจุดหมายปลายทางของตนเองไม่เจอ คิดแต่เพียงว่าเอา ชีวิตวนั นี้ให้รอดก็พอ ถึงต้องขโมยเขากินก็ยอม แต่ลึก ๆ ในจิตใต้สานึกอาจคัดค้านอยู่ก็เป็นได้ แสดงว่าเขา จาต้องเลวแต่ใช่จะเลวโดยสันดานไม่ หากเขาคิดกลับใจเราก็ควรใหอ้ ภัยเท่าที่คิดว่าเราให้ได้ นั่นคือโอกาสใน การเพ่ิมคนดีแกส่ ังคมน่ันเอง ๙) เม่ือมอมเจอนายเก่าของมันและต้องการจะไปอยู่กับนายเก่า แม้ว่าจะลาบากกายเพียงใดขอแค่มี เพียงความสุขใจก็พอ หากคนเราทาอะไรเพ่ือความสขุ ทางใจ การแก่งแย่งชิงดีเอารัดเอาเปรียบความเห็นแก่ ตัวของสัตว์สังคมคงลดนอ้ ยลงกวา่ ทเ่ี ปน็ ๑๐) ไม่วา่ คนหรือสตั ว์อาจแตกตา่ งกันแคเ่ พียงประเสริฐหรือเดรัจฉาน เมื่อส่งิ ที่เรียกมันวา่ เดรจั ฉานมนั ยัง คิดได้ ทาได้ถึงเพียงน้ีแล้วส่ิงที่แทนตนว่าประเสริฐล่ะ แท้จริงแล้ว…คิดได้อย่างเดรัจฉานทุกคนหรือ ? เช่นน้ันจงทาตนให้ซื่อสัตย์ ซื่อตรง มีความรักให้กับเพื่อนมนุษย์ด้วยกันอย่างจริงใจตั้งแต่ตอนนี้ เพื่อจะได้ ประเสริฐอย่างคาทพ่ี ดู เสียที ฉากของเรื่อง คือ กรุงเทพมหานคร แถบถนนเพชรบุรี เร่ือยมาจนถงึ ถนนราชวิถี ช่วงเวลาของเหตุการณ์ใน เรื่องเป็นช่วงเวลาท่ีประเทศไทยเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานครถูกโจมตีทางอากาศอย่างรุนแรง บ้านเรือนเสียหายและผู้คนล้มตายเป็นจานวนมาก ตัวละครในอีกครอบครัวหนึ่งมีฐานะปานกลางครอบครัว หนึ่งมีชีวิตเรียบง่ายแบบคนไทยท่ัวๆไป ตัวละครในอีกครอบครัวหนึ่งมีฐานะดี มอมตัวเอกของเรื่องเป็นสุนัข ของครอบครัวหน่ึงในตอนต้นของชีวิต แต่ภัยจากสงครามทาให้มอมตกมาอยู่กับอีกครอบครัวหนึ่งและในท่ีสุด เหตกุ ารณก์ ผ็ นั กลบั ให้มาพบนาย เจ้าของเดมิ ของตน

แนวคิดสาคญั ๑. ความรักและความผูกพันระหว่างมนุษย์และสัตว์เป็นสิ่งที่เกิดข้ึนได้ เช่น ความผูกพันระหว่างมอมกับ นายของมันเม่ือจะต้องพลัดพรากจากกันก็โศกเศร้าและเสียใจ ดังนี้\"มอม ไอ้มอม\" เสียงนายกระซิบที่หู \"ข้า จะต้องจากไปนาน จะได้กลับมาเมื่อไรก็ยังไม่รู้ เอ็งอยู่ทางหลังช่วยเฝ้าบ้าน ช่วยดูนายผู้หญิง ช่วยดูหนู เอ็งรัก ข้ามากข้ารู้ เอ็งต้องทาตามท่ีข้าส่ังแล้วคอยข้าอยู่ที่นี่ ไม่ตายข้าจะกลับ\" มอมเอาหน้าไปแนบที่หน้านาย ตาม ใบหน้าของนายน้ันอาบไปด้วยน้าตาเป็นคร้ังแรกที่มันได้เห็น มอมส่งนายเพียงประตูบ้านแล้วมันก็เดินกลับ เรือน หางตกหัวตก มันเดินช้าๆ ไปท่ีหัวกระไดที่มันเคยนอน ล้มตัวลงเหยียดยาวตาจับอยู่ที่ประตูบ้าน มอม ครางออกมาเบาๆ เหมือนกับจะอุทานความในใจของมันให้คนรู้ว่า ชีวิตของมอมส้ินสุดลงต้ังแต่วาระท่ีนาย ออกไป และจะเป็นเช่นนนั้ จนกว่านายจะกลับมาอีก แสดงให้เห็นความรักและความผูกพนั ระหว่างนายกับมอม \"ชีวิตของมอมน้ันส้ินสุดลงนบั ตั้งแต่วาระทนี่ ายออกจากบ้านไป จะเป็นเช่นนั้นจนกว่านายจะกลับมาอกี \" แสดง ให้เหน็ ความผูกพนั กนั อยา่ งลึกซึ้งคือเหมือนชีวิตจะสน้ิ สดุ ลงหลงั จากการจากกันครัง้ นนั้ ๒. สัตว์ย่อมไม่สามารถละท้ิงสัญชาตญาณได้ เช่น ตอนที่มอมหนีหายนายไปเพราะมีความรักต่อนางนวล สุนัขด้วยกัน ดังนี้ มอมมันเคยท้ิงนายไปแต่เพียงคร้ังเดียวในชีวิต เมื่อมอมแตกเน้ือหนุ่มเต็มที่ อากาศกาลัง หนาว น้าขึ้นเจ่ิงคลอง บางวันก็ท่วมพ้นตลิ่งข้ึนมา มอมก็ไปหลงรักนางนวลซึ่งกาลังแตกเน้ือสาวอยู่บ้านถัดไป อีก ๓ – ๔ หลังคาเรือน มอมหลงใหลจนเสียท่า ข้าวปลาไม่เป็นอันกินกลางคืนดึกๆ เดือนสว่าง มอมนั่งมอง พระจันทร์แล้วก็หอนด้วยความกังวลใจ ในตอนแรกมันเพียงแต่หลบไปหานางนวลช่ังครู่คราวแล้วก็กลับบ้าน คร้ันต่อมาอาการรักหนักข้ึนมันก็ไม่กลับเอาเลย เฝ้าวนเวียนอยู่แถวนั้น คอยไล่กัดตัวผู้อื่นๆ ท่ีมาตอมนางนวล เป็นฝูง คนในบ้านเขาหนวกหูหนักเข้า เขาก็ทุบตีเอาบ้าง เอาอิฐขว้างเอาบ้าง มอมก็ต้องทนหรือการไม่ยอมให้ สนุ ขั ตัวอ่นื มาถา่ ยรดทที่ ่ไี ดป้ ัสสาวะเอาไวก้ ่อนหน้าน้ีแลว้ ดงั น้ี ตามธรรมเนยี มสนุ ัขนนั้ ถา้ จะออกจากบ้านไปไหนต้องถ่ายปัสสาวะรายทางไว้ สาหรับดมกลนิ่ ของตนเอง เพ่ือจะได้กลับบ้านถูก ที่ที่จะถ่ายรดน้ันก็ต้องเป็นที่ที่สังเกตได้ง่าย สูงเพียงระดับจมูก ไม่ต้องก้มลงดมให้ เสยี เวลา เป็นต้นว่า เสาไฟฟ้าหรือต้นไม้ข้างทาง ออกจากบ้านเดินไปก็ต้องยกขาถ่ายรดเอาไว้เป็นสาคัญ แต่ถ้ามีสุนัขตัว อื่นมาถ่ายทับเสีย กลิ่นนั้นก็จะเพ้ียนไป ทาให้กลับบ้านไม่ถูก การถ่ายปัสสาวะรดที่ตัวอ่ืนถ่ายไว้แล้ว ถือเป็น การหยามเกียรติสุนัขด้วยกัน อภัยให้ไม่ได้ และถ้าทาต่อหน้าเป็นการท้าทายกันโดยตรง แสดงว่าไม่เคารพกัน ต้องต่อสู้กันจนแพ้ไปข้างหนึ่ง มอมก็เคยถูกท้าทายด้วยวิธีน้ีมาหลายครั้ง แต่มันก็สามารถเอาชนะได้ทุกตัว บางคร้ังมันกลับบ้านเป็นแผล นายผู้หญิงต้องคอยล้างแผลใส่ยาให้และขังมันไว้ 2-3 วัน แล้วมันก็แอบหนีไป เทีย่ วอกี ๓. สงครามนามาซ่ึงการพลัดพราก ความเสียหายในชีวิตและทรัพย์สิน เช่น เมื่อนายออกจากบ้านไป นาย หญิงก็โศกเศร้าเปล่ยี นไปเป็นคนละคน ดงั น้ี นายหายจากบ้านไปคราวนี้ไม่กลับมาอีกเลย นานๆ จะมีจดหมาย มาถึงนายหญิงซักครั้งหน่ึง มอมเห็นนายหญิงอ่านแล้วอ่านเล่าและร้องไห้ทุกคร้ังไป พอได้สักปีกว่าๆ มอมเห็น ความร่วงโรยมากข้นึ นายหญิงซูบผอมลง แตง่ กายก็ปอนกว่า แตก่ อ่ น หนูน้นั โตจนวิ่งได้แลว้ แต่ผา่ ยผอมไมอ่ ้วน นา่ รกั เหมอื นแต่ก่อน บ้านทเ่ี รียบรอ้ ยสะอาดสะอ้านน้ัน บัดนมี้ ีแต่หยากไยร่ ะวงั หญงิ มไิ ด้เอาใจใสเ่ ช็ดถูอย่างเคย นายผู้หญิงและหนูได้เสียชีวิตไปเพราะการทิ้งระเบิดและบ้านที่มอมเคยอยู่ถูกไฟไหม้หมดดังนี้ พอรุ่งสาง มอม ไดย้ ินเสยี งคนอึกทกึ นอกบา้ น มรี ถบรรทกุ มาจอดหนา้ บา้ นตอนนั้นบา้ นถูกไฟไหม้ จนมอดลงแล้ว คนกลุ่มหนึง่ เดนิ ถือพลว่ั ถือเสียมวิ่งเขา้ มาในบ้าน เมอื่ เห็นมอมยืนเหา่ อยู่ที่หลมุ จงึ เดินตรงเข้ามา พอเห็นเท้านายหญิงโผล่จากกองดิน คนกลุ่มนั้นรีบโกยดินออกทันที ในท่ีสุดมอมได้เห็นนายหญิงนอนเหยียด ยาว เหมือนดังหลับอยู่ใต้กองดินในหลุม หนูนอนนิ่งในอ้อมกอดแม่ มอมจึงโจนเข้าไปในหลุมคร่อมนายหญิงไว้

ใครเข้ามาใกล้ก็ไม่ยอม ชายคนหน่ึงเดินเข้ามาใกล้ตัวนายหญิง แต่มอมก็งับเข้าที่แขนเสียงรอ้ งไห้คนช่วยล่ันไป ในทีส่ ุดมคี นกลุ่มหน่งึ นารา่ งของนายหญงิ และหนขู นึ้ รถบรรทุกไป มอมจงึ ว่ิงตามโขยกเขยกเพราะขามนั เจ็บ แต่ แล้วก็หมดแรงตะกายกลับบ้าน ๔. รัฐบาลไมม่ ีสวสั ดิการทด่ี ีพอสาหรบั ทหารผ่านศกึ เม่ือรบกลบั มาไม่มีอาชีพรองรับ บางคร้ังอาจจะต้องทา ในส่งิ ที่ไม่อยากทา เช่น ลักขโมย แต่ทาไปเพราะความจาเป็น ดังน้ี นายทรุดตวั ลงนั่งลูบหัวมอมแล้วกระซิบที่หู มนั ว่า \"มอม ขา้ ไม่นึกเลยวา่ ข้าจะไดพ้ บเอ็ง ข้านึกวา่ ข้าไม่เหลืออะไร แล้วในโลกน้ี\" นายหยดุ พูดไปครหู่ น่ึง \"เขา ส่งข้าไปไกลข้าไม่รขู่ ่าวจากใครเลย พอกลับมาบ้านจึงรู้วา่ ลกู เมียถูกระเบดิ ตาย งานการทข่ี ้าเคยทาคนอื่นเขาก็ เอาตาแหน่งไปหมดแล้ว แต่เอ็งอย่านึกว่าข้าลักขโมย ครั้งนี้เป็นคร้ังแรกและท่ีข้าทาไปเพราะ ข้าไม่มีหนทาง จริงๆ แต่โชคดีที่ขา้ พบเอ็ง เอง็ ทาใหข้ า้ อาย ข้าทาไม่ลงจริงๆ\" การใชภ้ าษา การใช้ภาษาในเรื่อมอมน้ันเป็นการใช้ภาษาท่ีสามารถบรรยายให้เห็นภาพได้อย่างชัดเจน และสามารถทา ใหผ้ ู้อ่านเกดิ อารมณ์คล้อยตามไปกับเนือ้ เรื่องในตอนนั้นๆ เชน่ การเคลื่อนไหวท่ีแสดงความทุกข์ทนทั้งทางกาย และทางใจในตวั ละครเช่นมอม มนั เป็นภาพทีแ่ สดงให้เห็นถงึ ความเดือดรอ้ น หายนะของผลพวงแห่งสงคราม

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๒ พฒั นาพดู อา่ น เขียน (ลูกผชู้ ายตวั เกือบจริง) เร่อื ง คาซอ้ น จานวน ๒ ชว่ั โมง ชื่อครูผสู้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ สอนวนั ท่.ี .................................................... ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ ๒. สาระสาคญั คาซ้อน ๔ จังหวะ คือคาซ้อนท่ีมีลักษณะคาซ้ากัน ๒ คา เช่น รุ่นพ่ีรุ่นน้อง พิลึกพิล่ัน และคาที่มีเสียง สมั ผัสระหว่างคาที่เป็นองค์ประกอบในจังหวะที่ ๓ กับ จังหวะท่ี ๔ เชน่ กรวดหินดินทราย เสือสิงห์กระทิงแรด เป็นตน้ คนไทยใชค้ าซ้อน ๔ จงั หวะมากในการสนทนาและใช้ในงานเขยี นท่ีไมเ่ ป็นทางการ ๓. ตวั ชวี้ ดั สรา้ งคาในภาษาไทย ท ๔.๑ ม. ๒ / ๑ ๔. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรยี นอธิบายความหมายและลกั ษณะของคาซ้อน ๔ จงั หวะได้ ๒. นกั เรียนยกตวั อยา่ งคาซ้อน ๔ จงั หวะได้ ๓. นักเรยี นรกั ความเป็นไทย ๕. สาระการเรยี นรู้ คาซ้อน ๔ จงั หวะ ๖. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั นาเข้าสูบ่ ทเรียน (ช่ัวโมงท่ี ๑ – ๒) ๑. นักเรียนและครูร่วมกันทากิจกรรม จับคู่คา โดยครูจะเขียนคาจานวนหนึ่งไว้บนกระดาน และให้ นักเรยี นนาบัตรคาทคี่ รแู จกให้ มาติดให้มคี วามสอดคลอ้ งกับคาทค่ี รูเขียนบนกระดาน เชน่ คาบนกระดาน บตั รคา กรวดหิน ดินทราย = กรวดหนิ ดินทราย ยงิ นก ตกปลา = ยิงนกตกปลา ทุกคืน ทุกวัน = ทุกคืนทกุ วัน ๒. เม่ือทากจิ กรรมเรยี บรอ้ ยแลว้ ครูจงึ ได้อธิบายวา่ คาเหลา่ น้คี อื คาซ้อน ๔ จังหวะ

ขั้นสอน (ช่วั โมงที่ ๑) ๓. จากน้ันนักเรียนและครูร่วมกันศึกษาความรู้เกี่ยวกับ คาซ้อน ๔ จังหวะ ว่ามีลักษณะอย่างไรบ้าง และให้นกั เรยี นแต่ละคนช่วยกันยกตัวอย่างคาซอ้ น ๔ จงั หวะ คนละ ๑ ตวั อยา่ ง ขัน้ สอน (ช่ัวโมงท่ี ๒) ๔. จากน้นั ใหน้ ักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี นเร่อื ง ลูกผ้ชู ายตวั เกือบจรงิ จานวน ๑๐ ข้อ ข้ันสรปุ ๔. เม่ือนักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนเสร็จเรียบร้อยแล้วให้นาเปลี่ยนกันกับเพื่อนนักเรียนตรวจ โดยครูเป็นผู้เฉลยคาตอบ และอธิบายทีละข้อว่าเพราะเหตุใดจึงตอบเช่นน้ัน เมื่อตรวจเรียบร้อยแล้ว ให้ นักเรียนบอกคะแนนผลท่ีได้ ครูบันทึกผลคะแนนไว้ ๗. สือ่ การเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทยชุด ววิ ธิ ภาษา ม. ๒ ๒. บตั รคา ๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ วธิ ีการวัด ๑. สังเกตการอธิบายความรู้เกี่ยวกับลักษณะของคาซ้อน ๔ จังหวะ และตรวจแบบทดสอบหลังเรียน เรอื่ งลูกผ้ชู ายตัวเกือบจรงิ (K) ๒. ประเมินผลการยกตัวอย่างคาซอ้ น ๔ จงั หวะ (P) ๓. ประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรมรกั ความเป็นไทย (A) เคร่อื งมอื วดั ๑. แบบสังเกตการอธบิ ายความร้เู กย่ี วกบั ลักษณะของคาซ้อน ๔ จงั หวะ และแบบทดสอบหลงั เรยี น เรอ่ื งลกู ผู้ชายตวั เกือบจริง(K) ๒. แบบประเมินผลการยกตัวอยา่ งคาซ้อน ๔ จงั หวะ (P) ๓. แบบประเมนิ การสงั เกตพฤตกิ รรมรักความเป็นไทย (A) เกณฑก์ ารประเมนิ ๑. นักเรียนมีความรู้ และสามารถอธิบายความรู้เก่ียวกับลักษณะของคาซ้อน ๔ จังหวะ และทา แบบทดสอบหลงั เรียนเรอื่ งลูกผ้ชู ายตัวเกือบจริง (K) อยู่ในระดบั คุณภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช)้ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการยกตัวอย่างคาซ้อน ๔ จังหวะ (P) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ข้ึน ไป (พอใช้) ถือว่าผ่านเกณฑ์ ๓. นกั เรยี นมพี ฤตกิ รรมรักความเปน็ ไทย (A) อยูใ่ นระดบั คุณภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถือว่าผา่ นเกณฑ์ เกณฑ์ระดบั คุณภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ๔ ดมี าก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ๑ ควรปรบั ปรุง

๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ จดุ ประสงค์ วิธีการวัด เครอื่ งมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน ดา้ นความรู้ความเขา้ ใจ (K) สงั เกตการอธบิ ายความรู้ แบบสงั เกตการอธิบาย นกั เรยี นมีความรู้ และ นกั เรยี นอธิบายความหมายและ เก่ยี วกบั ลกั ษณะของคาซอ้ น ความรเู้ กย่ี วกบั ลกั ษณะของ สามารถอธบิ ายความรู้ ลักษณะของคาซอ้ น ๔ จังหวะได้ ๔ จังหวะ และตรวจ คาซ้อน ๔ จังหวะ และ เกย่ี วกบั ลกั ษณะของคาซอ้ น แบบทดสอบหลงั เรียนเร่อื ง แบบทดสอบหลังเรยี นเรือ่ ง ๔ จงั หวะ และทา ลกู ผชู้ ายตัวเกือบจรงิ ลกู ผู้ชายตวั เกอื บจริง แบบทดสอบหลงั เรียนเรอื่ ง ลกู ผู้ชายตัวเกอื บจรงิ อยูใ่ น ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ประเมินผลการยกตวั อย่าง แบบประเมนิ ผลการ ระดบั คณุ ภาพ ๒ ข้ึนไป นกั เรยี นยกตัวอย่างคาซ้อน ๔ คาซอ้ น ๔ จงั หวะ ยกตวั อย่างคาซ้อน ๔ (พอใช้) ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ จงั หวะได้ จังหวะ นกั เรยี นมีทกั ษะ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ประเมินการสงั เกต แบบประเมนิ การสงั เกต กระบวนการในการ (A) พฤติกรรมรกั ความเป็นไทย พฤติกรรมรกั ความเป็นไทย ยกตัวอย่างคาซอ้ น ๔ นักเรยี นรกั ความเป็นไทย (A) จงั หวะ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช)้ ถอื ว่าผ่าน เกณฑ์ นกั เรียนมีพฤติกรรมรัก ความเปน็ ไทย อยใู่ นระดับ คุณภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช้) ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ การประเมนิ ผลตามสภาพจริง ด้านความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสังเกตการอธิบายความรู้เกี่ยวกบั ลักษณะของคาซอ้ น ๔ จังหวะ และแบบทดสอบหลงั เรยี นเร่อื ง ลูกผชู้ ายตัวเกือบจริง(K) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔๓๒๑ อธบิ ายความรเู้ กย่ี วกบั อธิบายความรเู้ กยี่ วกบั อธิบายความรู้เกยี่ วกบั อธิบายความรูเ้ กยี่ วกบั อธบิ ายความร้เู กยี่ วกบั ลักษณะของคาซอ้ น ๔ ลกั ษณะของคาซอ้ น ๔ ลักษณะของคาซ้อน ๔ ลกั ษณะของคาซ้อน ๔ ลักษณะของคาซ้อน ๔ จงั หวะ ได้ถกู ต้อง จงั หวะ ไดค้ ่อนข้าง จงั หวะ ได้ถูกต้องบ้าง จังหวะ ไดอ้ ยา่ งครา่ วๆ จังหวะ (K) ละเอยี ด ชดั เจน ดมี าก ถกู ต้องดี บางสว่ น ถกู ต้องเพียงเลก็ น้อย แบบทดสอบหลงั เรยี น ทาแบบทดสอบหลงั ทาแบบทดสอบหลงั ทาแบบทดสอบหลงั ทาแบบทดสอบหลงั เร่ืองลูกผู้ชายตัวเกือบ เรยี นได้ถกู ตอ้ ง ๙ – เรียนได้ถูกตอ้ ง ๗ – ๘ เรยี นไดถ้ กู ต้อง ๕ – ๖ เรียนได้ถกู ต้อง ๐ – ๔ จริง(K) ๑๐ ข้อ ขอ้ ข้อ ข้อ ๒. แบบประเมนิ ผลการยกตัวอยา่ งคาซอ้ น ๔ จังหวะ (P) รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๑ ๔๓๒

ยกตัวอย่างคาซอ้ น ๔ ยกตัวอย่างคาซอ้ น ๔ ยกตวั อย่างคาซอ้ น ๔ ยกตวั อย่างคาซอ้ น ๔ ยกตัวอยา่ งคาซ้อน ๔ จงั หวะ (P) จังหวะไดถ้ กู ต้อง จงั หวะได้ถกู ต้อง จังหวะไดถ้ กู ตอ้ งบ้าง จังหวะ ไดไ้ ม่คอ่ ย หลากหลายคา หลายคา บางคา ถูกตอ้ ง และ ยกตวั อย่างได้นอ้ ยมาก ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมรกั ความเปน็ ไทย (A) รายการ ระดบั คุณภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๑ ๔๓๒ รกั ความเป็นไทย (A) เหน็ คณุ คา่ ของ เห็นคณุ คา่ ของ เห็นคุณคา่ ของ ขาดการเหน็ คุณคา่ ภาษาไทย และรจู้ กั ภาษาไทย และรจู้ ัก ภาษาไทย และรจู้ กั ของภาษาไทย และไม่ รกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ รกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ รักษาภาษาไทยไว้เปน็ ร้จู ักรักษาภาษาไทยไว้ สมบัติของชาติ ดว้ ย สมบตั ิของชาติ ด้วย สมบัตขิ องชาติ ด้วย เป็นสมบตั ขิ องชาติ ใช้ การใชภ้ าษาไทยอยา่ ง การใชภ้ าษาไทยอย่าง การใช้ภาษาไทยอยา่ ง ภาษาไทยอยา่ งไม่ ถูกตอ้ งเป็นประจา ถูกตอ้ งบอ่ ยคร้ัง ถกู ต้องบา้ งบางครัง้ ถูกต้องเสมอ

แบบทดสอบหลงั เรยี น ลกู ผู้ชาย…ตวั เกือบจริง ช่ือ – สกลุ ………………………………..เลขท…ี่ …..ช้ัน……… คาชีแ้ จง จงเลอื กขอ้ ทถ่ี กู ทีส่ ุดเพยี งข้อเดยี ว ๑. \"ลกู ผชู้ าย......ตวั เกอื บจริง\" จัดเป็นงานเขยี นตามขอ้ ใด ก. สารคดีท่ีเรยี กว่าเรอื่ งส้นั ข. บนั เทิงคดที ่เี รยี กว่าบทละคร ค. บันเทิงคดที ี่เรยี กว่านวนิยาย ง. บันเทงิ คดีท่ีเรยี กว่าเรอ่ื งส้นั ๒. คาว่า \"ลกู ผู้ชาย\" ในเรอื่ งหมายถงึ คนอย่างไร ก. ลกู ผชู้ ายทีม่ ีความรบั ผิดชอบ ข. ผชู้ ายท่ีมคี วามซอื่ สตั ย์ ยุติธรรม ค. ผ้ชู ายทมี่ คี วามเข้มแข็ง เด็ดเด่ียว กลา้ หาญ ง. ถูกทุกข้อ ๓. ข้อใดไมใ่ ชล่ กั ษณะหรอื องคป์ ระกอบทีส่ าคญั ของเรือ่ งสน้ั ก. มีโครงเรอ่ื งงา่ ย ๆ ไมซ่ บั ซอ้ น ข. มแี นวคดิ ท่จี ะสร้างความประทับใจหลายแนวคดิ ค. มตี วั ละครที่มบี ทบาทสาคญั ไม่มากนัก ง. มีการดาเนินเรือ่ งรวดเรว็ กระชับ ๔. เรื่อง \"ลกู ผ้ชู าย......ตัวเกอื บจรงิ \" มโี ครงเร่อื งตามขอ้ ใด ก. เสนอพฤติกรรมของนกั เรยี นเกเร ๓ คน ข. เสนอพฤติกรรมของนักเรียนชายกับนกั เรยี นหญิง ค. เสนอพฤตกิ รรมของเด็กผ้หู ญงิ ที่อยากจะเปน็ ผชู้ าย ง. เสนอพฤตกิ รรมของวัยร่นุ ท่ีสนใจใครเ่ รยี นรู้การเป็นลกู ผู้ชาย ๕. คาว่า \"ลูกผชู้ าย\" ใครคือตวั ละครที่สาคญั ที่ดาเนนิ เรือ่ ง ก. ประภานนท์ ข. อาจารยเ์ ทวี ค. อาจารยพ์ ิเชษฐ์ ง. ดจุ ดาว ๖. เหตกุ ารณท์ ่ีเปน็ ปมปญั หาในเรือ่ ง \"ลูกผชู้ าย......ตวั เกือบจริง\" คือข้อใด ก. การทป่ี ระภานนทใ์ ช้มอื ไสหวั ดุจดาว ข. การท่ีเจ้าหนุ่มผลกั ประภานนทเ์ ซไปชนดจุ ดาว ค. การทปี่ ระภานนทถ์ กู อาจารยฝ์ า่ ยปกครองเขา้ ใจผิดคดิ วา่ ไปกลัน่ แกล้งดจุ ดาว ง. การทป่ี ระภานนทถ์ ูกลงโทษโดยตอ้ งเก็บขยะและไปช่วยอาจารยพ์ เิ ชษฐท์ างานในเรือนตน้ ไม้ ๗. จดุ ม่งุ หมายในการนาเสนอเร่ือง \"ลูกผ้ชู าย......ตัวเกือบจรงิ \" คือข้อใด ก. วยั รุน่ มักชอบแสดงอะไรใหเ้ ปน็ จดุ เด่น ข. วยั ร่นุ มักชอบพดู จาหยาบคายไมม่ ีคณุ สมบัตผิ ู้ดี ค. วยั ร่นุ มกั ชอบแสดงกิริยามารยาทไม่สภุ าพ ง. วัยร่นุ ต้องคอ่ ย ๆ เรยี นรู้และปรบั ตวั ให้เหมาะสมกบั วยั โดยไมจ่ าเป็นต้องรบี ร้อน

๘. เร่ือง \"ลูกผชู้ าย......ตัวเกอื บจรงิ \" ไดส้ อดแทรกคณุ ธรรมจรยิ ธรรมไว้ ยกเว้น ข้อใด ก. ความรคู้ วามเข้าใจทางจิตวทิ ยาพัฒนาการวัยรนุ่ ข. ความเข้าใจความหมายของการเปน็ \"ลกู ผหู้ ญิง\" ค. แนวคิดและแนวทางปฏิบัตสิ าหรบั ผู้ใหญท่ ่ีพึงกระทาตอ่ บุตรหลานวยั รุ่น ง. ความรทู้ ่เี ป็นกลวิธใี นการกล่อมเกลาวยั รุน่ ใหย้ อมรบั และปฏิบตั ติ ามทผี่ ้ใู หญ่แนะนา ๙. เหตุใดขณะที่เก็บขยะอยู่ หัวใจของประภานนท์จึงหลน่ วูบไปอยู่ท่ตี าต่มุ ก. เพราะอาจารยเ์ ทวเี ดินผ่านมา ข. เพราะอาจารยพ์ เิ ชษฐ์เรียกใหไ้ ปพบ ค. เพราะนอ้ งกอ้ ยซึง่ เขาแอบชอบอยู่เดนิ ผา่ นมา ง. การเห็นแม่ของเขามาพบอาจารยเ์ ทวี ๑๐. เรือ่ ง \"ลูกผู้ชาย......ตัวเกอื บจริง\" ได้สอดแทรกคณุ ธรรมจรยิ ธรรมไว้ ยกเวน้ ขอ้ ใด ก. ประหยัดอดออม ข. ความเคารพกฎระเบยี บของหรือสังคม ค. ความรับผิดชอบตอ่ การกระทาของตน ง. ความเป็นกัลยาณมิตรทีค่ รูพงึ มีตอ่ ศษิ ย์

เฉลย แบบทดสอบหลงั เรียน ลกู ผชู้ าย…ตัวเกอื บจริง ช่ือ – สกลุ ………………………………..เลขท…่ี …..ชน้ั ……… คาช้ีแจง จงเลอื กขอ้ ท่ถี กู ทสี่ ุดเพยี งข้อเดยี ว ๑. \"ลกู ผชู้ าย......ตัวเกือบจริง\" จัดเปน็ งานเขียนตามข้อใด ก. สารคดีที่เรียกว่าเรอื่ งสน้ั ข. บันเทิงคดที เ่ี รยี กว่าบทละคร ค. บนั เทิงคดีทีเ่ รยี กว่านวนยิ าย ง. บันเทงิ คดีทีเ่ รยี กว่าเรอ่ื งสน้ั ๒. คาว่า \"ลูกผู้ชาย\" ในเรื่องหมายถงึ คนอย่างไร ก. ลกู ผู้ชายท่ีมคี วามรบั ผดิ ชอบ ข. ผชู้ ายทีม่ ีความซอื่ สตั ย์ ยตุ ธิ รรม ค. ผชู้ ายท่มี คี วามเขม้ แขง็ เดด็ เด่ยี ว กล้าหาญ ง. ถกู ทกุ ข้อ ๓. ขอ้ ใดไม่ใชล่ ักษณะหรือองคป์ ระกอบที่สาคัญของเรอื่ งสน้ั ก. มีโครงเร่ืองงา่ ย ๆ ไมซ่ ับซอ้ น ข. มีแนวคดิ ทจี่ ะสร้างความประทบั ใจหลายแนวคดิ ค. มตี วั ละครท่ีมีบทบาทสาคัญไม่มากนกั ง. มีการดาเนนิ เร่ืองรวดเร็ว กระชับ ๔. เร่ือง \"ลกู ผชู้ าย......ตวั เกอื บจรงิ \" มีโครงเรอื่ งตามข้อใด ก. เสนอพฤตกิ รรมของนกั เรียนเกเร ๓ คน ข. เสนอพฤตกิ รรมของนกั เรียนชายกบั นกั เรยี นหญิง ค. เสนอพฤติกรรมของเดก็ ผูห้ ญงิ ที่อยากจะเป็นผู้ชาย ง. เสนอพฤตกิ รรมของวัยรุ่นที่สนใจใคร่เรียนรูก้ ารเป็นลกู ผูช้ าย ๕. คาว่า \"ลูกผู้ชาย\" ใครคือตัวละครทส่ี าคญั ท่ีดาเนินเร่อื ง ก. ประภานนท์ ข. อาจารย์เทวี ค. อาจารย์พเิ ชษฐ์ ง. ดจุ ดาว ๖. เหตุการณ์ทเี่ ปน็ ปมปัญหาในเร่ือง \"ลกู ผูช้ าย......ตวั เกอื บจรงิ \" คอื ขอ้ ใด ก. การทปี่ ระภานนท์ใชม้ อื ไสหัวดจุ ดาว ข. การทีเ่ จา้ หนมุ่ ผลักประภานนทเ์ ซไปชนดจุ ดาว ค. การทีป่ ระภานนทถ์ กู อาจารยฝ์ า่ ยปกครองเขา้ ใจผิดคิดว่าไปกล่นั แกล้งดจุ ดาว ง. การท่ีประภานนทถ์ ูกลงโทษโดยตอ้ งเกบ็ ขยะและไปชว่ ยอาจารย์พเิ ชษฐท์ างานในเรือนตน้ ไม้ ๗. จดุ มุ่งหมายในการนาเสนอเร่ือง \"ลูกผ้ชู าย......ตัวเกือบจรงิ \" คอื ข้อใด ก. วยั รนุ่ มกั ชอบแสดงอะไรให้เปน็ จดุ เดน่ ข. วยั ร่นุ มักชอบพูดจาหยาบคายไมม่ คี ณุ สมบัตผิ ดู้ ี ค. วัยรนุ่ มักชอบแสดงกริ ิยามารยาทไมส่ ภุ าพ ง. วยั รนุ่ ต้องค่อย ๆ เรยี นรแู้ ละปรบั ตัวให้เหมาะสมกบั วยั โดยไม่จาเป็นต้องรีบร้อน

๘. เรื่อง \"ลกู ผูช้ าย......ตัวเกอื บจริง\" ได้สอดแทรกคุณธรรมจรยิ ธรรมไว้ ยกเวน้ ขอ้ ใด ก. ความร้คู วามเข้าใจทางจติ วทิ ยาพฒั นาการวยั ร่นุ ข. ความเข้าใจความหมายของการเป็น \"ลูกผหู้ ญงิ \" ค. แนวคิดและแนวทางปฏิบตั ิสาหรับผใู้ หญท่ ่พี ึงกระทาตอ่ บตุ รหลานวยั รนุ่ ง. ความรทู้ เ่ี ปน็ กลวธิ ีในการกล่อมเกลาวยั รุ่นให้ยอมรบั และปฏบิ ตั ติ ามทผี่ ู้ใหญ่แนะนา ๙. เหตุใดขณะทเ่ี ก็บขยะอยู่ หวั ใจของประภานนทจ์ ึงหลน่ วบู ไปอย่ทู ตี่ าตมุ่ ก. เพราะอาจารย์เทวีเดินผา่ นมา ข. เพราะอาจารย์พเิ ชษฐเ์ รยี กให้ไปพบ ค. เพราะนอ้ งก้อยซง่ึ เขาแอบชอบอยู่เดินผ่านมา ง. การเหน็ แมข่ องเขามาพบอาจารยเ์ ทวี ๑๐. เรอื่ ง \"ลูกผ้ชู าย......ตัวเกอื บจรงิ \" ได้สอดแทรกคุณธรรมจรยิ ธรรมไว้ ยกเวน้ ข้อใด ก. ประหยดั อดออม ข. ความเคารพกฎระเบยี บของโรงเรยี นหรือสงั คม ค. ความรับผิดชอบตอ่ การกระทาของตน ง. ความเป็นกัลยาณมติ รท่ีครพู ึงมีต่อศษิ ย์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook