แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑๙ ภาคเรียนท่ี ๑ จานวน ๑๒ ชวั่ โมง กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๑ ชัว่ โมง หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เร่ือง การเขยี นเพื่อการสอ่ื สาร แผนการเรียนรทู้ ่ี ๑ เร่อื ง หลกั การเขียนจดหมาย ผู้สอน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ใช้กระบวนการเขียนเขยี นสื่อสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราวใน รปู แบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งมีประสิทธิภาพ ๒.ตวั ชี้วดั เขยี นจดหมายกิจธรุ ะ ท ๒.๑ ม. ๓/๕ มมี ารยาทในการเขยี น ท ๒.๑ ม. ๓/๑๐ ๓. สาระสาคัญ การเขียนจดหมายกิจธุระเป็นการเขียนจดหมายติดต่อกับบุคคล องค์กร ห้างร้าน หน่วยราชการ เพือ่ ติดตอ่ กิจธุระของตนเอง ดงั นั้น ภาษาท่เี ขยี นจงึ ควรเป็นทางการ ใช้ภาษากะทัดรัด ตรงประเดน็ และเขียน ใหถ้ ูกต้องตามรปู แบบของจดหมายกิจธุระ ๔. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้สตู่ ัวชว้ี ดั ๑. นักเรียนอธบิ ายรปู แบบของจดหมายกิจธรุ ะไดถ้ ูกต้อง (K) ๒. นกั เรียนสามารถเขยี นจดหมายเชิญวิทยากรได้(P) ๓. นกั เรียนมีมารยาทในการเขยี น (A) ๕. สาระการเรยี นรู้ ๑. . การเขยี นจดหมายกิจธุระ ๖. กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั ที่ ๑ ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรยี น ๑. ครกู ล่าวทกั ทายนักเรียน และให้นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกบั การเขียนจดหมายใน ปัจจบุ ันว่า มีความจาเปน็ หรือไม่ เพราะเหตใุ ด ๒. นักเรียนยกตวั อยา่ งความจาเป็นในการใช้จดหมายที่พบได้ในชีวิตประจาวัน ครเู ชอื่ มโยงเนื้อหาเข้าสู่ บทเรยี น ๓. ครูแจง้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรยี นทราบ ขั้นที่ ๒ ขั้นสอน
๑. นักเรยี นศึกษาความรู้ เร่อื ง จดหมายกจิ ธรุ ะ ในหนังสือภาษาไทย ววิ ิธภาษา ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ และใบความรู้เร่อื ง หลักการเขียนจดหมายกิจธรุ ะ พรอ้ มครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิ ๒. ครูถามนักเรียนเพ่ือกระตุ้นความคดิ ตามประเด็นต่อไปน้ี - ความหมายของจดหมายกิจธุระ - หลักการเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ - ประเภทของจดหมาย - มารยาทในการเขยี นจดหมาย ๓. นักเรียนศึกษา ตัวอย่างจดหมายเชญิ วิทยากร และจดหมายแสดงความขอบคณุ ร่วมกันวิเคราะห เนื้อหาในการเขยี นจดหมายแตล่ ะประเภท แล้วช่วยกันสรุปเน้ือหาในแตล่ ะยอ่ หน้า แลว้ ใหน้ กั เรียนสนทนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ๔. ครูเขียนแบบฟอร์มจดหมายลงบนกระดานหน้าชั้นเรียน แลว้ สุ่มเรียกนกั เรยี นออกมาเตมิ การจัด วางรูปแบบของจดหมายให้ถูกต้อง โดยให้เพ่ือนๆ ในชน้ั เรยี นช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง ๕. นักเรยี นวางแผนการเขยี นจดหมายเชญิ วิทยากรมาบรรยายให้ความรูพ้ ร้อมศึกษาค้นควา้ ตาม ประเดน็ ท่ีกาหนดให้ต่อไปนี้ (แบบฝกึ หัดที่ ๑๙) โดยให้นักเรียนสมมุตชื่อหน่วยงานและสถานท่เี อาเอง - วทิ ยากรคอื ใคร - บรรยายเรอ่ื งอะไร - บรรยายเม่อื ไร - สถานท่แี ละเวลา - จดหมายออกจากใคร/หนว่ ยงาน/องค์กร - ใครเป็นผู้เขยี นจดหมาย/ผ้เู ขียนเขียนในฐานะอะไร ขน้ั ท่ี ๓ ข้นั สรปุ ๑. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรุปความหมายของจดหมายกจิ ธุระ หลกั การเขยี นจดหมายกิจธุระ ประเภทของจดหมาย และมารยาทในการเขยี นจดหมาย ๒. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นไดซ้ ักถามข้อสงสัย ๗. ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้ ๑. หนงั สอื ววิ ธิ ภาษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๒. แบบฝึกหดั ที่ ๑๙ เร่ือง การเขยี นจดหมายเชิญวทิ ยากร ๓. สอ่ื PowerPoint เรอื่ ง หลักการเขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะ ๔. ตัวอยา่ งจดหมายกจิ ธุระ ๕. ใบความรู้ เรื่อง หลักการเขยี นจดหมายกจิ ธุระ
๘. การวัดผลและประเมนิ ผล วธิ ีการวัด เครื่องมอื วดั เกณฑก์ ารประเมนิ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สังเกต แบบสงั เกต นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์ ๑. นกั เรยี นอธบิ ายรูปแบบของ การตอบคาถาม การตอบคาถาม ระดับ ๒ ขึน้ ไปถือวา่ ผ่าน จดหมายกิจธุระได้ถูกตอ้ ง (K) ๒. นกั เรยี นสามารถเขียน ตรวจใบงาน แบบประเมนิ นกั เรยี นผ่านเกณฑ์ จดหมายเชิญวิทยากรได้(P) ใบงาน ระดับ ๒ ขึน้ ไปถอื วา่ ผา่ น สงั เกตการมีมารยาท ๓. นักเรียนมีมารยาท ในการเขียน แบบสงั เกตการมีมารยาท นกั เรียนผา่ นเกณฑ์ ในการเขียน (A) ในการเขยี น ระดบั ๒ ข้นึ ไปถอื ว่าผา่ น เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู รกิ ส์) ประเด็นการประเมิน (๔) ดีมาก ระดับคุณภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นักเรียนอธบิ าย นักเรยี นตอบคาถามได้ นกั เรียนตอบคาถาม นักเรยี นตอบคาถาม นักเรียนตอบ รูปแบบของจดหมาย ถูกต้องชัดเจน ไดถ้ ูกต้อง ไดถ้ ูกตอ้ ง แสดง คาถามได้ กจิ ธรุ ะได้ถูกต้อง (K) แสดงเหตผุ ลในการ แสดงเหตผุ ลในการ เหตุผลในการตอบ ไม่แสดงเหตผุ ลใน ตอบคาถามไดช้ ัดเจน ตอบคาถามไดช้ ัดเจน คาถามได้ การตอบคาถาม ตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง ตอบคาถามไดอ้ ย่าง ตอ่ เน่ืองครบถ้วน ตอ่ เนอื่ งครบถ้วน ตอบคาถามได้สมั พนั ธ์ กบั หวั ขอ้ ท่ีกาหนด ๒. นักเรียนสามารถ นกั เรยี นเขยี นจดหมาย นักเรยี นเขยี นจดหมาย นกั เรยี นเขยี นจดหมาย นกั เรียนเขียน เขยี นจดหมายเชิญ กจิ ธรุ ะถกู ต้องตาม กจิ ธรุ ะถกู ต้องตาม กิจธรุ ะถูกต้องตาม จดหมายกิจธุระ วิทยากรได้(P) รูปแบบ สะอาด รูปแบบ สะอาด รูปแบบ เปน็ ส่วนใหญ่ ถกู ต้องตามรูปแบบ เรยี บร้อย เรยี บร้อย ใช้ถ้อยคาในการเขยี น เปน็ สว่ นใหญ่ ใชถ้ ้อยคาในการเขยี น ใช้ถอ้ ยคาในการเขียน ค่อนข้างถูกตอ้ ง ใชถ้ ้อยคาในการ ถกู ต้องเหมาะสม เนื้อหา ค่อนข้างถูกตอ้ ง เหมาะสม เนื้อหา เขยี นไม่ค่อยกระชบั กระชบั ชดั เจนตาม เหมาะสม เนื้อหา ชดั เจนตามจดุ ประสงค์ และเนอ้ื หาไม่คอ่ ย จดุ ประสงค์ กระชับ ชัดเจนตาม และมกี ารจา่ หนา้ ซอง ชัดเจนตาม จดุ ประสงค์ ถูกต้อง จุดประสงค์
๓. นกั เรียนมี นกั เรยี นเขยี นได้ดี มี นักเรยี นเขยี นไดด้ ี นกั เรียนเขียนด้วย นักเรยี นมี มารยาท ชวี ิตชีวา ประโยคมี ในการเขียน (A) ความหลาก หลาย ชวนติดตาม อ่าน ความต้งั ใจ ประสบการณ์การ ชดั เจน ควบคมุ การใช้ ศพั ท์และการวาง ความหลากหลายของ ไม่ได้เน้นจดุ สาคญั เขียนน้อย ประโยค ไม่มี ข้อผิดพลาดในการ ประโยคชัดเจน ใชป้ ระโยคงา่ ย ๆ ใชค้ าคลุมเครือและ เขียนและสะกดคา มี คณุ ภาพที่แนน่ อนใน เลือกศัพท์เหมาะ สม และซ้า ๆ กนั สบั สน ใชโ้ ครงสร้าง การเขยี นแต่ละหนา้ ชวนให้อ่าน มี มีข้อ ผิดพลาดใน ประโยคง่ายใชศ้ ัพท์ ข้อผดิ พลาดเลก็ น้อย รปู แบบและการ จากดั ขอ้ ผดิ พลาด ในการเขยี น สะกด แตย่ งั ดูน่าอา่ น เกดิ ข้นึ บ่อยครั้งใน และสะกดคาแต่ละ ไมม่ ีเทคนคิ กระตนุ้ รูปแบบและการ หน้ามีคุณภาพไม่ ผู้อน่ื สะกด ทาใหไ้ ม่น่า แนน่ อน อา่ น
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๒๐ ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๒ ชว่ั โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ เวลา ๑ ชั่วโมง หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๒ เรื่อง การเขยี นเพ่อื การส่ือสาร แผนการเรียนร้ทู ่ี ๒ เร่ือง จดหมายเชญิ วทิ ยากร ผ้สู อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขยี นเรื่องราวใน รปู แบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๒.ตัวชว้ี ัด เขียนจดหมายกิจธรุ ะ ท ๒.๑ ม. ๓/๕ มมี ารยาทในการเขียน ท ๒.๑ ม. ๓/๑๐ ๓. สาระสาคญั การเขียนจดหมายกิจธุระเป็นการเขียนจดหมายติดต่อกับบุคคล องค์กร ห้างร้าน หน่วยราชการ เพื่อติดต่อกจิ ธรุ ะของตนเอง ดงั นนั้ ภาษาท่ีเขียนจึงควรเป็นทางการ ใชภ้ าษากะทัดรัด ตรงประเด็น และเขยี น ใหถ้ กู ต้องตามรปู แบบของจดหมายกิจธุระ ๔. จุดประสงคก์ ารเรยี นร้สู ตู่ ัวช้วี ดั ๑. นกั เรยี นอธบิ ายรูปแบบของจดหมายกิจธรุ ะได้ถูกตอ้ ง (K) ๒. นักเรยี นสามารถเขยี นจดหมายเชญิ วทิ ยากรได้(P) ๓. นักเรียนมมี ารยาทในการเขียน (A) ๕. สาระการเรียนรู้ ๑. . การเขยี นจดหมายกิจธรุ ะ ๖. กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ ๑ ขั้นนาเขา้ ส่บู ทเรียน ๑. ครูทบทวนหลกั การเขียนจดหมายกิจธุระในชัว่ โมงท่ีแลว้ พร้อมสังเกตการตอบคาถามของนักเรยี น เพื่อประเมนิ ความรู้ในเร่ืองของรูปแบบการเขียนจดหมาย ๒. ครสู อบถามนกั เรยี น ถงึ แบบฝึกหดั ในชว่ั โมงท่แี ล้ว ทใ่ี ห้นกั เรียนไดว้ างแผนการเขยี นจดหมายไว้ และแจ้งจุดประสงคใ์ นการเรยี นรใู้ หน้ กั เรียนทราบ ขน้ั ท่ี ๒ ขัน้ สอน
๑. ตวั แทนนักเรียน ๒-๓ คน ออกมานาเสนอผลงานการวางแผนการเขียนจดหมายเชญิ วิทยากรให้ เพ่อื นๆฟัง ครูให้ข้อเสนอแนะเพ่ิมเตมิ ๒. ครอู ธบิ ายการเขยี นจดหมายกิจธุระเพ่ิมเติม ในเร่ืองการเขยี นจ่าหน้าซองจดหมาย ๓. นกั เรียนเขียนจดหมายเชญิ วทิ ยากรท่แี ต่ละคนได้วางแผนไว้ ให้เวลาในการเขียน ๓๐ นาที โดยให้ นกั เรียนสมมตุ ชื่อหนว่ ยงานและสถานท่เี อาเอง พร้อมเขียนจา่ หน้าซอง ๔. ครสู มุ่ ตัวอยา่ งนักเรียนท่ีเขยี นเสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว จานวน ๒-๓ คน นาเสนอผลงานให้เพื่อนๆฟัง พรอ้ มทั้งช่วยกนั แสดงความคิดเหน็ และแนวคดิ ปรบั ปรุงแก้ไขให้ถกู ต้องสมบูรณ์ ขน้ั ท่ี ๓ ขน้ั สรปุ ๑. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปการเขียนจดหมายเชิญวทิ ยากร - ข้อความในย่อหน้าแรก ต้องขน้ึ ต้นดว้ ยออะไร - ขอ้ ความในย่อหนา้ ที่สอง ต้องเขยี นอยา่ งไร - การเขียนตัวเลขในจ่าหน้าซองจดหมายควรเป็นเลขอะไร ๒. เปดิ โอกาสให้นกั เรยี นได้ซักถามข้อสงสยั ๗. ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้ ๑. หนังสือวิวธิ ภาษา ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ๒. สื่อ PowerPoint เรือ่ ง ตัวอยา่ งจ่าหนา้ ซองจดหมาย ๘. การวดั ผลและประเมินผล วธิ ีการวดั เคร่ืองมอื วัด เกณฑก์ ารประเมิน จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สงั เกต แบบสงั เกต นักเรยี นผ่านเกณฑ์ ๑. นักเรยี นอธบิ ายรปู แบบของ การตอบคาถาม การตอบคาถาม ระดับ ๒ ขน้ึ ไปถือว่าผา่ น จดหมายกิจธรุ ะได้ถูกตอ้ ง (K) ๒. นกั เรยี นสามารถเขียน ตรวจใบงาน แบบประเมิน นกั เรียนผ่านเกณฑ์ จดหมายเชญิ วิทยากรได้(P) ใบงาน ระดับ ๒ ขน้ึ ไปถอื ว่าผา่ น สงั เกตการมีมารยาท ๓. นักเรยี นมมี ารยาท ในการเขยี น แบบสังเกตการมมี ารยาท นกั เรยี นผ่านเกณฑ์ ในการเขยี น (A) ในการเขียน ระดบั ๒ ขน้ึ ไปถอื วา่ ผา่ น
เกณฑ์การประเมินผล (รูบรกิ ส)์ ประเดน็ การประเมนิ (๔) ดีมาก ระดับคณุ ภาพ (๑) ปรับปรงุ (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรยี นอธิบาย นกั เรยี นตอบคาถามได้ นกั เรยี นตอบคาถาม นักเรียนตอบคาถาม นักเรียนตอบ รปู แบบของจดหมาย ถูกต้องชัดเจน ได้ถูกตอ้ ง ไดถ้ ูกต้อง แสดง คาถามได้ กจิ ธรุ ะได้ถูกต้อง (K) แสดงเหตุผลในการ แสดงเหตุผลในการ เหตผุ ลในการตอบ ไม่แสดงเหตุผลใน ตอบคาถามได้ชัดเจน ตอบคาถามได้ชัดเจน คาถามได้ การตอบคาถาม ตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง ตอบคาถามไดอ้ ย่าง ตอ่ เนอ่ื งครบถว้ น ตอ่ เนือ่ งครบถว้ น ตอบคาถามไดส้ ัมพนั ธ์ กบั หัวข้อท่ีกาหนด ๒. นกั เรียนสามารถ นักเรียนเขียนจดหมาย นักเรยี นเขียนจดหมาย นักเรียนเขียนจดหมาย นักเรยี นเขียน เขยี นจดหมายเชิญ กจิ ธรุ ะถูกตอ้ งตาม กิจธรุ ะถกู ต้องตาม กจิ ธรุ ะถกู ต้องตาม จดหมายกิจธุระ วทิ ยากรได้(P) รูปแบบ สะอาด รูปแบบ สะอาด รปู แบบ เปน็ สว่ นใหญ่ ถูกต้องตามรปู แบบ เรยี บรอ้ ย เรียบร้อย ใชถ้ ้อยคาในการเขยี น เป็นสว่ นใหญ่ ใช้ถ้อยคาในการเขียน ใช้ถอ้ ยคาในการเขยี น ค่อนข้างถูกต้อง ใชถ้ ้อยคาในการ ถกู ต้องเหมาะสม เน้ือหา คอ่ นข้างถูกต้อง เหมาะสม เน้ือหา เขียนไม่คอ่ ยกระชบั กระชบั ชัดเจนตาม เหมาะสม เนื้อหา ชัดเจนตามจดุ ประสงค์ และเนื้อหาไม่คอ่ ย จุดประสงค์ กระชับ ชดั เจนตาม และมีการจ่าหน้าซอง ชดั เจนตาม จุดประสงค์ ถกู ต้อง จุดประสงค์ ๓. นักเรียนมี นกั เรยี นเขียนได้ดี มี นกั เรียนเขยี นได้ดี นกั เรยี นเขียนด้วย นักเรียนมี มารยาท ชวี ติ ชวี า ประโยคมี ชวนตดิ ตาม อ่าน ความต้งั ใจ ประสบการณ์การ ในการเขยี น (A) ความหลาก หลาย ความหลากหลายของ ไม่ได้เนน้ จุดสาคัญ เขยี นน้อย ชดั เจน ควบคุมการใช้ ประโยคชดั เจน ใชป้ ระโยคงา่ ย ๆ ใช้คาคลมุ เครือและ ศัพท์และการวาง เลอื กศัพท์เหมาะ สม และซ้า ๆ กนั สบั สน ใชโ้ ครงสรา้ ง ประโยค ไม่มี ชวนให้อา่ น มี มีขอ้ ผดิ พลาดใน ประโยคง่ายใช้ศัพท์ ข้อผดิ พลาดในการ ขอ้ ผิดพลาดเลก็ น้อย รปู แบบและการ จากดั ขอ้ ผดิ พลาด เขยี นและสะกดคา มี ในการเขยี น สะกด แต่ยงั ดนู ่าอา่ น เกดิ ข้ึนบ่อยคร้งั ใน คุณภาพทีแ่ นน่ อนใน และสะกดคาแต่ละ ไม่มีเทคนคิ กระตุน้ รปู แบบและการ การเขยี นแตล่ ะหนา้ หน้ามคี ณุ ภาพไม่ ผู้อนื่ สะกด ทาใหไ้ มน่ า่ แนน่ อน อ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๑๒ ชวั่ โมง กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เร่ือง การเขยี นเพอ่ื การสื่อสาร เวลา ๑ ชวั่ โมง แผนการเรียนรู้ท่ี ๓ เรอ่ื ง จดหมายแสดงความขอบคณุ ผสู้ อน นางสาวจริ าพร กุลให้ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ใช้กระบวนการเขียนเขยี นส่ือสาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขยี นเร่ืองราวใน รปู แบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๒.ตัวช้ีวดั เขยี นจดหมายกจิ ธุระ ท ๒.๑ ม. ๓/๕ มมี ารยาทในการเขียน ท ๒.๑ ม. ๓/๑๐ ๓. สาระสาคญั การเขียนจดหมายกิจธุระเป็นการเขียนจดหมายติดต่อกับบุคคล องค์กร ห้างร้าน หน่วยราชการ เพ่ือติดต่อกิจธุระของตนเอง ดังนนั้ ภาษาท่เี ขยี นจึงควรเป็นทางการ ใช้ภาษากะทดั รัด ตรงประเด็น และเขียน ให้ถกู ต้องตามรปู แบบของจดหมายกิจธรุ ะ ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรสู้ ตู่ วั ชว้ี ัด ๑. นกั เรยี นอธิบายรปู แบบของจดหมายกจิ ธุระได้ถูกต้อง (K) ๒. นักเรยี นสามารถเขียนจดหมายแสดงความขอบคุณวิทยากรได้(P) ๓. นักเรียนมมี ารยาทในการเขียน (A) ๕. สาระการเรียนรู้ ๑. . การเขียนจดหมายกิจธรุ ะ ๖. กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั ที่ ๑ ขัน้ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น ๑. ครสู นทนาถามนักเรยี นว่า เมื่อมีคนมาชว่ ยเราทางาน เราตอ้ งทาอยา่ งไร (ต้องแสดงความขอบคณุ ) ๒. ครแู จ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรใู้ ห้นกั เรยี นทราบ และเชอ่ื มโยงเข้าสเู่ น้อื หา ขนั้ ท่ี ๒ ขั้นสอน ๑. ครนู าตัวอยา่ งจดหมายเชิญวทิ ยากรของนักเรียนทีเ่ ขียนไดถ้ ูกตอ้ งใหน้ กั เรียนดเู ปน็ ตวั อย่างและ เนน้ ส่วนทยี่ งั บกพร่องเพอื่ แก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้อง ๒. นกั เรียนดูตัวอยา่ งจดหมายแสดงความขอบคุณท่ีครแู จกไวใ้ ห้เมือ่ ชั่วโมงท่ี ๑ ทบทวนรูปแบบ เนอื้ หาท่ีต้องเขยี นแสดงความขอบคุณ
๓. นกั เรยี นเขียนจดหมายแสดงความขอบคุณวิทยากรที่นกั เรียนเชญิ มาตามจดหมายเชิญวิทยากร เมอ่ื ชวั่ โมงท่ีแลว้ ใชเ้ วลาในการเขยี น ๓๐ นาที ๔. ครสู มุ่ ตัวอย่างนักเรียนทเี่ ขียนเสร็จเรยี บร้อยแล้วอา่ นให้เพอื่ นฟัง ครแู ละนกั เรยี นช่วยกันแสดง ความคดิ เห็นและแนวทางแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้อง ๕. นกั เรียนปรบั ปรุงผลงานการเขยี นจดหมายแสดงความขอบคณุ ใหถ้ ูกต้องก่อนนามาสง่ ครู ขนั้ ท่ี ๓ ข้นั สรปุ ๑. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรุป เรอื่ ง การเขียนจดหมายกิจธุระ - จดหมายทีก่ จิ ธรุ ะท่ีดี ต้องคานึกถงึ ความชดั เจนของรูปแบบ ความสมบูรณข์ องจดหมาย ภาษาที่ใชต้ อ้ งกระชับและเป็นทางการ - จดหมายกจิ ธุระ เปน็ จดหมายท่ีใชใ้ นการติดต่อเร่ืองกจิ การงาน มใิ ชเ่ รอ่ื งสว่ นตวั จดั ทาใน นามองค์กรใดองคก์ รหนึ่ง จดหมายกิจธรุ ะใชร้ ปู แบบเหมือนหนงั สือราชการ และใช้ภาษาระดบั ทางการ ๒. เปิดโอกาสให้นกั เรยี นไดซ้ ักถามข้อสงสยั ๗. สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้ ๑. หนังสือวิวธิ ภาษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๒. ตวั อยา่ งจดหมายแสดงความขอบคณุ ๘. การวัดผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีการวัด เครือ่ งมือวัด เกณฑก์ ารประเมนิ ๑. นกั เรียนอธบิ ายรปู แบบของ สังเกต แบบสงั เกต นกั เรียนผา่ นเกณฑ์ จดหมายกิจธุระไดถ้ ูกตอ้ ง (K) การตอบคาถาม การตอบคาถาม ระดับ ๒ ขึน้ ไปถือวา่ ผา่ น ๒. นกั เรียนสามารถเขยี น ตรวจใบงาน แบบประเมิน นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์ จดหมายแสดงความขอบคุณ ใบงาน ระดับ ๒ ขนึ้ ไปถือว่าผา่ น วทิ ยากรได้(P) สังเกตการมีมารยาท ในการเขียน แบบสงั เกตการมมี ารยาท นกั เรยี นผ่านเกณฑ์ ๓. นกั เรยี นมีมารยาท ในการเขียน (A) ในการเขยี น ระดบั ๒ ขึ้นไปถอื วา่ ผ่าน
เกณฑ์การประเมนิ ผล (รูบริกส)์ ประเดน็ การประเมนิ (๔) ดีมาก ระดับคณุ ภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรียนอธบิ าย นกั เรียนตอบคาถามได้ นักเรยี นตอบคาถาม นกั เรยี นตอบคาถาม นกั เรียนตอบ รปู แบบของจดหมาย ถูกต้องชดั เจน ไดถ้ ูกตอ้ ง ไดถ้ ูกตอ้ ง แสดง คาถามได้ กิจธรุ ะได้ถูกต้อง (K) แสดงเหตุผลในการ แสดงเหตุผลในการ เหตุผลในการตอบ ไม่แสดงเหตผุ ลใน ตอบคาถามไดช้ ดั เจน ตอบคาถามได้ชดั เจน คาถามได้ การตอบคาถาม ตอบคาถามได้อย่าง ตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง ต่อเนอื่ งครบถ้วน ต่อเนือ่ งครบถว้ น ตอบคาถามไดส้ ัมพนั ธ์ กับหัวข้อท่ีกาหนด ๒. นักเรยี นสามารถ นกั เรียนเขียนจดหมาย นกั เรยี นเขียนจดหมาย นกั เรยี นเขยี นจดหมาย นักเรียนเขียน เขียนจดหมายแสดง กิจธุระถูกตอ้ งตาม กิจธุระถูกต้องตาม กิจธรุ ะถกู ต้องตาม จดหมายกจิ ธุระ ความขอบคุณ รปู แบบ สะอาด รปู แบบ สะอาด รูปแบบ เปน็ ส่วนใหญ่ ถูกต้องตามรปู แบบ วิทยากรได้(P) เรยี บรอ้ ย เรียบร้อย ใช้ถอ้ ยคาในการเขยี น เป็นสว่ นใหญ่ ใช้ถอ้ ยคาในการเขยี น ใช้ถอ้ ยคาในการเขยี น ค่อนข้างถูกตอ้ ง ใช้ถ้อยคาในการ ถกู ต้องเหมาะสม เนื้อหา คอ่ นข้างถูกต้อง เหมาะสม เนื้อหา เขียนไม่ค่อยกระชบั กระชบั ชัดเจนตาม เหมาะสม เน้ือหา ชดั เจนตามจุดประสงค์ และเนื้อหาไม่คอ่ ย จุดประสงค์ กระชับ ชดั เจนตาม และมกี ารจ่าหน้าซอง ชัดเจนตาม จุดประสงค์ ถูกต้อง จดุ ประสงค์ ๓. นกั เรยี นมี นกั เรียนเขียนได้ดี มี นักเรยี นเขยี นไดด้ ี นกั เรียนเขยี นด้วย นกั เรียนมี มารยาท ชวี ิตชวี า ประโยคมี ชวนติดตาม อา่ น ความต้ังใจ ประสบการณ์การ ในการเขียน (A) ความหลาก หลาย ความหลากหลายของ ไมไ่ ดเ้ น้นจดุ สาคัญ เขยี นนอ้ ย ชัดเจน ควบคมุ การใช้ ประโยคชัดเจน ใช้ประโยคง่าย ๆ ใช้คาคลุมเครือและ ศพั ท์และการวาง เลอื กศัพท์เหมาะ สม และซา้ ๆ กัน สบั สน ใชโ้ ครงสรา้ ง ประโยค ไม่มี ชวนให้อา่ น มี มขี อ้ ผดิ พลาดใน ประโยคงา่ ยใชศ้ ัพท์ ข้อผดิ พลาดในการ ข้อผิดพลาดเลก็ น้อย รปู แบบและการ จากดั ข้อผดิ พลาด เขียนและสะกดคา มี ในการเขียน สะกด แตย่ งั ดูนา่ อา่ น เกดิ ข้ึนบ่อยครั้งใน คุณภาพที่แน่นอนใน และสะกดคาแตล่ ะ ไมม่ ีเทคนคิ กระต้นุ รปู แบบและการ การเขียนแต่ละหน้า หนา้ มีคุณภาพไม่ ผอู้ ่ืน สะกด ทาให้ไมน่ ่า แน่นอน อา่ น
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๒๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๑๒ ชวั่ โมง กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๑ ชั่วโมง หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๒ เรื่อง การเขียนเพือ่ การสือ่ สาร แผนการเรียนรูท้ ี่ ๔ เรื่อง การกรอกแบบฟอร์มต่างๆ ผู้สอน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนส่ือสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรื่องราวใน รูปแบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอย่างมปี ระสิทธิภาพ ๒.ตวั ชว้ี ัด ท ๒.๑ ม. ๓/๘ กรอกแบบสมัครงานพร้อมเขียนบรรยายเก่ยี วกับความรู้และทกั ษะของตนเอง ทเี่ หมาะสมกับงาน ท ๒.๑ ม. ๓/๑๐ มมี ารยาทในการเขียน ๓. สาระสาคญั การกรอกแบบรายการประเภทตา่ งๆ มีความสาคญั และจาเปน็ อย่างยง่ิ ในชีวติ ประจาวนั ในการตดิ ต่อ กบั หนว่ ยงานราชการ ตดิ ต่อกิจธุระตา่ งๆ ต้องการความถูกต้องในข้อมูลนัน้ จงึ ตอ้ งตระหนกั ในความสาคญั ของ ขอ้ มูลที่กรอกในรายการต่างๆ เพอ่ื ให้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ของหน่วยงานที่ตดิ ต่อในการนาขอ้ มูลไปใชใ้ หเ้ กดิ ประสิทธิผล ๔. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ส่ตู ัวชว้ี ัด ๑. นักเรยี นอธิบายข้อควรระวังในการกรอกแบบสมคั รงานได้ถูกต้อง (K) ๒. นกั เรยี นสามารถเขยี นกรอกแบบสมคั รงานรปู แบบตา่ ง ๆได้ถูกต้อง (P) ๓. นักเรียนมมี ารยาทในการเขียน (A) ๕. สาระการเรียนรู้ ๑. กรอกแบบรายการตา่ งๆ ๖. กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั ท่ี ๑ ขัน้ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น ๑. ใหน้ กั เรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น โดยใชค้ าถามทา้ ทาย ดังน้ี • นักเรยี นอยากสมัครงานใด และคดิ วา่ คุณสมบตั ิใดท่มี ีความสาคัญต่อการสมัครงานท่ี นักเรยี นต้องการ ๒. ครูอธิบายกิจกรรมทใี่ ห้นักเรยี นฟงั คราวๆ เพอื่ เช่ือมโยงกบั เนื้อหาที่จะนามาสอนในชว่ั โมงนี้ ๓. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรยี นรู้ให้นักเรียนทราบ
ขั้นท่ี ๒ ขั้นสอน ๑. ครูนานกั เรียนสนทนาเกยี่ วกับการกรอกแบบสมัครงาน ซักถามนักเรียนว่าเคยมีประสบการณก์ รอก แบบสมคั รงานมาก่อนหรือไม่ (นกั เรยี นอาจเคยมปี ระสบการณ์ทางานชัว่ คราวหรืองานพิเศษทีจ่ ้างนักเรยี น นกั ศึกษาทางาน) ให้นักเรียนท่ีเคยมีประสบการณอ์ ธิบายข้ันตอนการกรอกแบบสมัครงานและบอกข้อควรระวงั ใหเ้ พ่อื นฟัง ๒. ให้นักเรยี นศึกษาจากใบความรเู้ รื่อง การกรอกแบบสมัครงาน และเร่ือง การกรอกแบบฟอร์มต่างๆ ในหนังสือเรียนภาษาไทย วิวิธภาษา ชน้ั มัธนมศึกษาปีท่ี ๓ หน้า ๔๙ • ขนั้ ตอนแรกในการกรอกแบบสมัครงาน ควรทาอยา่ งไร (อา่ นคาแนะนาในการกรอกแบบสมคั รงาน คาสง่ั อ่ืน ๆ ใหล้ ะเอยี ดและปฏบิ ัติตามอย่างเคร่งครัด) • การกรอกแบบสมัครงานท่ดี ีควรเขยี นให้มลี ักษณะอย่างไร (เขียนให้สะอาดเรยี บร้อย ไมม่ รี อย ขีดฆา่ สกปรก) • เม่ือจาเปน็ ต้องมีรอยขีด ลบ ฆา่ ในแบบสมคั รงาน ควรปฏบิ ตั ิอย่างไร (ควรเซ็นชอื่ กากับไว้ ตรงน้นั ด้วยทุกคร้ัง) • ช่องว่างใดท่ีไม่มีการกรอกควรทาอย่างไร (ใส่เครอื่ งหมาย (- ) เพื่อให้แบบสมคั รงานสมบรู ณ์) ๓. ครนู าแบบสมคั รงานต่าง ๆ มาให้นกั เรียนศึกษาและให้นักเรยี นฝกึ กรอกแบบสมัครงาน โดย คานึงถึงข้อระวังในการกรอกแบบสมคั รงานตามท่ีไดศ้ ึกษามาแล้ว ๔. ใหน้ ักเรยี นจบั คู่ ๒ คน แลกเปล่ียนกันวิจารณแ์ ละแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั การกรอกแบบสมัคร งานของเพ่ือน ๕. ครคู ดั เลือกแบบสมัครงานของนักเรยี นทส่ี มบรู ณ์ออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียน พร้อมท้งั อธิบายเพ่มิ เติม ขน้ั ที่ ๓ ข้ันสรปุ ๑. ใหน้ กั เรียนและครรู ว่ มกันสรปุ ความรู้ ดังน้ี • การกรอกแบบสมัครงาน เปน็ ข้นั ตอนแรกของการทดสอบความสามารถของผ้สู มัครงาน ดงั นน้ั ผสู้ มคั รงานจะต้องเขียนดว้ ยความรอบคอบ ลายมือสวยงาม สะอาด ชัดเจน ๒. เปิดโอกาสให้นักเรยี นได้ซักถามข้อสงสัย ๗. สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้ ๑. หนงั สอื ภาษาไทยวิวิธภาษา ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๒. ตวั อยา่ งการเขียนใบสมัครงานต่าง ๆ
๘. การวัดผลและประเมินผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วิธกี ารวดั เคร่ืองมอื วดั เกณฑ์การประเมิน สังเกต ๑. นกั เรยี นอธบิ ายขอ้ ควรระวงั การตอบคาถาม แบบสงั เกต นักเรียนผา่ นเกณฑ์ ในการกรอกแบบสมคั รงานได้ การตอบคาถาม ระดับ ๒ ขน้ึ ไปถอื วา่ ผ่าน ถูกต้อง (K) ตรวจใบงาน แบบประเมนิ นกั เรยี นผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรยี นสามารถเขียนกรอก สงั เกตการมีมารยาท ใบงาน ระดบั ๒ ขึ้นไปถือว่าผ่าน แบบสมคั รงานรปู แบบตา่ ง ๆได้ ในการเขียน ถูกต้อง (P) แบบสงั เกตการมีมารยาท นกั เรียนผา่ นเกณฑ์ ๓. นักเรียนมีมารยาท ในการเขียน (A) ในการเขียน ระดบั ๒ ขึน้ ไปถอื ว่าผ่าน เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รูบริกส)์ ประเด็นการประเมนิ (๔) ดีมาก ระดบั คณุ ภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรียนอธิบาย นักเรียนตอบคาถามได้ นกั เรยี นตอบคาถาม นักเรียนตอบคาถาม นักเรยี นตอบ ข้อควรระวงั ในการ ถูกต้องชดั เจน ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง แสดง คาถามได้ กรอกแบบสมัครงาน แสดงเหตุผลในการ แสดงเหตุผลในการ เหตผุ ลในการตอบ ไม่แสดงเหตผุ ลใน ได้ถูกตอ้ ง (K) ตอบคาถามไดช้ ดั เจน ตอบคาถามไดช้ ัดเจน คาถามได้ การตอบคาถาม ตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง ตอบคาถามได้อย่าง ตอ่ เนอื่ งครบถว้ น ต่อเนอ่ื งครบถ้วน ตอบคาถามได้สัมพันธ์ กบั หัวข้อที่กาหนด ๒. นกั เรยี นสามารถ นกั เรยี นกรอกแบบสมคั ร นักเรยี นกรอกแบบ นักเรยี นกรอกแบบ นกั เรียนกรอกแบบ เขยี นกรอกแบบ งานด้วย ลายมือสวยงาม สมัครงานด้วย ลายมือ สมัครงานด้วย ลายมอื สมคั รงานด้วย สมคั รงานรปู แบบต่าง มีระเบียบ สะอาด ค่อนข้างสวยงาม มี คอ่ นข้างสวยงาม มี ลายมือไม่สวยงาม แต่ ๆไดถ้ ูกตอ้ ง (P) ชดั เจน ไมม่ รี อยลบหรือ ระเบียบ สะอาด ระเบยี บ สะอาด มรี ะเบยี บ สะอาด รอยขีดฆ่าใด ๆ ชดั เจน ไม่มรี อยลบ ชดั เจน มีรอยลบหรือ ชัดเจน มรี อยลบหรือ หรอื รอยขีด รอยขีดฆ่าเพยี ง รอยขีดฆา่ เพียง ฆ่าใด ๆ เล็กน้อย แตม่ ีการ เล็กน้อย แตม่ ีการ เซน็ ช่อื เซน็ ช่อื กากับไว้ กากับไว้
๓. นกั เรียนมี นกั เรยี นเขยี นได้ดี มี นักเรยี นเขยี นไดด้ ี นกั เรียนเขียนด้วย นักเรยี นมี มารยาท ชวี ิตชีวา ประโยคมี ในการเขียน (A) ความหลาก หลาย ชวนติดตาม อ่าน ความต้งั ใจ ประสบการณ์การ ชดั เจน ควบคมุ การใช้ ศพั ท์และการวาง ความหลากหลายของ ไม่ได้เน้นจดุ สาคญั เขียนน้อย ประโยค ไม่มี ข้อผิดพลาดในการ ประโยคชัดเจน ใชป้ ระโยคงา่ ย ๆ ใชค้ าคลุมเครือและ เขียนและสะกดคา มี คณุ ภาพที่แนน่ อนใน เลือกศัพท์เหมาะ สม และซ้า ๆ กนั สบั สน ใชโ้ ครงสร้าง การเขยี นแต่ละหนา้ ชวนให้อ่าน มี มีข้อ ผิดพลาดใน ประโยคง่ายใชศ้ ัพท์ ข้อผดิ พลาดเลก็ น้อย รปู แบบและการ จากดั ขอ้ ผดิ พลาด ในการเขยี น สะกด แตย่ งั ดูน่าอา่ น เกดิ ข้นึ บ่อยครั้งใน และสะกดคาแต่ละ ไมม่ ีเทคนคิ กระตนุ้ รูปแบบและการ หน้ามีคุณภาพไม่ ผู้อน่ื สะกด ทาใหไ้ ม่น่า แนน่ อน อา่ น
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๒๓ ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๑๒ ชั่วโมง กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ เวลา ๑ ชัว่ โมง หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๒ เร่ือง การเขยี นเพ่ือการสือ่ สาร แผนการเรียนรู้ท่ี ๕ เรอื่ ง การเขียนชีวประวตั ิ ผสู้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวใน รปู แบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๒.ตัวชี้วดั ท ๒.๑ ม. ๓/๑ คดั ลายมือตังบรรจงครึ่งบรรทัด ท ๒.๑ ม. ๓/๓ เขยี นชวี ประวตั ิหรอื อัตชวี ประวัตโิ ดยเลา่ เหตกุ ารณ์ ข้อคิดเหน็ และทัศนคติ ในเรอื่ งตา่ ง ๆ ๓. สาระสาคญั ชีวประวัตเิ ปน็ งานเขียนทน่ี าเสนอเรอ่ื งราวและเหตุการณส์ าคัญท่เี กดิ ขน้ึ ในชีวิตของบุคคลทค่ี วรนามา เปน็ แบบอยา่ ง ผเู้ ขียนชีวประวตั ิจะตอ้ งศกึ ษาคน้ คว้าข้อมลู เกย่ี วกับบุคคลนนั้ ในแง่มุมท่นี า่ สนใจ ทง้ั ในอดตี ปจั จุบันและแนวโนม้ ในอนาคต อาจเพิ่มทรรศนะของผเู้ ขียนไปดว้ ย ควรมกี ารเลือกใชภ้ าษาในการนาเสนอท่ี นา่ สนใจและเรียบเรียงเน้ือหาใหเ้ ป็นไปตามลาดบั อย่างชดั เจน ๔. จุดประสงคก์ ารเรยี นรูส้ ู่ตัวชีว้ ัด ๑. นักเรยี นอธิบายความหมาย ลกั ษณะ และหลักการเขียนชีวประวตั ไิ ด้ถูกตอ้ ง (K) ๒. นักเรยี นสามารถเขียนชีวประวตั ไิ ดถ้ กู ต้อง (P) ๓. นักเรยี นมีมารยาทในการเขยี น (A) ๕. สาระการเรียนรู้ ๑. การเขียนชวี ปะวตั ิ ๖. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั ที่ ๑ ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรยี น ๑. ครนู าวิดีทัศนป์ ระวตั ขิ องคุณพุ่มพวง ดวงจันทร์ มาให้นักเรียนดู จากน้ันนกั เรยี นรว่ มกันอภปิ ราย แสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับวิธีเขยี นชวี ประวตั ิคณุ พุ่มพวง ดวงจนั ทร์ ๒. นกั เรยี นตอบคาถามกระต้นุ ความคดิ “ชวี ประวัตขิ องพมุ่ พวง ดวงจันทร์ บอกอะไรแกผ่ รู้ ับชม” (แนวคาตอบ ความสาเรจ็ ความลม้ เหลวของพมุ่ พวง ดวงจันทร์) ขน้ั ที่ ๒ ขน้ั สอน
๑. นักเรียนศึกษาใบความรู้เรือ่ ง การเขยี นชีวประวตั ิ และเร่ือง สารคดีเชงิ ประวัติ ในหนงั สือวิวิธ ภาษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ หนา้ ๕๖ – ๖๒ จากนนั้ ครูอธิบายเพมิ่ เติมเพ่ือให้นักเรยี นเข้าใจ ๒. ครูถามคาถามนักเรียนว่า “ถา้ นักเรียนเขียนชวี ประวตั ขิ องตนเองจะถกู ต้องตามหลักการเขียน หรอื ไม่” (ไม่ถกู ต้อง เพราะต้องมีอายุยนื ยาวพอสมควรหรอื เกนิ ครงึ่ หน่ึงของชวี ิต) ๓. นกั เรยี นและครูร่วมกันสทนาสรุปความรใู้ นประเด็นตอ่ ไปน้ี • ความหมายของชีวประวัติ • ลกั ษณะของงานเขียนชีวประวัติ • หลกั การเขยี นชีวประวตั ิ ๔. ใหน้ ักเรียนทาแบบฝึกหดั ท่ี ๒๐ เรื่อง “การเขยี นชีวประวัติ” โดยใหน้ กั เรยี นตอบคาถาม เกี่ยวกบั ชวี ประวัตใิ ห้ถูกต้อง จากนัน้ ส่งครูตรวจ ๕. นกั เรียนแบ่งกล่มุ กลุ่มละ ๓ คน ทาชิ้นงานกลุ่ม โดยครูใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ จบั สลาก เลอื ก เขียนชีวประวตั ขิ องบุคคลสาคัญตามที่ครกู าหนด ดังน้ี (ลายมอื ตัวบรรจงครงึ่ บรรทัด ความยาว ๒ หนา้ กระดาษ) • สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี • หมอ่ มราชวงศ์คึกฤทธ์ิ ปราโมช • หลวงวจิ ติ รวาทการ • พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) • ครูเออื้ สุนทรสนาน • หมอ่ มหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ • ทา่ นพุทธทาสภกิ ขุ แลว้ สง่ ตัวแทนนาเสนอหน้าชั้นเรียนในคาบหนา้ ข้นั ที่ ๓ ขั้นสรปุ ๑. ใหน้ ักเรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี • ชวี ประวัติเปน็ งานเขียนที่นาเสนอเรื่องราว และเหตกุ ารณส์ าคัญทีเ่ กิดขึ้นในชวี ติ ของบุคคลท่ี ควรนามาเปน็ แบบอย่าง ผเู้ ขียนชีวประวัติจะต้องศึกษาคน้ คว้าข้อมูลเก่ยี วกบั บุคคลนัน้ ในแงม่ ุมท่นี ่าสนใจ ทั้งใน อดตี ปจั จบุ ันและแนวโน้มในอนาคต อาจเพิ่มทรรศนะของผู้เขยี นไปดว้ ย ควรมีการเลือกใชภ้ าษาในการนาเสนอ ทนี่ ่าสนใจ และเรยี บเรียงเนื้อหาใหเ้ ป็นไปตามลาดบั อย่างชัดเจน ๒. เปิดโอกาสให้นักเรยี นได้ซักถามข้อสงสยั ๗. สื่อและแหล่งการเรยี นรู้ ๑. หนังสอื ภาษาไทยววิ ิธภาษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๒. วดิ ีทศั นป์ ระวัตคิ ุณพมุ่ พวง ดวงจันทร์ ๓. ใบความรูเ้ รอื่ ง การเขียนชีวประวตั ิ ๔. แบบฝกึ หัดท่ี ๒๐ เรื่อง การเขียนชวี ประวัติ ๕. สลาก
๘. การวดั ผลและประเมินผล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วิธกี ารวดั เครือ่ งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมนิ แบบประเมิน นักเรียนผา่ นเกณฑ์ ๑. นักเรยี นอธบิ ายความหมาย ตรวจแบบฝกึ หัด การทาแบบฝึกหัด ระดบั ๒ ขึน้ ไปถอื ว่าผ่าน ลกั ษณะ และหลกั การเขยี น ชีวประวัติได้ถูกต้อง (K) ตรวจผลงานการเขยี น แบบประเมนิ การเขียน นักเรยี นผา่ นเกณฑ์ ชวี ประวตั ิของบคุ คล ชีวประวัติของบคุ คลสาคัญ ระดบั ๒ ขึ้นไปถอื ว่าผา่ น ๒. นกั เรียนสามารถเขียน สาคญั ชวี ประวตั ไิ ด้ถกู ต้อง (P) แบบสงั เกตการมีมารยาท นักเรียนผ่านเกณฑ์ สังเกตการมมี ารยาท ในการเขียน ระดับ ๒ ข้นึ ไปถอื วา่ ผา่ น ๓. นกั เรียนมมี ารยาท ในการเขยี น ในการเขียน (A)
เกณฑ์การประเมนิ ผล (รูบรกิ ส์) ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คุณภาพ (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ นกั เรียนตอบ ๑. นกั เรยี นอธิบาย นักเรียนตอบคาถามได้ นักเรียนตอบคาถาม นักเรียนตอบคาถาม คาถามได้ ไมแ่ สดงเหตุผลใน ความหมาย ลักษณะ ถกู ต้องชัดเจน ได้ถูกต้อง ไดถ้ ูกต้อง แสดง การตอบคาถาม และหลักการเขยี น แสดงเหตุผลในการ แสดงเหตุผลในการ เหตุผลในการตอบ นาเสนอข้อมลู ท่ี สาคญั ของบุคคล ชีวประวัติไดถ้ ูกต้อง ตอบคาถามไดช้ ัดเจน ตอบคาถามไดช้ ัดเจน คาถามได้ นัน้ ไดห้ ลายดา้ น แตก่ ารเรียงลาดับ (K) ตอบคาถามไดอ้ ย่าง ตอบคาถามได้อย่าง ข้อมลู ยงั สับสนและ ตอ้ งแกไ้ ขการใช้ ต่อเน่ืองครบถ้วน ต่อเนอื่ งครบถว้ น ภาษาหลายแหง่ ตอบคาถามไดส้ มั พันธ์ กับหวั ขอ้ ท่ีกาหนด ๒. นกั เรียนสามารถ นาเสนอข้อมลู ทีส่ าคัญ นาเสนอข้อมลู ที่ นาเสนอข้อมลู ที่ สาคัญของบคุ คลน้ัน สาคญั ของบคุ คลนนั้ เขยี นชวี ประวัตไิ ด้ ของบุคคลนั้นได้ ได้ครบถว้ น ได้หลายดา้ น เรียงลาดับ เรยี งลาดับชดั เจนแต่ ถูกต้อง (P) ครบถว้ น เรยี งลาดับ ใช้ภาษาถกู ต้อง ต้องแก้ไขการใช้ ตามแบบแผน ภาษาบางแห่ง ชดั เจน มีกลวธิ ีเรยี บ เรียงใหน้ ่าสนใจ ใช้ ภาษาถูกต้องตามแบบ แผนและสละสลวย ๓. นกั เรียนมี นักเรยี นเขียนได้ดี มี นกั เรียนเขยี นได้ดี นกั เรยี นเขียนดว้ ย นกั เรียนมี มารยาท ชวี ิตชีวา ประโยคมี ในการเขียน (A) ความหลาก หลาย ชวนติดตาม อ่าน ความตัง้ ใจ ประสบการณ์การ ชัดเจน ควบคมุ การใช้ ศัพท์และการวาง ความหลากหลายของ ไมไ่ ด้เนน้ จุดสาคัญ เขยี นนอ้ ย ประโยค ไม่มี ข้อผิดพลาดในการ ประโยคชัดเจน ใชป้ ระโยคงา่ ย ๆ ใช้คาคลุมเครือและ เขยี นและสะกดคา มี คณุ ภาพท่แี นน่ อนใน เลือกศัพทเ์ หมาะ สม และซ้า ๆ กัน สับสน ใช้โครงสรา้ ง การเขียนแตล่ ะหน้า ชวนให้อ่าน มี มขี อ้ ผิดพลาดใน ประโยคง่ายใชศ้ ัพท์ ข้อผิดพลาดเล็กน้อย รูปแบบและการ จากดั ขอ้ ผดิ พลาด ในการเขยี น สะกด แต่ยังดูน่าอา่ น เกิดขึ้นบ่อยครงั้ ใน และสะกดคาแตล่ ะ ไม่มเี ทคนิคกระตนุ้ รูปแบบและการ หนา้ มีคณุ ภาพไม่ ผู้อ่นื สะกด ทาให้ไม่น่า แน่นอน อ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๔ ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๒ ช่ัวโมง กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ เวลา ๑ ช่วั โมง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ เรื่อง การเขียนเพ่ือการสอื่ สาร แผนการเรยี นรทู้ ่ี ๖ เร่อื ง การเขยี นอตั ชีวประวตั ิ ผสู้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนสื่อสาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราวใน รูปแบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมีประสิทธภิ าพ ๒.ตัวช้ีวัด ท ๒.๑ ม. ๓/๑ คดั ลายมอื ตังบรรจงคร่งึ บรรทดั ท ๒.๑ ม. ๓/๓ เขียนชวี ประวตั หิ รอื อัตชีวประวตั ิโดยเลา่ เหตุการณ์ ข้อคิดเหน็ และทัศนคติ ในเร่อื งตา่ ง ๆ ๓. สาระสาคัญ อตั ชวี ประวัติเป็นงานเขียนทผ่ี ู้เขียนนาเสนอเร่ืองราวของตนเอง ซ่ึงควรเขียนใหค้ รอบคลุมทง้ั เร่ืองใน อดตี ปจั จุบัน และแนวโนม้ ในอนาคต ซึง่ เป็นแง่มุมทีน่ ่าสนใจ เป็นประโยชน์แกผ่ ูอ้ นื่ ควรมกี ารใชภ้ าษา ท่นี ่าสนใจ เขา้ ใจงา่ ย และเรยี บเรียงเนือ้ หาอย่างเป็นลาดับตอ่ เน่อื ง ๔. จดุ ประสงค์การเรยี นรสู้ ่ตู ัวช้วี ดั ๑. นักเรียนอธบิ ายความหมาย ลกั ษณะ และหลกั การเขยี นอัตชีวประวตั ไิ ด้ถกู ตอ้ ง (K) ๒. นักเรยี นสามารถเขยี นอตั ชวี ประวัตไิ ด้ถูกต้อง (P) ๓. นกั เรียนมีมารยาทในการเขียน (A) ๕. สาระการเรียนรู้ ๑. ความหมายของอัตชวี ปะวัติ ๒. ลักษณะของงานเขยี นอัตชีวประวตั ิ ๓. หลักการเขยี นอัตชวี ประวัติ ๖. กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ที่ ๑ ข้ันนาเขา้ สู่บทเรยี น ๑. ครูให้ตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอผลงานการเขียนชวี ประวตั ิของกลมุ่ ตวั เอง ๒. นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เห็น โดยครูใช้คาถามกระต้นุ นกั เรยี นดังนี้ “การเขียนชีวประวัตแิ ตกตา่ งจากการเขียนอตั ชีวประวตั ิอยา่ งไร” ( ชวี ประวัติ คอื งานเขียนทกี่ ลา่ วถงึ เรอ่ื งราวในชีวิตและเหตกุ ารณ์สาคญั ที่เกดิ ขนึ้ ในชีวิตของ บคุ คลท่ีนา่ สนใจ สว่ นอตั ชีวประวัตคิ อื การเขียนบอกเลา่ เร่อื งราวของตวั เอง)
๓. ครูเชื่อมโยงเข้าสบู่ ทเรียน และแจ้งจุดประสงค์การเรียน ขัน้ ท่ี ๒ ขั้นสอน ๑. นักเรยี นศึกษาใบความร้เู ร่อื ง การเขียนอตั ชีวประวตั ิ ครูอธิบายเพมิ่ เติมเพ่ือให้นักเรยี นเข้าใจ แลว้ ใหน้ กั เรยี นทาแบบฝกึ หดั ท่ี ๒๑ เรื่อง การเขยี นอัตชีวประวัติ ๒. ครูตัง้ ประเดน็ คาถามดังน้ี • อตั ชีวประวัติ มาจากคาวา่ อะไร และมีความหมายอะไร (มาจากคาว่า อัต + ชีว + ประวัติ หมายถึง ประวัตชิ วี ิตทเี่ จา้ ของเขยี นหรือเล่า ด้วยตนเอง หรอื การบอกเล่าชีวประวตั ขิ องตนเอง) • เนือ้ หาของอัตชีวประวัติมักประกอบดว้ ยข้อมูลในส่วนใด (ครอบครัว การศึกษา การทางาน อกี ทั้งเรื่องราวตา่ ง ๆ ที่สาคญั ในชวี ิตของตัวผู้เขียน) • การเขียนอัตชีวประวตั คิ วรใชภ้ าษาในระดับใด (ควรใชภ้ าษาระดบั ทางการหรือกึง่ ทางการ) • การเขยี นอตั ชีวประวตั ิมหี ลักการอย่างไร (๑. ควรเขียนให้ครอบคลุมทง้ั ในเรอ่ื งอดีต ปจั จุบันและอนาคตว่าคดิ อย่างไร จะทา อย่างไร ๒. อาจเขยี นเล่าเหตุการณ์ หรือคตปิ ระจาใจ อุดมคติของตนประกอบ ๓. เขียนบรรยาย ความสามารถพเิ ศษ ของตน หรอื เหตกุ ารณท์ ่ีตนประทับใจ ๔. เขยี นเกยี่ วกับครอบครวั ของตน การศึกษา การทางาน) ๓. นักเรยี นศกึ ษาตวั อยา่ งงานเขยี นอตั ชีวประวตั ิจากแหล่งเรียนรตู้ า่ ง ๆ จากนน้ั นามาแลกเปลย่ี นกนั อา่ นกบั เพ่ือน เพอ่ื ศึกษาแนวทางในการเขยี น ๔. นักเรียนทาชิน้ งาน โดยเขยี นแผนภาพความคดิ เกี่ยวกับประวตั ิของตนเอง และนาแผนภาพ ดังกล่าวมานาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น ๕. นักเรยี นนาแผนภาพความคดิ ที่ทา มาเรียบเรียงเขียนอัตชีวประวัตคิ วามยาว ๑ หน้ากระดาษ ๖. ครปู ระเมินผลงานของนักเรยี นเป็นรายบคุ คล และคัดเลอื กผลงานดเี ด่นไปจดั แสดงบนป้ายนเิ ทศ ขนั้ ท่ี ๓ ขั้นสรุป ๑. ให้นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ • อตั ชีวประวตั ิเป็นงานเขยี นท่ีผู้เขยี นนาเสนอเร่อื งราวของตนเอง ซงึ่ ควรเขียนให้ครอบคลุมทง้ั เร่อื งในอดีต ปจั จุบัน และแนวโนม้ ในอนาคต ซ่ึงเปน็ แงม่ ุมท่นี า่ สนใจ เป็นประโยชนแ์ กผ่ ู้อนื่ ควรมีการใชภ้ าษา ท่ีนา่ สนใจ เข้าใจง่าย และเรยี บเรยี งเน้อื หาอย่างเปน็ ลาดบั ตอ่ เน่ือง ๒. เปิดโอกาสให้นกั เรียนได้ซกั ถามข้อสงสยั ๗. สือ่ และแหล่งการเรียนรู้ ๑. หนงั สอื ภาษาไทยวิวธิ ภาษา ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ๒. สือ่ Power Point เรื่อง การเขยี นอัตชวี ประวัติ ๓. ใบความรเู้ ร่อื ง การเขยี นอัตชวี ประวตั ิ ๔. แบบฝกึ หดั ท่ี ๒๒ เรอ่ื ง การเขียนอัตชวี ประวัติ ๕. ตัวอยา่ งการเขียนอัตชวี ประวัติ
๘. การวัดผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ ีการวัด เคร่ืองมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ แบบประเมนิ นกั เรียนผ่านเกณฑ์ ๑. นักเรยี นอธิบายความหมาย ตรวจแบบฝึกหัด การทาแบบฝึกหัด ระดับ ๒ ขน้ึ ไปถอื ว่าผา่ น ลักษณะ และหลกั การเขยี น อัตชวี ประวัตไิ ด้ถูกต้อง (K) ตรวจผลงานการเขียน แบบประเมินการเขียน นักเรยี นผ่านเกณฑ์ อัตชวี ประวัติของ อัตชีวประวัตขิ องนักเรยี น ระดบั ๒ ขึ้นไปถอื ว่าผา่ น ๒. นกั เรยี นสามารถเขยี น นักเรยี น อตั ชีวประวัตไิ ด้ถกู ต้อง (P) แบบสังเกตการมีมารยาท นักเรยี นผา่ นเกณฑ์ สังเกตการมีมารยาท ในการเขียน ระดบั ๒ ขึน้ ไปถอื วา่ ผ่าน ๓. นกั เรียนมมี ารยาท ในการเขยี น ในการเขยี น (A)
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รูบรกิ ส์) ประเด็นการประเมนิ ระดับคุณภาพ ๑. นกั เรียนอธิบาย ความหมาย ลกั ษณะ (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ และหลักการเขยี น ชีวประวัตไิ ด้ถูกต้อง นกั เรียนตอบคาถามได้ นกั เรยี นตอบคาถามได้ นักเรยี นตอบคาถาม นกั เรียนตอบคาถาม (K) ถูกต้องชดั เจน ถูกต้อง ไดถ้ ูกตอ้ ง แสดง ได้ ๒. นักเรียนสามารถ เขยี นชีวประวัติได้ แสดงเหตุผลไดช้ ดั เจน แสดงเหตุผลในการตอบ เหตุผลในการตอบ ไม่แสดงเหตุผลใน ถกู ต้อง (P) ตอบคาถามได้อยา่ ง คาถามไดช้ ดั เจน ตอบ คาถามได้ การตอบคาถาม ๓. นักเรยี นมมี ารยาท ในการเขยี น (A) ต่อเน่อื งครบถ้วน คาถามได้อยา่ งต่อเน่ือง ตอบคาถามไดส้ มั พันธ์ ครบถ้วน กับหวั ข้อที่กาหนด นาเสนอข้อมูลเก่ยี วกับ นาเสนอข้อมูลเก่ยี วกับ นาเสนอข้อมลู นาเสนอข้อมลู ตนเองไดน้ า่ สนใจ ตนเองอย่างละเอยี ด เกยี่ วกับตนเอง เก่ยี วกบั ตนเอง เรียงลาดับขอ้ มลู และ เรยี งลาดบั ขอ้ มูลและ พอสมควร ไมม่ ากนกั เหตุการณช์ ัดเจน เหตุการณช์ ดั เจน เรียงลาดับข้อมูลและ ไม่ครอบคลุม สอดแทรกเหตกุ ารณ์ สอดแทรกเหตุการณ์ที่ เหตกุ ารณ์ชดั เจน มี ด้านต่าง ๆ หรอื ทรรศนะทนี่ า่ สนใจ ตนเองประทับใจ ใช้ภาษา การเลา่ เหตุการณ์ การเรยี งลาดับวกวน และเป็นประโยชน์ ตามแบบแผนอย่าง สอดแทรกแต่ไม่ มีการเลา่ เหตกุ ารณ์ เลือกใช้ถ้อยคาเหมาะสม เครง่ ครดั ทาให้ความสนกุ น่าสนใจใช้ภาษางา่ ย สอดแทรกแต่ไม่ กบั เนื้อเร่ืองทาใหอ้ า่ น ในการอ่านลดลง ๆ เรียบเรียงข้อความ น่าสนใจ การใช้ภาษา สนกุ ใหเ้ ขา้ ใจได้ วกวน นกั เรยี นเขยี นได้ดี มี นกั เรยี นเขียนได้ดีชวน นักเรียนเขียนดว้ ย นักเรียนมี ชีวิตชีวา ประโยคมีความ ตดิ ตาม อา่ นความ ความต้ังใจ ประสบการณ์การ หลาก หลายชัดเจน หลากหลายของประโยค ไม่ได้เนน้ จดุ สาคัญ เขียนน้อย ควบคมุ การใชศ้ ัพท์และ ชัดเจน ใชป้ ระโยคง่าย ๆ ใชค้ าคลมุ เครือและ การวางประโยค ไม่มี เลอื กศัพทเ์ หมาะ สมชวน และซา้ ๆ กัน สบั สน ใชโ้ ครงสรา้ ง ขอ้ ผิดพลาดในการเขียน ให้อา่ น มขี ้อผดิ พลาด มีข้อ ผดิ พลาดใน ประโยคงา่ ยใชศ้ ัพท์ และสะกดคา มีคณุ ภาพ เล็กนอ้ ยในการเขยี น รปู แบบและการ จากดั ขอ้ ผดิ พลาด ทแ่ี นน่ อนในการเขียนแต่ และสะกดคาแต่ละหนา้ มี สะกด แต่ยังดนู า่ อ่าน เกิดข้นึ บ่อยครง้ั ใน ละหนา้ คุณภาพไม่แน่นอน ไมม่ เี ทคนคิ กระตนุ้ รปู แบบและการ ผอู้ ่นื สะกด ทาให้ไมน่ ่า อา่ น
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒๕ ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๒ ชว่ั โมง กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ เวลา ๑ ชั่วโมง หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๒ เร่ือง การเขียนเพือ่ การส่อื สาร แผนการเรียนรู้ท่ี ๗ เรือ่ ง ลายมอื นัน้ คอื ยศ ผู้สอน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นส่ือสาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวใน รูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๒.ตัวชี้วดั ท ๒.๑ ม. ๓/๑ คดั ลายมือตังบรรจงคร่งึ บรรทดั ๓. สาระสาคญั ลายมอื แสดงถงึ บุคลิกลักษณะนิสยั จติ ใจ ครจู ึงควรฝึกใหน้ ักเรยี นสามารถเขียนตัวอักษรให้สวยงาม สะอาด เรยี บร้อย และถูกต้อง เพือ่ เป็นการฝกึ จิตใจนักเรียนใหล้ ะเอียดประณีต มีสมาธิ และอดทน ๔. จดุ ประสงค์การเรยี นร้สู ู่ตวั ชวี้ ดั ๑. นกั เรยี นอธบิ ายหลกั การคัดลายมือตัวิ บรรจงคร่ึงบรรทดั ได้ (K) ๒. นักเรยี นคัดลายมือตวั บรรจงคร่งึ บรรทัดตามรูปแบบการเขยี นตัวอกั ษรไทยได้ (P) ๓. นักเรียนมีมารยาทในการเขียน (A) ๕. สาระการเรยี นรู้ การคดั ลายมือตัวบรรจงครงึ่ บรรทดั ตามรูปแบบการเขยี นตัวอกั ษรไทย ๖. กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ที่ ๑ ข้ันนาเขา้ สบู่ ทเรียน ๑. ครกู ล่าวทักทายนกั เรยี นในชว่ั โมงเรยี นวิชาภาษาไทย พรอ้ มกบั ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั แสดงความ คดิ เหน็ โดยครใู ช้คาถามทา้ ทาย ดังนี้ • นกั เรียนชอบลายมือของเพ่ือนคนไหน เพราะเหตุใด ๒. ครอู ธิบายกิจกรรมท่ีให้นกั เรยี นทา เพ่อื เชือ่ มโยงกับเน้ือหาที่จะนามาสอนในชัว่ โมงน้ี ๓. ครูแจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรใู้ ห้นักเรียนทราบ ขัน้ ที่ ๒ ขัน้ สอน ๑. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรอ่ื ง การคัดลายมือ ๒. นักเรยี นศึกษาความรู้เรอื่ ง การคดั ลายมือ จากใบความรู้ ตามประเด็นที่กาหนด ดงั นี้ ๑) ความรู้เบ้ืองต้นเกยี่ วกับการคัดลายมอื
๒) รูปแบบตวั อกั ษร ๓. นกั เรียนสนทนาเกีย่ วกบั แบบอักษรทั้ง ๓ รปู แบบได้แก่ แบบอาลกั ษณ์ แบบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และแบ คณะครศุ าสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั ซักถามนักเรียนวา่ เคยคัดลายมอื ตามแบบอักษรใดบ้าง ให้ นักเรียนแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั แบบอักษรตา่ ง ๆ ๔. นกั เรียนร่วมกันอภปิ รายแนวทางปฏบิ ัตใิ นการคดั ลายมือ และรูปแบบตัวอักษรในการคดั ลายมือ ทีเ่ หมาะสม ๕. นกั เรยี นดูแถบข้อความ ๒ แถบ ดงั ต่อไปนี้ แถบข้อความที่ ๑ เขียนดว้ ยลายมือที่อ่านยาก ตัวลบี เล็ก ค่อนข้างหวัด ไม่สะอาดเรียบร้อย มีรอยลบและ รอยขีดฆ่า แถบข้อความท่ี ๒ เขียนด้วยลายมือท่ีอ่านง่าย ตัวอักษรขนาดพอเหมาะกับเส้นบรรทัดตัวอักษร ตั้งตรงอย่างสม่าเสมอ เป็นระเบียบสวยงาม สะอาดตา ใหน้ กั เรยี นช่วยกนั วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บแถบข้อความทง้ั สอง พร้อมทงั้ บอกคุณค่าของการคดั ลายมอื ๓. ใหน้ ักเรียนคดั ลายมือ ก-ฮ ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั และครึง่ บรรทดั แล้วนาส่งครผู ู้สอน (แบบฝึกหัดท่ี ๒๓ เรอ่ื ง ลายมอื นัน้ คือยศ) ๔. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น เร่ือง การคัดลายมอื ขน้ั ท่ี ๓ ขัน้ สรปุ ๑. ใหน้ กั เรียนและครูรว่ มกนั สรุปความรู้ ดงั นี้ - การคัดลายมือตอ้ งเขยี นให้ถูกตอ้ ง สวยงาม และอ่านง่าย เพราะจะทาใหก้ ารส่อื สารสมั ฤทธผิ ลให้ นักเรยี นได้ตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นอยา่ งอิสระ ได้มีโอกาสแสดงความสามารถด้านการเขยี น เหน็ ประโยชนข์ องการพฒั นาทักษะด้านการเขียนของตนเอง ๒. เปดิ โอกาสให้นกั เรยี นไดซ้ ักถามขอ้ สงสยั ๗. ส่อื และแหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสอื ภาษาไทยววิ ธิ ภาษา ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ๒. สื่อ Power Point เรอ่ื ง การคัดลายมอื ๓. ใบความรูเ้ รอ่ื ง การคดั ลายมือ ๔. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรยี น เรือ่ ง การคดั ลายมือ ๕. แบบฝึกหดั ที่ ๒๓ เรือ่ ง ลายมือน้ันคือยศ
๘. การวดั ผลและประเมนิ ผล จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธีการวดั เคร่อื งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมิน แบบทดสอบ แบบประเมนิ แบบทดสอบ ๑. นักเรยี นอธบิ ายหลกั การคัด นกั เรียนผา่ นเกณฑ์ ลายมือตัวบรรจงครึง่ บรรทัดได้ (K) ระดบั ๒ ขนึ้ ไปถือวา่ ผ่าน ๒. นักเรยี นคดั ลายมอื ตัวบรรจง ตรวจแบบฝกึ หัด แบบประเมนิ นักเรียนผา่ นเกณฑ์ คร่ึงบรรทัดตามรปู แบบการเขียน แบบฝึกหดั ระดบั ๒ ขึน้ ไปถือว่าผา่ น ตวั อกั ษรไทยได้ (P) สังเกตการมีมารยาท ในการเขียน แบบสงั เกตการมมี ารยาท นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์ ๓. นกั เรียนมมี ารยาทในการเขียน ในการเขยี น ระดับ ๒ ขึ้นไปถอื ว่าผ่าน (A) เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รบู รกิ ส)์ ประเดน็ การประเมิน (๔) ดีมาก ระดบั คณุ ภาพ (๑) ปรับปรงุ (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรยี นอธบิ าย หลกั การคดั ลายมอื ทาแบบทดสอบไดร้ ้อย ทาแบบทดสอบไดร้ อ้ ย ทาแบบทดสอบไดร้ ้อย ทาแบบทดสอบได้ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ละ ๘๐ ละ ๗๐ ละ ๖๐ น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ ได้ (K) ๒. นกั เรยี นคดั เขยี นตวั อักษรชดั เจน เขียนตวั อกั ษรชัดเจน เขียนตัวอักษรชัดเจน เขียนตัวอกั ษรถูกต้อง ลายมือตัวบรรจงคร่ึง ถูกต้องตามอกั ขรวธิ ี ถกู ต้องตามอักขรวธิ ี ถกู ต้องตามอกั ขรวิธี ตามอักขรวิธีและ บรรทดั ตามรูปแบบ ขนาดตัวอักษร ขนาดตวั อักษรบางตวั ผิด ขนาดตัวอักษร ผลงานสะอาด การเขียนตัว มีสัดสว่ นทเ่ี หมาะสม สดั สว่ นบ้าง หลายตัวผิดสดั ส่วน แตย่ งั ตอ้ งพฒั นา อกั ษรไทยได้ (P) และเสมอกัน ผลงาน แต่ผลงานสะอาด จึงไมค่ ่อยเป็นระเบียบ การควบคมุ ขนาดของ สะอาดเรียบร้อย เรียบรอ้ ย แตผ่ ลงานสะอาด ตวั อักษรและอัตราเร็ว ในการเขียน ๓. นกั เรียนมี เขยี นได้ดี มชี ีวติ ชีวา เขยี นไดด้ ีชวนตดิ ตาม เขยี นดว้ ยความต้งั ใจ มปี ระสบการณก์ าร มารยาทในการเขียน ประโยคมคี วามหลาก อ่านควาหลากหลาย ไม่ไดเ้ น้นจุดสาคัญ เขยี นนอ้ ยใชค้ า (A) หลายชดั เจน ของประโยคชดั เจน ใชป้ ระโยคง่าย ๆ และ คลมุ เครือและสับสน ควบคมุ การใช้ศัพท์ เลือกศัพท์เหมาะสม มี ซา้ ๆ กนั มีข้อ ใชโ้ ครงสร้าง และการวางประโยค ข้อผดิ พลาดเพียง ผิดพลาดในรปู แบบ ประโยคง่ายใช้ศัพท์ ไม่มีขอ้ ผดิ พลาดในการ เล็กนอ้ ยในการเขียน และการสะกด แต่ยังดู จากัด ขอ้ ผิดพลาด เขียนและสะกดคา และสะกดคาแตล่ ะหนา้ น่าอ่านไม่มเี ทคนิค เกดิ ขึน้ บ่อยครั้งใน มีคณุ ภาพทีแ่ นน่ อน มคี ณุ ภาพไม่แนน่ อน กระตุ้นผู้อืน่ การสะกด ไมน่ า่ อา่ น
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๒๖ ภาคเรียนท่ี ๑ จานวน ๑๒ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๑ ช่วั โมง หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๒ เรื่อง การเขยี นเพื่อการส่อื สาร แผนการเรยี นรูท้ ี่ ๘ เรอ่ื ง การพูดโนม้ นา้ วใจ ผสู้ อน นางสาวจริ าพร กุลให้ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ การสรปุ ความจากการฟงั และการดสู อื่ จากเทคโนโลยตี ่างๆ ต้องใชท้ ักษะในการจับ ใจความสาคัญเรื่องท่ีฟงั และดู จบั ประเด็นสาคญั ของเร่ืองทฟ่ี ังและดู แลว้ นามาจดบันทึกด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย กระชับ และชัดเจน ๒.ตวั ชว้ี ดั ท ๓.๑ ม.๓/๕ พูดโนม้ น้าวโดยนาเสนอหลักฐานตามลาดับเนือ้ หาอย่างมเี หตุผล ๓. สาระสาคญั การพูดโน้มนา้ วใจเร่ืองที่ฟังและดูเพื่อกาหนดแนวทางนาไปประยกุ ต์ใช้ในการดาเนินชวี ิต นอกจากจะ ทาใหเ้ กิดทักษะในการฟงั การดู และการพดู แลว้ ยังทาให้มีทักษะในการคดิ วิเคราะห์ทางเลือกอย่างมีเหตุผลทา ใหผ้ ู้อืน่ เชือ่ ถือคล้อยตามในทางสรา้ งสรรค์รวมท้งั คุณภาพชวี ิตของตนเองและสังคมกด็ ีขนึ้ อกี ด้วย ๔. จดุ ประสงค์การเรียนร้สู ู่ตัวช้ีวัด ๑. นกั เรียนอธบิ ายหลักการพูดโน้มน้าวใจได้ (K) ๒. นักเรยี นสามารถพูดโนม้ นา้ วใจได้ (P) ๓. นักเรยี นใฝ่เรียนร้มู ุ่งมนั่ ในการทางาน(A) ๕. สาระการเรยี นรู้ ๑. การพดู โนม้ น้าวใจ ๖. กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขนั้ ท่ี ๑ ขน้ั นาเขา้ สูบ่ ทเรียน ๑. ครกู ลา่ วทกั ทาย พูดคยุ สนทนากบั นักเรยี นเพ่ือเตรยี มความพร้อมก่อนเริ่มการเรยี นการสอน ๒. ครูยกตวั อย่างการพูดโน้มน้าวใจให้นักเรียนฟัง ๒ ตัวอย่างให้นกั เรยี นฟังว่าสามารถโนม้ น้าวและ คล้อยตามคาพูดของครหู รือไม่เพื่อนาเขา้ สบู่ ทเรียนการโน้มน้าวใจ ข้ันที่ ๒ ข้ันสอน ๑. ครอู ธบิ ายการโนม้ นา้ วใจและหลักในการโน้มน้าวใจ ประกอบกับใบความรู้เรื่องการพูดโน้มน้าวใจ ๒. ครถู ามถงึ การโนม้ น้าวใจ วา่ การโนม้ นา้ วใจน้นั จาเป็นต้องมหี ลักฐานสนับสนุนหรือไม่ และการพูด โน้มน้าวใจจะให้เกดิ ผลสมั ฤทธท์ิ ่ีดีตอ้ งพดู อย่างไรบ้าง และทาแบบฝึกหัดที่ ๒๔ เรื่อง การพดู โนม้ น้าวใจ
๓. และใหน้ กั เรยี นชมวิดีทัศน์ตวั อยา่ งในการพดู โน้มน้าวใจ นักเรยี นสังเกต และจดจาวิธกี ารพดู จาก ตัวอยา่ ง ๔. ให้นักเรียนเขียนบทพูดโนม้ นา้ วของตัวเอง โดยนักเรยี นนาหัวข้อในการพูดจากการเขียน อตั ชวี ประวัติ ท่ีตนได้เขยี นในชั่วโมงทีแ่ ลว้ ๔. นักเรยี นออกมานาเสนอการพูดโน้มน้าวใจของคนเองโดยใช้เวลาไม่เกนิ ๒ นาที ๕. ครใู หค้ าแนะนา และกล่าวคาชมเชยนกั เรยี นทุกคนที่มคี วามสามารถในการพูด ขน้ั ที่ ๓ ข้นั สรปุ ๑. ให้นักเรยี นและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดงั นี้ - การโนม้ น้าวใจหมายถงึ อะไร - หลกั การโนม้ น้าวใจมอี ะไรบ้าง ๗. สื่อและแหลง่ การเรียนรู้ ๑. หนังสือภาษาไทยววิ ิธภาษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๒. สื่อ Power Point เรื่อง การพดู โน้มนา้ วใจ ๓. ใบความรเู้ รอื่ ง การพูดโนม้ นา้ วใจ ๔. แบบฝกึ หัดท่ี ๒๔ เร่อื ง การพดู โน้มนา้ วใจ ๕. วดิ ีทัศน์ตัวอย่างการพูดโน้มนา้ วใจ ๘. การวัดผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วิธกี ารวดั เคร่อื งมือวัด เกณฑก์ ารประเมิน ตรวจแบบฝึกหดั ๑. นกั เรียนอธบิ ายหลกั การพดู แบบประเมิน นักเรียนผ่านเกณฑ์ โนม้ น้าวใจได้ (K) การทาแบบฝึกหดั ระดบั ๒ ข้ึนไปถอื วา่ ผา่ น ๒. นักเรยี นสามารถพูดโน้ม สังเกตการพูด แบบประเมนิ การสังเกต นักเรียนผ่านเกณฑ์ น้าวใจได้ (P) การพูด ระดบั ๒ ขึน้ ไปถอื ว่าผ่าน สงั เกตการมมี ารยาท ๓. นักเรียนใฝเ่ รยี นรมู้ งุ่ ม่นั ใน ในการเขยี น แบบสงั เกตการมีมารยาท นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์ การทางาน(A) ในการเขียน ระดบั ๒ ข้นึ ไปถือวา่ ผ่าน
เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู รกิ ส์) ประเด็นการประเมนิ ระดับคุณภาพ ๑. นกั เรียนอธิบาย หลกั การพูดโน้มน้าวใจ (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ ได้ (K) โนม้ น้าวใจได้ถกู ต้องตรง โนม้ นา้ วใจไดถ้ กู ต้องตรง โนม้ น้าวใจได้ถูกต้อง ไมใ่ ช้กลวิธใี นการโนม้ ๒. นกั เรยี นสามารถ ตามกลวธิ ี มีความ นา้ วใจ ไมม่ คี วาม พูดโน้มน้าวใจได้ (P) ต้องการขนั้ พน้ื ฐาน ตามกลวธิ ี มคี วามต้องการ ตรงตามกลวธิ ี มี ต้องการขน้ั พ้นื ฐาน สอดแทรก ใชภ้ าษาได้ดี สอดแทรก ใชภ้ าษา มาก ขัน้ พนื้ ฐานสอดแทรก ใช้ ความตอ้ งการข้ัน ไมเ่ หมาะสม ลาดบั ความคดิ ไดต้ รง ภาษาได้ดี พืน้ ฐานสอดแทรก ใช้ ลาดับความคดิ ไม่ตรง ประเดน็ มีความสัมพันธ์ ประเด็นขาด เช่อื มโยงกันอย่าง ภาษาได้พอใช้ ความสมั พนั ธ์ ต่อเน่อื ง และมี เช่อื มโยงและ บุคลกิ ภาพที่ดีมาก ลาดับความคดิ ได้ตรง ลาดับความคิดได้ บกพร่องเรอ่ื ง บุคลิกภาพมาก ประเดน็ เปน็ สว่ นใหญ่ คอ่ นข้างตรงประเดน็ มคี วามสัมพันธ์เชื่อมโยง แตข่ าดความสัมพนั ธ์ กนั อยา่ งตอ่ เน่ือง และมี เชื่อมโยง และมี บุคลิกภาพท่ีดี ข้อบกพร่องเร่ือง บุคลกิ ภาพเล็กน้อย ๓. นักเรียนใฝ่เรยี นรู้ นักเรยี นต้ังใจฟงั ท่ีครู นกั เรยี นตง้ั ใจฟังท่ีครู นกั เรยี นฟังที่ครคู รู นกั เรยี นไมต่ ั้งใจฟังครู มุ่งมนั่ ในการทางาน(A) บรรยายมกี ารซักถามข้อ บรรยายและทางานตามครู บรรยายบ้างบางคร้ัง บรรยายและไม่ส่ง สงสัยอยเู่ สมอเมือ่ ไม่ มอบหมายสง่ ตรงตามเวลา สง่ งานแต่ล่าช้ากวา่ ท่ี งานท่ีได้รับ เขา้ ใจและทางานท่ีครู กาหนด มอบหมาย มอบหมายได้ดีสง่ ตรง เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๗ ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๑๒ ชวั่ โมง กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลา ๑ ช่วั โมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ เร่ือง การเขยี นเพื่อการสอื่ สาร แผนการเรยี นร้ทู ี่ ๙ เรอ่ื ง เขียนคาขวญั ผูส้ อน นางสาวจิราพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรื่องราวใน รูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๒.ตวั ช้วี ัด ท ๒.๑ ม. ๓/๒ เขียนขอ้ ความโดยใช้ข้อความไดถ้ กู ต้องตามระดบั ภาษา ๓. สาระสาคัญ คาขวัญเปน็ ถ้อยคาทแ่ี ตง่ ขึ้นเพ่อื เตือนใจหรือเพื่อให้เปน็ สริ ิมงคล มจี ุดประสงคเ์ ชิญชวนให้ปฏบิ ัติ ควรเลอื กใช้ถ้อยคาให้ถูกตอ้ งและกระชับ ๔. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ส่ตู ัวชวี้ ัด ๑. นักเรียนอธบิ ายลกั ษณะและแนวทางการเขียนคาขวัญได้ถูกต้อง (K) ๒. นกั เรยี นสามารถเขียนคาขวญั ได้ถูกต้อง (P) ๓. นักเรียนมมี ารยาทในการเขยี น (A) ๕. สาระการเรียนรู้ การเขยี นคาขวัญ ๖. กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั ท่ี ๑ ข้นั นาเข้าสู่บทเรยี น ๑. ครูสนทนาซกั ถามนักเรียนเกี่ยวกับคาขวญั ในวันสาคัญต่างๆ แล้วใหน้ กั เรียนชว่ ยกันบอกคาขวัญ วันเดก็ ในปีนี้ แลว้ ครเู ขียนบนกระดาน ๒. ครูซกั ถามนักเรียนว่า วันสาคัญวนั ใดบา้ ง ที่มีการแตง่ คาขวญั ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั ตอบ และบอกคา ขวญั วนั สาคญั ท่นี กั เรียนทราบ ๓. นกั เรยี นสังเกตและรว่ มกนั อภปิ ราย ประโยคที่ครูยกตวั อยา่ งมาให้ - รกั ดหี ามจวั่ รกั ชว่ั หามเสา (พงั เพย) - อา่ นหนงั สือวนั ละนิด ชวี ิตจะก้าวหนา้ (คาขวญั ) - ไม่มีใครแกเ่ กินเรยี น (คาคม)
- คดในข้อ งอในกระดูก (สานวน) - ฟนั จะแขง็ แรงง ต้องแปรงเชา้ – เย็น (คาขวญั ) - สอนหนังสอื ให้สังฆราช (พงั เพย) - ทงิ้ ขยะให้เปน็ ท่ี หมดราศีไปท้ังเมือง (คาขวญั ) ๒. ครแู จง้ จดุ ประสงค์การเรยี นรใู้ ห้นักเรยี นทราบ ขัน้ ที่ ๒ ขั้นสอน ๑. ให้นักเรียนชว่ ยกนั ยกตวั อย่างคาขวญั ที่มีประโยชนต์ ่อสังคมหลาย ๆ คาขวญั แลว้ วเิ คราะห์ความคิด หลัก และการใช้ภาษาในการเขยี นคาขวญั ดังกลา่ ว ๒. ใหน้ กั เรียนศึกษาความรู้เรอื่ ง การเขยี นคาขวัญและคาคม จากใบความรู้และในหนังสือเรียนววิ ิธ ภาษา ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ หน้า ๑๗๗ – ๑๗๙ แลว้ ร่วมกันสรุปความเขา้ ใจพร้อมยกตัวอยา่ งประกอบ - ลกั ษณะของคาขวัญท่ีดี - แนวทางการเขยี นคาขวัญ - ลกั ษณะของคาคม - แนวทางการเขียนคาคม ๓. นกั เรียนเขยี นคาขวญั ๑ คาขวญั โดยมีเนือ้ หาเกย่ี วกบั วนั สาคัญตา่ งๆ และคาคมคนละ ๑ คาคม เก่ียวเร่อื งทีต่ นเองสนใจ (แบบฝกึ หัดท่ี ๒๕ เรอ่ื ง การเขยี นคาขวัญและคาคม ) ๔. นักเรียนออกมานาเสนอ แลว้ ร่วมกันแสดงความคิดเหน็ คาขวญั และคาคมของเพอื่ น แล้วนาไป ปรับปรงุ พร้อมครูให้ข้อเสนอนะเพิ่มเตมิ ขนั้ ท่ี ๓ ขั้นสรุป ๑. ให้นกั เรยี นและครูรว่ มกนั สรุปความรู้ ดงั นี้ • คาขวัญเป็นถ้อยคาที่แตง่ ข้นึ เพื่อเตือนใจหรือเพ่ือให้เป็นสิริมงคล มีจดุ ประสงค์เชิญชวนให้ปฏิบตั ิ ควรเลอื กใชถ้ ้อยคาให้ถูกตอ้ งและกระชบั ๒. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียน สนทนากันและซักถามปญั หาขอ้ สงสัยตา่ ง ๆ จากนนั้ ครูอธิบาย เพิม่ เติม และ สรปุ เนื้อหาจากทีไ่ ดเ้ รียนในวันนเี้ พอื่ เน้นยา้ ให้นักเรียนเข้าใจมากย่งิ ข้นึ ๗. ส่อื และแหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสอื ภาษาไทยวิวิธภาษา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๒. ส่ือ Power Point เรื่อง การเขียนคาขวญั ๓. ใบความร้เู รื่อง การเขียนคาขวญั และคาคม ๔. แบบฝึกหัดท่ี ๒๕ เรือ่ ง การเขยี นคาขวัญ ๕. แถบขอ้ ความคาขวัญในโอกาสต่างๆ
๘. การวัดผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธีการวัด เคร่อื งมือวดั เกณฑ์การประเมิน สังเกตการนาเสนอ ๑. นกั เรยี นอธบิ าย แบบสังเกต ทาคะแนนผ่านต้งั แต่ ๓ ลกั ษณะและแนวทางการ งาน การนาเสนองาน ระดบั ขึน้ ไปถือวา่ ผ่าน เขยี นคาขวัญไดถ้ ูกต้อง (K) ตรวจแบบฝกึ หัด แบบประเมนิ ทาคะแนนผ่านตงั้ แต่ ๓ ๒.นักเรียนสามารถ เขยี น แบบฝกึ หดั ระดับขน้ึ ไปถือวา่ ผา่ น คาขวัญได้ถูกต้อง (P) ๓.นกั เรยี น มมี ารยาทใน สังเกตการมมี ารยาท แบบสงั เกตการมี ทาคะแนนผา่ นตั้งแต่ ๓ การเขียน (A) ใน มารยาทในการเขยี น ระดบั ข้นึ ไปถือว่าผ่าน การเขยี น
เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู ริกส์) ประเดน็ การประเมิน (๔) ดีมาก ระดับคณุ ภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นักเรยี นอธิบาย มีการนาเข้าสเู่ น้ือ มีการนาเข้าสเู่ น้อื มีการนาเข้าสูเ่ น้อื ไมม่ ีการนาเข้าสู่เน้ือ ลกั ษณะและแนว เรื่อง เร่อื ง เรอื่ ง เร่อื ง ทางการเขียนคาขวัญ มีความสมั พันธ์กับ มีความสมั พันธ์กบั มคี วามสมั พนั ธ์กบั มคี วามสมั พนั ธ์กับ ได้ถูกต้อง (K) เนือ้ เร่ือง เนอื้ เร่ืองเลก็ น้อย เน้ือเรื่องเลก็ นอ้ ย มี เนอ้ื เรอื่ งเล็กน้อย เรา้ ใจ และชวนให้ เรา้ ใจ และชวนให้ ความมั่นใจในการ มคี วามมนั่ ใจในการ ผูฟ้ ังติดตาม ผู้ฟังติดตาม นาเสนอ นาเสนอเลก็ น้อย มีความมัน่ ใจในการ มคี วามมัน่ ใจในการ นาเสนอ นาเสนอ ๒.นกั เรยี นสามารถ เขียนคาขวญั ได้ เขยี นคาขวญั ได้ เขียนคาขวัญได้ เขียนคาขวัญได้ เขียนคาขวญั ได้ สัมพนั ธ์กบั หวั ข้อ สมั พนั ธก์ บั หัวขอ้ สัมพันธก์ ับหวั ข้อ สัมพนั ธ์กบั หัวข้อมีคา ถูกต้อง (P) ใชค้ าคลอ้ งจองไพเราะ ใช้คาคลอ้ งจอง ใช้คาคลอ้ งจองได้ดี คล้องจองแตย่ ังไม่ ภาษากระชบั เสนอ ไพเราะ เสนอแนวคิดตาม ไพเราะ ใจความยังไม่ แนวคดิ ในเชงิ สรา้ ง ภาษากระชบั เสนอ ผู้อืน่ ชดั เจน สรรค์และเปน็ แนวคดิ ได้ดี ประโยชน์ ๓. นกั เรยี นมมี ารยาท นกั เรียนเขียนได้ดี มี นกั เรยี นเขียนไดด้ ี นักเรยี นเขยี นด้วย นกั เรียนมี ในการเขียน (A) ชวี ิตชวี า ประโยคมี ชวนติดตาม อ่าน ความตัง้ ใจ ประสบการณ์การ ความหลาก หลาย ความหลากหลาย ไมไ่ ดเ้ นน้ จดุ สาคัญ เขยี นนอ้ ย ชดั เจน ควบคมุ การ ของประโยคชัดเจน ใช้ประโยคง่าย ๆ ใชค้ าคลุมเครือและ ใชศ้ ัพท์และการวาง เลือกศัพท์เหมาะ สม และซา้ ๆ กนั สับสน ใชโ้ ครงสรา้ ง ประโยค ไม่มี ชวนใหอ้ า่ น มี มีข้อ ผดิ พลาดใน ประโยคงา่ ยใช้ศัพท์ ข้อผิดพลาดในการ ข้อผิดพลาดเลก็ น้อย รูปแบบและการ จากดั ข้อผิดพลาด เขียนและสะกดคา มี ในการเขยี น สะกด แต่ยังดูนา่ เกดิ ขึน้ บ่อยครง้ั ใน คุณภาพท่แี นน่ อนใน และสะกดคาแต่ละ อา่ นไม่มีเทคนิค รูปแบบและการ การเขียนแตล่ ะหนา้ หนา้ มคี ุณภาพไม่ กระตุ้นผู้อน่ื สะกด ทาให้ไม่นา่ แน่นอน อ่าน
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒๘ ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๑๒ ชว่ั โมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๑ ชว่ั โมง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ เร่ือง การเขยี นเพ่อื การสอื่ สาร แผนการเรียนรทู้ ่ี ๑๐ เรื่อง คาอวยพร ผู้สอน นางสาวจิราพร กุลให้ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขยี นส่ือสาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน รูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ ๒.ตัวชี้วดั ท ๒.๑ ม. ๓/๒ เขียนขอ้ ความโดยใชข้ ้อความไดถ้ ูกต้องตามระดับภาษา ๓. สาระสาคัญ การเขยี นคาอวยพรเป็นการเขียนเพื่อแสดงความยนิ ดีและอวยพรแก่บคุ คลที่เคารพและใกลช้ ดิ สนิท สนมการเขยี นคาอวยพรเปน็ การส่อื สารที่จะต้องรู้หลกั เกณฑ์และวิธกี ารเขียน เพ่ือท่จี ะสามารถเลือกใช้ถ้อยคา ในการสอ่ื สารไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม และเปน็ ผู้มีมารยาทท่ดี ใี นการเขยี น ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรสู้ ู่ตัวชว้ี ดั ๑. นักเรียนอธิบายข้นั ตอนการเขียนคาอวยพรในโอกาสต่าง ๆได้ (K) ๒. นักเรยี นสามารถเขยี นคาอวยพรในโอกาสตา่ ง ๆได้ (P) ๓. นกั เรียนมมี ารยาทในการเขยี น (A) ๕. สาระการเรียนรู้ การเขยี นคาอวยพร ๖. กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั ที่ ๑ ขน้ั นาเข้าส่บู ทเรียน ๑. นกั เรยี นชมวิดีทัศนก์ ารพูดอวยพรในงานแต่งงาน และใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเหน็ ร่วมกัน ๒. ๒. ครแู จ้งจุดประสงคก์ ารเรียนรจู้ ากเรื่องคาอวยพร ให้นักเรียนทราบ
ขน้ั ท่ี ๒ ขั้นสอน ๑. นักเรยี นช่วยกบั คู่บตั รคาท่ีมคี วามหมายสอดคล้องกัน เช่น ๒. นกั เรยี นและครูร่วมกันเฉลย โดยครูใหข้ ้อสังเกตเกี่ยวกับบัตรคาในแตล่ ะควู่ า่ มีความสอดคล้องกัน อยา่ งไร ซ่งึ บัตรคาในแต่ละคเู่ รยี กว่า การใชค้ วามเปรียบ เพ่ือถา่ ยทอดความคดิ ใหบ้ ุคคลอืน่ เขา้ ใจงา่ ยยิ่งข้นึ ๓. ครอู ธิบายให้นักเรยี นเข้าใจความสาคัญของภาษา โดยเฉพาะการเขยี นซง่ึ เปน็ เปน็ การสอื่ สารด้วย ลายลกั ษณ์อักษรเพ่ือสือ่ ความหมายให้ผู้อ่นื เข้าใจไดต้ รงตามความตอ้ งการ ๔. ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาความรเู้ ร่ือง การเขยี นคาอวยพร จากนน้ั ครูสนทนากับนักเรียนเพ่ือสรุปความ เขา้ ใจพร้อมยกตวั อยา่ งใหช้ ดั เจน โดยให้นกั เรียนมีส่วนรวมในการยกตวั อย่างด้วย - การเขียนคาอวยพรทั่วไป - การเขียนคาอวยพรให้แก่ผูใ้ หญ่ - การเขียนคาอวยพรในวนั คล้ายวนั เกิด - การเขียนอวยพรในวันข้ึนปีใหม่ ๕. ครูนาตวั อยา่ งบัตรอวยพรในวนั ปีใหม่ บตั รอวยพรวนั เกิด มาใหน้ ักเรยี นไดศ้ กึ ษา ๖. นกั เรยี นออกแบบและเขยี นบัตรคาอวยพร ในเทศกาลต่างๆ ด้วยถอ้ ยคาทม่ี งคล แลว้ คดั ลายมือ ครง่ึ บรรทัด พร้อมระบายสี และตกแต่งใหส้ วยงาม ขัน้ ท่ี ๓ ข้ันสรปุ ๑. ใหน้ ักเรียนและครรู ว่ มกันสรปุ ความรู้ ดงั นี้ • การเขียนคาอวยพรเปน็ การเขียนเพ่อื แสดงความยนิ ดแี ละอวยพรแกบ่ ุคคลท่ีเคารพและ ใกล้ชิดสนทิ สนม การเขยี นคาอวยพรเปน็ การสอ่ื สารทีจ่ ะตอ้ งรู้หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการเขียน เพ่อื ทจี่ ะสามารถ เลือกใชถ้ ้อยคาในการส่ือสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และเปน็ ผมู้ ีมารยาทท่ดี ีในการเขยี น ๒. ครูเปิดโอกาสให้นกั เรียน สนทนากันและซักถามปญั หาขอ้ สงสยั ต่าง ๆ จากน้นั ครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิ และ สรุปเนอื้ หาจากท่ีไดเ้ รียนในวันนีเ้ พอ่ื เน้นยา้ ให้นกั เรยี นเขา้ ใจมากยงิ่ ขน้ึ ๗. สอื่ และแหลง่ การเรยี นรู้ ๑. วดิ ีทัศนค์ าอวยพรในโอกาสต่างๆ ๒. สือ่ Power Point เรอื่ ง การเขยี นคาอวยพร ๓. ใบความรู้เรื่อง การเขียนคาอวยพร
๔. บัตรคา ๕. ตวั อยา่ งบัตรอวยพร ๘. การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธกี ารวัด เครือ่ งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมนิ ๑. นกั เรียนอธิบายขัน้ ตอน สังเกตการตอบคาถาม แบบสังเกตการตอบ ทาคะแนนผา่ นตั้งแต่ ๓ คาถาม ระดบั ขึ้นไปถือว่าผา่ น การเขียนคาอวยพรใน แบบประเมินผลงาน ทาคะแนนผา่ นตง้ั แต่ ๓ โอกาสต่าง ๆได้ (K) นักเรยี น ระดบั ขึ้นไปถือว่าผ่าน ๒. นักเรียนสามารถเขียนคา ตรวจผลงานของนกั เรียน แบบสงั เกตการมี ทาคะแนนผ่านตัง้ แต่ ๓ มารยาทในการเขยี น ระดับขน้ึ ไปถือวา่ ผา่ น อวยพรในโอกาสตา่ ง ๆได้ (P) ๓. นกั เรียนมีมารยาทในการ สงั เกตการมีมารยาทใน เขียน (A) การเขียน เกณฑ์การประเมินผล (รบู ริกส์) ประเด็นการประเมิน (๔) ดีมาก ระดับคุณภาพ (๑) ปรับปรงุ ๑. นกั เรียนอธิบาย ขน้ั ตอนการเขยี นคา แสดงเหตผุ ลในการ (๓) ดี (๒) พอใช้ ตอบคาถามได้ อวยพรในโอกาสตา่ ง ๆ ตอบคาถาม แตไ่ ม่แสดงเหตุผลใน ได้ (K) ตอบคาถามได้อยา่ ง ตอบคาถามได้ถูกต้อง ตอบคาถามได้ การตอบคาถาม ต่อเน่อื งครบถ้วน และแสดงเหตุผลใน ถกู ต้อง ๒. นกั เรยี นสามารถ ตอบคาถามได้ การตอบคาถามได้ และแสดงเหตุผล เขยี นคาอวยพรใน สมั พันธก์ บั หวั ข้อที่ ชดั เจน ในการตอบ โอกาสตา่ ง ๆได้ (P) กาหนด ตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง คาถามได้ ต่อเนอ่ื งครบถว้ น เขียนคาอวยพร โดยเรียบเรียง เขียนคาอวยพร เขยี นคาอวยพร เขียนคาอวยพร รายละเอยี ด ตามลาดับ โดยเรยี บเรยี ง โดยเรยี บเรยี ง โดยเรยี บเรยี ง อยา่ งสมบูรณ์ ใชภ้ าษาสละสลวย รายละเอียด รายละเอยี ด รายละเอียด เหมาะสมกบั โอกาส ตามลาดบั ตามลาดบั ตามลาดับ อยา่ งสมบูรณ์ อยา่ งสมบรู ณ์ อยา่ งสมบูรณ์ ใชถ้ อ้ ยคาบางแหง่ ได้ ใช้ภาษาเรียบงา่ ย ใชภ้ าษาเรียบงา่ ย สละสลวย เหมาะสมกบั โอกาส เหมาะสมกบั โอกาส ภาษาทใ่ี ช้เหมาะสม - แต่ลาดบั ถ้อยคา กบั โอกาส สับสนบา้ งเล็กนอ้ ย
๓. นกั เรยี นมีมารยาทใน นกั เรียนเขียนได้ดี มี นักเรยี นเขียนได้ดี นกั เรียนเขยี นด้วย นักเรียนมี ชวนตดิ ตาม อา่ น ความตงั้ ใจ ประสบการณ์การ การเขียน (A) ชวี ติ ชีวา ประโยคมี ความหลากหลายของ ไม่ได้เน้น เขียนนอ้ ย ประโยคชดั เจน จดุ สาคัญ ใชค้ าคลมุ เครือและ ความหลาก หลาย เลอื กศัพทเ์ หมาะ สม ใชป้ ระโยคงา่ ย ๆ สบั สน ใชโ้ ครงสรา้ ง ชวนใหอ้ า่ น มี และซา้ ๆ กัน ประโยคงา่ ยใชศ้ ัพท์ ชัดเจน ควบคุมการ ข้อผดิ พลาดเล็กน้อย มีขอ้ ผดิ พลาดใน จากดั ขอ้ ผดิ พลาด ในการเขยี น รปู แบบและการ เกิดข้ึนบ่อยครงั้ ใน ใชศ้ พั ท์และการวาง และสะกดคาแต่ละ สะกด แตย่ ังดนู า่ รปู แบบและการ หนา้ มคี ุณภาพไม่ อ่านไม่มเี ทคนคิ สะกด ทาให้ไมน่ ่า ประโยค ไม่มี แน่นอน กระตุ้นผู้อื่น อา่ น ข้อผดิ พลาดในการ เขยี นและสะกดคา มี คณุ ภาพที่แน่นอนใน การเขียนแต่ละหนา้
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๒๙ ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๑๒ ชวั่ โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ เวลา ๒ ชวั่ โมง หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๒ เร่ือง การเขยี นเพือ่ การสอ่ื สาร แผนการเรียนรู้ท่ี ๑๑ เรื่อง เขยี นโฆษณา ผูส้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเรื่องราวใน รูปแบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งมีประสิทธิภาพ ๒.ตัวชีว้ ดั ท ๒.๑ ม. ๓/๒ เขยี นข้อความโดยใชข้ ้อความไดถ้ ูกต้องตามระดบั ภาษา ๓. สาระสาคญั การเขยี นข้อความโฆษณาเปน็ การสร้างสรรคร์ ปู แบบ เนื้อหา แนวคิด หรอื การใช้ภาษาเพ่อื โน้มน้าว ใจผู้บริโภคใหเ้ หน็ คลอ้ ยตามส่ิงทีผ่ ู้ส่งสารต้องการนาเสนอ เพอ่ื ประโยชน์ทางการคา้ หรอื เพื่อประชาสมั พนั ธ์ สินค้าหรือหนว่ ยงาน ดังน้นั ผเู้ ขียนข้อความโฆษณาควรมีความรูค้ วามเข้าใจเกยี่ วกบั หลักการเขียนโฆษณา เพ่ือให้เกดิ การสอ่ื สารท่ีมปี ระสิทธผิ ล ๔. จดุ ประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั ๑. นกั เรียนอธิบายกลวธิ ีการเขียนโฆษณาได้ถกู ตอ้ ง (K) ๒. นักเรยี นเขยี นโฆษณาตามรูปแบบไดถ้ ูกต้อง (P) ๓. นกั เรยี นมมี ารยาทในการเขียน (A) ๕. สาระการเรยี นรู้ การเขยี นโฆษณา ๖. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ข้นั ที่ ๑ ข้นั นาเขา้ สบู่ ทเรยี น (ชั่วโมงท่ี ๑) ๑. นักเรียนชมวดิ ที ัศน์โฆษณาทดี่ ี และร่วมกันแสดงความคิดเห็น ๒. ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ ขั้นที่ ๒ ข้นั สอน ๑. ใหน้ ักเรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามทาย ดงั นี้ • นกั เรียนประทับใจโฆษณาใดมากทสี่ ุด เพราะเหตใุ ด
๒. ครสู นทนากับนกั เรียนถึงวถิ ีชีวิตเราผูกพันกบั การโฆษณาทกุ ประเภท ทกุ รูปแบบ การโฆษณากล่าว ได้วา่ เปน็ ส่วนหน่งึ ของชีวิตประจาวัน ซึ่งผบู้ ริโภคตอ้ งใชว้ จิ ารณญาณในการรบั สาร จากนั้นใหน้ ักเรยี นชว่ ยกัน ยกตัวอย่างการโฆษณาประเภทและรูปแบบต่าง ๆ ๓. ให้นักเรยี นศกึ ษาความรู้เร่ือง การเขียนโฆษณา จากใบความรู้ท่ีครูแจก และหนงั สือวิวธิ ภาษา ใน หนา้ ท่ี ๑๑ – ๑๙ ครอู ธิบายเพมิ่ เติมใหน้ กั เรียนเขา้ ใจ ๔. นักเรยี นทาแบบฝกึ หดั ที่ ๒๖ เรื่อง การเขยี นโฆษณา แล้วส่งครู ๕. ให้นกั เรียนเตรยี มเน้ือหาสาหรับการเขยี นโฆษณาในช่ัวโมงถัดไป ข้นั ที่ ๓ ขน้ั สรปุ ๑. ให้นกั เรยี นและครรู ่วมกนั สรุปความรเู้ รื่อง การเขียนโฆษณาในรปู แบบต่างๆ โดยการต้ังคาถามแลว้ ใหน้ ักเรยี นตอบ - รูปแบบการเขียนโฆษณามกี ร่ี ูปแบบอะไรบา้ ง - การเขียนโฆษณาทด่ี ีควรเขียนอย่างไร - ประโยชนแ์ ละโทษของการโฆษณา (พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยให้อยู่ในดลุ พนิ จิ ของครูผู้สอน) จากนน้ั ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ และ สรปุ เนอื้ หาจากที่ได้เรียนในวันน้เี พอื่ เน้นยา้ ใหน้ ักเรยี นเข้าใจมากยง่ิ ขึน้ ขั้นท่ี ๑ ข้ันนาเข้าส่บู ทเรียน (ชั่วโมงที่ ๒) ๑. นักเรียนชว่ ยกนั อ่านการโฆษณาสนิ ค้าท่ีครูเตรยี มมาให้ พรอ้ มให้บอกข้อดี ข้อเสียของสินคา้ ชนดิ นี้ ๒. ครแู จง้ จุดประสงค์การเรยี นร้ใู หน้ ักเรียนทราบ ขั้นที่ ๒ ขน้ั สอน ๑. นักเรียนตอบคาถามครเู พ่ือกระตนุ้ ความคดิ เร่ือง การเขยี นโฆษณา จากการเรยี นช่ัวโมงทแ่ี ลว้ - รูปแบบการโฆษณามีกีร่ ปู แบบอะไรบ้าง - สว่ นประกอบของการโฆษณามอี ะไรบ้าง - เทคนิคการโฆษณาควรมลี กั ษณะอยา่ งไร ๒. นกั เรยี นศึกษาตวั อย่างการเขยี นโฆษณาท่ีถูกต้อง ๓. นักเรียนเลือกเขียนโฆษณามาคนละ ๑ เรอ่ื ง ตามท่นี ักเรียนสนใจ พร้อมวาดภาพ ระบายสใี ห้ สวยงาม ๔. ตวั แทนนกั เรยี น ๔ -๕ คน ออกมานาเสนอผลงานการเขียนโฆษณาของตัวเอง พร้อมพูดโฆษณา ผลติ ภัณฑข์ องตัวเองให้เพื่อนๆ และครูฟัง ครใู ห้คาแนะนาและกล่าวคาชมเชย
ขั้นท่ี ๓ ข้นั สรุป ๑. ใหน้ ักเรยี นและครูรว่ มกันสรปุ ความรเู้ รื่อง การเขียนโฆษณาในรปู แบบตา่ งๆ โดยการตัง้ คาถามแล้ว ใหน้ กั เรียนตอบ - ประโยชนแ์ ละโทษของการโฆษณา - อทิ ธพิ ลของภาษาโฆษณา (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยใู่ นดุลพนิ ิจของครูผู้สอน) ๗. สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้ ๑. วิดีทศั นโ์ ฆษณา ๒. สือ่ Power Point เรอ่ื ง การเขียนโฆษณา ๓. ใบความรเู้ รือ่ ง การเขยี โฆษณา ๔. แบบฝึกหดั ท่ี ๒๖ เร่ือง โฆษณา ๕. ตัวอย่างการเขียนโฆษณา ๘. การวัดผลและประเมนิ ผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ วิธีการวัด เคร่อื งมือวัด เกณฑ์การประเมิน ตรวจแบบฝกึ หดั ๑. นักเรียนอธิบายกลวิธกี าร แบบประเมินการตรวจ ทาคะแนนผา่ นตั้งแต่ ๓ เขียนโฆษณาได้ถูกต้อง (K) แบบฝกึ หดั ระดับขึ้นไปถือว่าผ่าน ๒. นักเรยี นเขยี นโฆษณา ตรวจผลงานของนกั เรยี น แบบประเมินผลงาน ทาคะแนนผ่านตง้ั แต่ ๓ ตามรปู แบบไดถ้ ูกต้อง (P) นักเรยี น ระดับขึ้นไปถือวา่ ผา่ น ๓. นักเรียนมีมารยาทในการ สังเกตการมมี ารยาทใน แบบสังเกตการมี ทาคะแนนผา่ นตงั้ แต่ ๓ เขียน (A) การเขยี น มารยาทในการเขยี น ระดบั ขึ้นไปถือวา่ ผา่ น
เกณฑ์การประเมินผล (รบู รกิ ส)์ ประเด็นการประเมนิ (๔) ดีมาก ระดบั คณุ ภาพ (๑) ปรับปรุง ๑. นักเรยี นอธิบาย กลวธิ กี ารเขยี นโฆษณา แสดงเหตผุ ลในการ (๓) ดี (๒) พอใช้ ตอบคาถามได้ ได้ถูกตอ้ ง (K) ตอบคาถาม แตไ่ ม่แสดงเหตุผลใน ตอบคาถามได้อยา่ ง ตอบคาถามไดถ้ ูกต้อง ตอบคาถามได้ การตอบคาถาม ๒. นักเรียนเขียน ต่อเน่ืองครบถว้ น และแสดงเหตุผลใน ถกู ต้อง โฆษณาตามรปู แบบได้ ตอบคาถามได้ การตอบคาถามได้ และแสดงเหตผุ ล ถูกต้อง (P) สมั พันธก์ บั หัวข้อท่ี ชดั เจน ในการตอบ กาหนด ตอบคาถามได้อย่าง คาถามได้ ต่อเน่อื งครบถว้ น เขยี นโฆษณา โดยเรียบเรียง เขยี นคาอวยพร เขียนคาอวยพร เขยี นคาอวยพร รายละเอียด ตามลาดับ โดยเรยี บเรียง โดยเรียบเรยี ง โดยเรียบเรียง อยา่ งสมบูรณ์ ใชภ้ าษาสละสลวย รายละเอียด รายละเอยี ด รายละเอียด เหมาะสมกับโอกาส ตามลาดับ ตามลาดับ ตามลาดับ อยา่ งสมบูรณ์ อย่างสมบรู ณ์ อย่างสมบูรณ์ ใช้ถอ้ ยคาบางแหง่ ได้ ใช้ภาษาเรียบง่าย ใชภ้ าษาเรยี บง่าย สละสลวย เหมาะสมกบั โอกาส เหมาะสมกบั โอกาส ภาษาท่ใี ช้เหมาะสม - แตล่ าดบั ถ้อยคา กบั โอกาส สับสนบา้ งเลก็ น้อย ๓. นกั เรียนมมี ารยาทใน นักเรยี นเขียนได้ดี มี นกั เรยี นเขียนไดด้ ี นกั เรียนเขียนด้วย นกั เรียนมี การเขียน (A) ชีวติ ชวี า ประโยคมี ชวนติดตาม อา่ น ความตง้ั ใจ ประสบการณ์การ ความหลาก หลาย ความหลากหลายของ ไม่ไดเ้ นน้ เขยี นนอ้ ย ชดั เจน ควบคุมการ ประโยคชัดเจน จดุ สาคัญ ใชค้ าคลุมเครือและ ใชศ้ ัพท์และการวาง เลอื กศัพท์เหมาะ สม ใชป้ ระโยคงา่ ย ๆ สับสน ใชโ้ ครงสรา้ ง ประโยค ไม่มี ชวนให้อา่ น มี และซ้า ๆ กนั ประโยคงา่ ยใชศ้ ัพท์ ขอ้ ผิดพลาดในการ ข้อผดิ พลาดเล็กน้อย มีขอ้ ผิดพลาดใน จากัด ข้อผดิ พลาด เขียนและสะกดคา มี ในการเขียน รปู แบบและการ เกิดขึ้นบ่อยคร้ังใน คุณภาพที่แนน่ อนใน และสะกดคาแตล่ ะ สะกด แต่ยังดูนา่ รปู แบบและการ การเขียนแตล่ ะหนา้ หนา้ มคี ุณภาพไม่ อ่านไม่มเี ทคนคิ สะกด ทาให้ไมน่ า่ แนน่ อน กระต้นุ ผู้อืน่ อา่ น
Search
Read the Text Version
- 1 - 41
Pages: