Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่-5-รื่นรสวรรณคดี

หน่วยการเรียนรู้ที่-5-รื่นรสวรรณคดี

Published by KAGIROON, 2021-02-06 05:38:52

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ท 22101) หน่วยที่ 45 เรื่อง รื่นรสวรรณคดี

Search

Read the Text Version

ขั้นสอน ๒. นกั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถาม ดงั นี้ - นกั เรียนไมอ่ ยากเป็นตัวละครตัวใดมากท่ีสุดในตอนนารายณ์ปราบนนทก เพราะเหตใุ ด ๓. ครนู านักเรยี นสนทนาจากคาตอบในขอ้ ๒ เชน่ ถ้านกั เรยี นตอบวา่ ไม่อยากเปน็ นนทกเพราะ นนทกน่าสงสารถูกเทวดารังแกและยังต้องถูกพระนารายณ์สังหารอีก ครูจะต้องอธิบายเพื่อกระตุ้นความคิด ของนักเรียนว่า ท่ีนักเรียนคิดอย่างน้ันแสดงว่านักเรียนไม่ได้มองว่านนทกเป็นผู้ผิดอย่างเดียว แต่นนทกทาไป เพราะปัจจัยจากคนรอบข้างด้วย ซ่ึงวิธีการคิดแบบนี้เรียกว่า การคิดแบบหักมุม (ไม่ว่าคาตอบของนักเรียนจะ เป็นตวั ละครใดกใ็ ช้วธิ ีการอธบิ ายลกั ษณะเดยี วกนั ) ๔. จากนั้นให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดเรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมตัวละคร ครูตรวจสอบผลงานเป็น รายบคุ คล ขั้นสรุป ๕. นักเรยี นและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังน้ี ตัวละครในวรรณคดีสามารถสะท้อนพฤติกรรม ความคิด และลักษณะนิสัยของมนุษย์ การ วเิ คราะห์ลกั ษณะนิสยั ของตัวละครจึงเป็นการเรียนร้ธู รรมชาตขิ องมนุษยอ์ ีกทางหนึ่ง ทาใหเ้ ขา้ ใจตนเองและคน รอบขา้ งมากยง่ิ ข้ึนและหากนาสงิ่ เหลา่ นน้ั มาพัฒนาตนกจ็ ะเกิดประโยชนส์ ูงสุด ๗. สือ่ และแหล่งเรียนรู้ ๑. หนงั สือเรียนรายวชิ าพ้นิ ฐานภาษไทย วรรณคดีวจิ ักษ์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๒. ใบงานเรอื่ ง การวเิ คราะห์พฤติกรรมตัวละคร ๘. การวดั ผลประเมินผล วิธกี ารวดั ๑. สงั เกตการระบพุ ฤติกรรมที่แสดงถึงลกั ษณะนิสยั ของตัวละคร (K) ๒. ตรวจและประเมินผลการวิเคราะห์ลักษณะนิสัยของตัวละครจากพฤติกรรมต่างๆ จากการตรวจ แบบฝกึ หดั เร่ือง การวิเคราะหพ์ ฤตกิ รรมตวั ละคร (P) ๓. ประเมินการสงั เกตพฤตกิ รรมซ่อื สตั ย์สจุ รติ (A) เคร่อื งมือวดั ๑. แบบสังเกตการระบุพฤติกรรมทแ่ี สดงถึงลกั ษณะนิสยั ของตัวละคร (K) ๒. แบบประเมินผลการวิเคราะห์ลักษณะนิสัยของตัวละครจากพฤติกรรมต่างๆ จากการตรวจ แบบฝกึ หัดเรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมตัวละคร (P) ๓. แบบประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรมซื่อสัตยส์ ุจรติ (A) เกณฑ์การประเมนิ ๑. นักเรียนมีความรู้ และสามารถระบุพฤติกรรมท่ีแสดงถึงลักษณะนิสัยของตัวละคร (K) อยู่ในระดับ คณุ ภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช)้ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการวิเคราะห์ลักษณะนิสัยของตัวละครจากพฤติกรรมต่างๆ จาก การตรวจแบบฝึกหัดเรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมตัวละคร (P) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช้) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ ๓. นกั เรยี นมพี ฤติกรรมซอื่ สตั ยส์ ุจรติ (A) อยูใ่ นระดบั คุณภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช้) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์ระดับคุณภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ๔ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั ๒ พอใช้ ๑ ควรปรับปรุง คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ๘. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ วิธีการวดั เครือ่ งมอื วัดผล เกณฑ์การประเมนิ ดา้ นความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) สังเกตการระบพุ ฤติกรรมที่ แบบประเมินผลการ นักเรยี นมคี วามรู้ และ นกั เรียนอธบิ ายลักษณะของตวั แสดงถึงลักษณะนิสัยของตัว วิเคราะหล์ ักษณะนิสยั ของ สามารถระบุพฤตกิ รรมที่ ละครในเร่ืองรามเกยี รต์ิ ตอน ละคร ตัวละครจากพฤติกรรม แสดงถึงลกั ษณะนสิ ยั ของตัว นารายณป์ ราบนนทกได้ ตา่ งๆ จากการตรวจ ละคร อยใู่ นระดับคณุ ภาพ แบบฝกึ หดั เรอื่ งการ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถือว่าผา่ น ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ตรวจและประเมินผลการ วเิ คราะห์พฤตกิ รรมตัวละคร เกณฑ์ นกั เรียนวิเคราะห์นสิ ัยตัวละคร วิเคราะหล์ ักษณะนิสยั ของ แบบประเมินผลการ จากพฤตกิ รรมตา่ งๆได้ ตัวละครจากพฤตกิ รรม วิเคราะหล์ กั ษณะนสิ ยั ของ นกั เรียนมีทกั ษะ ตา่ งๆ จากการตรวจ ตวั ละครจากพฤติกรรม กระบวนการในการ แบบฝึกหดั เรื่อง การ ต่างๆ จากการตรวจ วิเคราะหล์ ักษณะนสิ ยั ของ วิเคราะหพ์ ฤติกรรมตัวละคร แบบฝึกหดั เรื่อง การ ตวั ละครจากพฤตกิ รรม วิเคราะห์พฤตกิ รรมตวั ละคร ตา่ งๆ จากการตรวจ ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ประเมนิ การสังเกต แบบฝึกหดั เรื่อง การ (A) พฤติกรรมซื่อสัตย์สจุ รติ แบบประเมินการสังเกต วเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมตัวละคร ซ่ือสตั ยส์ จุ ริต พฤตกิ รรมซ่อื สตั ย์สจุ รติ อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ๒ ขึ้น ไป (พอใช้) ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ นกั เรียนมพี ฤติกรรมซือ่ สตั ย์ สจุ รติ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถือวา่ ผ่าน เกณฑ์

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสงั เกตการระบุพฤติกรรมที่แสดงถึงลักษณะนสิ ยั ของตัวละคร (K) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ ๔๓๒๑ ระบพุ ฤตกิ รรมทแ่ี สดง ระบุพฤตกิ รรมทแ่ี สดง ระบพุ ฤติกรรมท่แี สดง ระบพุ ฤติกรรมทีแ่ สดง ระบพุ ฤตกิ รรมทีแ่ สดง ถึงลกั ษณะนสิ ยั ของ ถึงลกั ษณะนสิ ยั ของ ถึงลกั ษณะนสิ ยั ของ ถึงลกั ษณะนสิ ัยของ ถงึ ลกั ษณะนสิ ยั ของ ตัวละครได้อย่างมี ตัวละครได้อยา่ งมี ตวั ละครได้อย่างมี ตัวละครได้อยา่ งมี ตัวละคร (K) เหตผุ ล ถกู ตอ้ ง เหตุผล คอ่ นขา้ ง เหตผุ ล ถกู ต้องบ้าง เหตผุ ล เพยี งครา่ วๆ ละเอยี ดชัดเจนดมี าก ถูกตอ้ งดี บางส่วน ถูกต้องเพยี งเล็กน้อย เทา่ น้ัน ๒. แบบประเมินผลการวิเคราะหล์ กั ษณะนิสัยของตัวละครจากพฤติกรรมต่างๆ จากการตรวจแบบฝกึ หัด เรือ่ ง การวิเคราะห์พฤตกิ รรมตัวละคร (P) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔๓๒๑ วเิ คราะหล์ ักษณะนิสยั วเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรม วเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรม วเิ คราะหพ์ ฤติกรรม วิเคราะหพ์ ฤติกรรม ของตัวละครจาก ของตวั ละครไดล้ ะเอียด ของตัวละครได้ ของตวั ละครด้านทีเ่ ห็น ของตวั ละครได้เฉพาะ พฤติกรรมตา่ งๆ จาก ชัดเจนทกุ แงม่ ุม คอ่ นข้างละเอียด ชดั เจนไดล้ ะเอียด ดา้ นที่เห็นชัดเจน การตรวจแบบฝกึ หดั วเิ คราะห์ท้งั ดา้ นดี มองเหน็ ทง้ั ดา้ นดี แต่เม่อื ตอ้ งคิดหักมมุ ยงั เพียงมมุ เดยี ว การคดิ เรอ่ื ง การวิเคราะห์ และดา้ นไมด่ ไี ด้อย่าง และดา้ นไมด่ ี วเิ คราะหไ์ ดไ้ ม่ชดั เจน หักมมุ ต้องมผี แู้ นะนา พฤตกิ รรมตัวละคร แมน่ ยาเหตผุ ลตรงตาม ตามความเปน็ จริง นกั จงึ เห็นตาม (P) ความเปน็ จรงิ ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมซ่ือสตั ยส์ ุจริต (A) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๔๓๒๑ ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ (A) มีความซ่อื สตั ย์ต่อ มคี วามซอ่ื สตั ย์ตอ่ มีความซ่ือสตั ย์ตอ่ ขาดการมคี วาม ตนเองและผูอ้ นื่ ขณะ ตนเองและผู้อื่นขณะ ตนเองและผู้อ่ืนขณะ ซ่ือสตั ยต์ ่อตนเองและ ทากจิ กรรมการเรียนรู้ ทากจิ กรรมการเรยี นรู้ ทากิจกรรมการเรียนรู้ ผอู้ ื่นขณะทากจิ กรรม รว่ มกันกบั ผู้อ่ืน ได้ดี ร่วมกนั กบั ผอู้ ืน่ ได้ดี รว่ มกนั กบั ผู้อ่นื ได้ การเรยี นรู้ร่วมกนั กับ มาก รวมทัง้ สามารถ รวมทง้ั สามารถเห็น พอใช้ รวมท้งั สามารถ ผอู้ นื่ และขาดการ เห็นความสาคัญของ ความสาคญั ของการ เหน็ ความสาคัญของ เห็นความสาคญั ของ การเรยี นร้ลู ักษณะนสิ ยั เรียนรลู้ กั ษณะนิสยั การเรยี นรู้ลักษณะนสิ ยั การเรยี นรลู้ กั ษณะ และพฤติกรรมของ และพฤตกิ รรมของ และพฤติกรรมของ นิสยั และพฤตกิ รรม มนุษย์ มนุษย์ มนษุ ย์ ของมนุษย์ ไม่ พยายามท่ีจะทางาน ร่วมกบั ผอู้ ื่น

แบบฝกึ หดั เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมตัวละคร ให้นกั เรยี นวเิ คราะห์พฤตกิ รรมของตวั ละครต่อไปน้ี ทั้งดา้ นดีและดา้ นไมด่ ี พฤตกิ รรม ☺ ตัวละคร พระอศิ วร พระนารายณ์ หมูเ่ ทวดา นนทก ชอื่ – สกลุ ………………………………………………….เลขท…ี่ ……….ชั้น……….

แบบทดสอบหลงั เรยี น เรอื่ ง บทละครเรอ่ื ง รามเกียรติ์ ตอน นารายณป์ ราบนนทก ช่อื – สกลุ …………………………………..เลขท…ี่ …..ชน้ั ……….. ให้นักเรียนเขยี นเครื่องหมาย × ทับตวั อกั ษรหนา้ คาตอบทถี่ กู ตอ้ ง ๑. ข้อใดเปน็ เหตกุ ารณ์ทีเ่ กดิ ก่อนเหตุการณ์อืน่ ก. พระอิศวรประทานพรให้นนทก ข. นนทกถูกเทวดากลน่ั แกลง้ ค. นนทกทูลขอน้ิวเพชรจากพระอศิ วร ง. นนทกหลงรกั นางสวุ รรณอัปสร ๒. เหตกุ ารณข์ อ้ ใดไม่ปรากฏในเรือ่ ง ก. พระอินทร์ทูลพระอิศวรเร่ืองนนทกทาร้ายเทวดา ข. พระอนิ ทร์บอกอบุ ายปราบนนทกแก่พระนารายณ์ ค. นนทกร่ายราตามนางสวุ รรณอปั สร ง. พระนารายณ์สงั หารนนทกตามคาสัง่ พระอิศวร ๓. ข้อใดไมใ่ ช่บคุ ลกิ ลักษณะของพระอศิ วรจากเนื้อเรือ่ งตอนน้ี ก. ใจดี ข. ชอบใช้อานาจ ค. ตัดสนิ ใจเรว็ ง. ให้ขวญั และกาลังใจคนทาความดี ๔. ทา่ ราท่าใดท่ีนนทกพลาดท่าแกพ่ ระนารายณ์ ก. พระสก่ี รขว้างจักร ข. นาคามว้ นหาง ค. เมขลาโยนแก้ว ง. ลมพัดยอดตอง ๕. ตัวละครตัวใดในเรือ่ งตอนนที้ ่สี มควรจะได้รับความเหน็ ใจมากท่ีสุด ก. เทวดา ข. พระอิศวร ค. พระนารายณ์ ง. นนทก ๖. ตัวละครใดไมป่ รากฏในเรื่องนี้ ก. พระอนิ ทร์ ข. พระนารายณ์ ค. พระพรหม ง. พระอิศวร ๗. ขอ้ คดิ เร่ืองใดท่นี ักเรยี นสามารถนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้ ก. การอดทนอดกลน้ั ข. การใช้อานาจ ค. แคน้ นตี้ ้องชาระ ง. เวรย่อมระงับด้วยการจองเวร

๘. ข้อคิดเรื่องใดไม่ปรากฏในเร่ือง ก. ผูม้ อี านาจควรใชอ้ านาจอยา่ งถกู ต้อง ข. การกดขี่ขม่ เหงผู้อืน่ เป็นพฤติกรรมทไ่ี ม่ควรปฏิบตั ิ ค. ทกุ คนควรแสวงหาอานาจ ง. อานาจเปรียบประดุจขนมหวานทาใหค้ นลืมตวั ๙. ข้อใดคือหลกั สังเกตวา่ กลอนบทละครแตกต่างจากกลอนทั่วไปท่ชี ัดเจนทสี่ ดุ ก. จดุ ประสงคใ์ นการแตง่ ข. จานวนคาในวรรค ค. คาขน้ึ ต้นบท ง. เสยี งพยัญชนะ ๑๐. ข้อใดเป็นคาสมาสท้งั หมด ก. พรหมนิมิต สทิ ธศิ กั ดิ์ ข. เกษมสนั ต์ เฉิดฉิน ค. กล้าหาญ พจมาน ง. เทพอปั สร สุดสวาท

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรือ่ ง รามเกียรติ์ ตอน นารายณป์ ราบนนทก ๕. ง ๑. ข ๒. ข ๓. ข ๔. ข ๑๐. ก ๖. ค ๗. ข ๘. ค ๙. ค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook