Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 หน่วย 1 เรื่อง นิราศภูเขาทอง

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 หน่วย 1 เรื่อง นิราศภูเขาทอง

Published by KAGIROON, 2021-02-01 03:48:27

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ท 21102) ภาคเรียนที่ 1 หน่วยที่ 1 เรื่อง นิราศภูเขาทอง

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เวลา ๑๗ ช่ัวโมง หน่วยที่ ๑ นริ าศภเู ขาทอง เวลา ๑ ชว่ั โมง แผนการเรียนรทู้ ่ี ๑ คาประสม ภาคเรยี นที่ ๑ ผสู้ อน นางสาวจริ าพร กุลให้ วนั ทส่ี อน.................................................................................. 1. สาระสาคญั คำประสมเกิดจำกกำรนำคำมูลทม่ี คี วำมหมำยต่ำงกนั ตง้ั แต่ ๒ คำข้ึนไปมำรวมกัน แลว้ เกิดเปน็ คำท่มี ี ควำมหมำยใหม่ หรือยงั คงมีเคำ้ ควำมหมำยของคำเดิม กำรสร้ำงคำประสมทำให้ภำษำไทย มคี ำใชเ้ พิ่มมำกข้นึ 2. มาตรฐาน ท ๔.๑ เขำ้ ใจธรรมชำติของภำษำและหลกั ภำษำไทย กำรเปล่ยี นแปลงของภำษำ และพลงั ของภำษำ ภูมปิ ัญญำทำงภำษำ และรักษำภำษำไทยไว้เปน็ สมบัติ ของชำติ 3. ตวั ช้วี ดั ท ๔.๑ ม. ๑/๒ สร้ำงคำในภำษำไทย จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ความรู้ อธบิ ำยลักษณะ ประเภท และควำมหมำยของคำประสม ทักษะกระบวนการ สรำ้ งคำประสม คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เห็นควำมสำคัญของกำรสรำ้ งคำในภำษำไทยท่ีทำให้มีคำใช้เพมิ่ มำกขน้ึ สาระการเรียนรู้ คำประสม กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขนั้ นาเข้าสู่บทเรยี น ครูยกตัวอย่ำงคำให้นักเรียนดูบนกระดำนเชน่ แมบ่ ้ำน แม่ครวั แมค่ ้ำ เปน็ ต้น จำกนัน้ ครตู ้งั คำถำม กับนักเรียนวำ่ คำทอี่ ยูบ่ นกระดำนมคี ำใดทีเ่ หมือนกนั และคำใดทต่ี ำ่ งกนั ครูและนกั เรียนรว่ มกันสนทนำ ขน้ั พฒั นาผู้เรียน ๑. นกั เรยี นอ่ำนคำจำกบัตรคำท่ีกำหนดให้ เชน่ ๑) พ่อค้ำ ๒) เมอื งนอก ๓) ใจเยน็ ๔) รถจักรยำน

๕) นำ้ หนัก ๖) ตีบทแตก ๗) หัวใจ ๒. นกั เรยี นช่วยกันอธิบำยควำมหมำยของคำแต่ละคำ จำกนน้ั ลองสังเกตควำมหมำยของแต่ละ พยำงค์เพ่ือเปรยี บเทยี บกับควำมหมำยของคำวำ่ เหมอื นหรือแตกตำ่ งกันอย่ำงไร ๓. นักเรียนศกึ ษำควำมรู้เรื่อง กำรสรำ้ งคำในภำษำไทย และกำรประกอบคำประเภทคำประสม แลว้ ร่วมกนั สนทนำในประเดน็ ต่อไปนี้ - คำประสมมีลักษณะอย่ำงไร - คำประสมมีกีป่ ระเภท อะไรบ้ำง พรอ้ มยกตวั อย่ำงคำ - คำประสมทสี่ รำ้ งขนึ้ มีควำมหมำยในลักษณะใดบำ้ ง พร้อมยกตัวอยำ่ งคำ ๔. นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กล่มุ ละ ๕-๖ คน ใหส้ มำชิกในกลมุ่ ร่วมกันค้นหำคำ โดยครกู ำหนดคำตั้งตน้ ให้ ดงั น้ี ลกู ลกู เสอื ลกู ช้ำง ลูกน้อง ลกู ทุ่ง ลกู มอื ฯลฯ ใจ เบำใจ ออ่ นใจ ใจเยน็ กินใจ น้ำใจ ฯลฯ ปำก ปำกแข็ง ปำกจดั ปำกน้ำ ปำกหวำน ปิดปำก ฯลฯ หวั เลน่ หัว หวั หน้ำ หัวสงู หัวปี หัวปำ่ ฯลฯ หำกกล่มุ ใดค้นหำคำได้จำนวนมำกท่สี ดุ ถอื วำ่ ชนะ ๕. นกั เรยี นอำ่ นคำประสมบนกระดำนที่ครูบันทึกไว้อีกคร้งั แล้วช่วยกนั อธบิ ำยควำมหมำยของคำ ประสมทย่ี ังไม่ทรำบควำมหมำย ครูช่วยอธิบำยเพม่ิ เติม ๖. นักเรยี นทำแบบฝกึ หัดเรื่อง คำประสม (เสร็จแลว้ สง่ ในชว่ั โมง) ขั้นสรุป นักเรียนและครรู ว่ มกันสรปุ ควำมรู้ ดงั นี้ คำประสมเกดิ จำกกำรนำคำมลู ท่มี คี วำมหมำยต่ำงกนั ต้งั แต่ ๒ คำขนึ้ ไปมำรวมกันแล้วเกิดเป็นคำทมี่ ีควำมหมำยใหม่ หรือยังคงมีเค้ำควำมหมำยของคำเดมิ กำรสร้ำงคำ ประสมทำใหภ้ ำษำไทยมีคำใช้เพม่ิ มำกขึน้ ส่อื การเรียนรู้ บัตรคำ การวดั ผลประเมนิ ผล ๑. วิธกี ารวดั และประเมินผล ๑) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในกำรเขำ้ รว่ มกิจกรรม ๒) สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลุม่ ๓) ตรวจผลงำนของนกั เรยี น ๒. เครื่องมือ ๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรม

๒) แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม ๓. เกณฑ์การประเมนิ ๑) กำรประเมินพฤตกิ รรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรม ผ่ำนต้งั แต่ ๒ รำยกำร ถือวำ่ ผา่ น ผ่ำน ๑ รำยกำร ถอื วำ่ ไม่ผา่ น ๒) กำรประเมนิ พฤตกิ รรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกล่มุ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ดีมำก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ควรปรับปรงุ

แผนการจัดการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ หน่วยที่ ๑ นิราศภเู ขาทอง เวลา ๑๗ ชัว่ โมง แผนการเรียนรทู้ ี่ ๒ คาซ้อน เวลา ๑ ช่ัวโมง ผู้สอน นางสาวจริ าพร กุลให้ ภาคเรยี นที่ ๑ สาระสาคญั คำซอ้ นเกิดจำกกำรนำคำมูลตั้งแต่ ๒ คำขนึ้ ไปมำรวมกนั ซงึ่ แตล่ ะคำทีน่ ำมำรวมกันตอ้ งมีควำมหมำย เหมือนกัน คล้ำยคลงึ กนั หรือตรงขำ้ มกนั ทำให้คำที่เกิดขน้ึ มีควำมหมำยใหม่ หรอื ยังคง มเี ค้ำของควำมหมำย เดิม กำรสรำ้ งคำซอ้ นทำให้ภำษำไทยมคี ำใชเ้ พิม่ มำกขึ้น มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้ำใจธรรมชำติของภำษำและหลักภำษำไทย กำรเปล่ยี นแปลงของภำษำ และพลงั ของภำษำ ภูมิปญั ญำทำงภำษำ และรักษำภำษำไทยไว้เปน็ สมบัติ ของชำติ ตวั ชีว้ ดั ท ๔.๑ ม. ๑/๒ สร้ำงคำในภำษำไทย จุดประสงค์การเรยี นรู้ ความรู้ อธบิ ำยลักษณะ ประเภท และควำมหมำยของคำซ้อน ทักษะ/กระบวนการ สร้ำงคำซอ้ น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เห็นควำมสำคัญของกำรสรำ้ งคำในภำษำไทยท่ีทำใหม้ ีคำใช้เพ่ิมมำกข้ึน สาระการเรียนรู้ คำซอ้ น กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขัน้ นาเขา้ สบู่ ทเรียน ครทู บทวนเรื่องคำประสมจำกท่เี รียนมำ จำกน้ันยกตัวอยำ่ งคำใหน้ กั เรียนดูบนกระดำนเช่น ช่ัวดี ผิดชอบ เทจ็ จริง โงเ่ ขลำ ใหญ่โต แนน่ หนำ เปน็ ต้น จำกนั้นครูและนกั เรียนช่วยกนั พจิ ำรณำลักษณะคำที่อยู่ บนกระดำน ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สนทนำ ขน้ั พฒั นาผเู้ รยี น ๑. นกั เรยี นอ่ำนคำจำกบัตรคำ เชน่

๑) จรงิ จัง ๒) ฟรุง้ ฟรง่ิ ๓) จูจ้ ่ี ๔) ใหญโ่ ต ๕) ออ่ นนุ่ม ๖) เพอ่ื นเกลอ ๒. นกั เรียนสงั เกตควำมหมำยของคำแตล่ ะคำทนี่ ำมำรวมกัน และสงั เกตเสยี งของคำทีน่ ำมำรวมกัน แลว้ ช่วยกนั อธบิ ำยควำมเขำ้ ใจ ๓. นักเรียนศกึ ษำควำมร้เู ร่ือง คำซ้อน แลว้ ร่วมกนั สนทนำในประเดน็ ต่อไปน้ี - คำซ้อนมีลักษณะอยำ่ งไร - คำซ้อนเพื่อเสียงเป็นอย่ำงไร พรอ้ มยกตัวอยำ่ งคำ - คำซ้อนเพ่ือควำมหมำยเปน็ อยำ่ งไร พร้อมยกตวั อย่ำงคำ - ควำมหมำยของคำซ้อนมลี ักษณะใดบ้ำง พร้อมยกตวั อยำ่ งคำ ๔. นักเรยี นชว่ ยกันหำคำซ้อนในนริ ำศภูเขำทอง ครชู ว่ ยแนะนำและบันทึกคำท่ีนกั เรยี นบอกบน กระดำน แลว้ รว่ มกนั ตรวจสอบควำมถูกต้อง คำซอ้ นในนิรำศภูเขำทอง เช่น วอดวำย ฟำ้ ดนิ ฝำ่ ฝนื มวั เมำ คบั แคบ ยง่ั ยืน วนเวยี น คลำดคลำย หนำแน่น เจ็บแสบ มดื มิด รัง้ รอ มงุ่ หมำย ยำกจน ชัยชนะ ๕. นกั เรียนช่วยกันค้นหำคำ จำกคำทีก่ ำหนด ดงั น้ี (ครูอธบิ ำยเพิ่มเติม) นมุ่ (อ่อนน่มุ นมุ่ นมิ่ ) ดู (ดแู ล มองดู) เล่ยี ง (หลบเล่ียง หลกี เลี่ยง) นอ้ ย (เล็กน้อย น้อยนดิ ) ใกล้ (ใกลไ้ กล ใกล้ชิด) ดี (ชว่ั ดี ดีเลศิ ) ไว (เร็วไว วอ่ งไว) จรงิ (เท็จจรงิ จรงิ จัง) หนำ (หนำแน่น หนำบำง) ตดิ (ติดต่อ ตดิ ตำม) ๖. นกั เรียนทำแบบฝึกหัดเรื่อง คำซ้อน (เสร็จแล้วส่งในชว่ั โมง) ขนั้ สรุป

นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปควำมรู้ ดงั น้ี - คำซ้อนเกิดจำกกำรนำคำมลู ต้ังแต่ ๒ คำข้ึนไปมำรวมกัน ซ่งึ แตล่ ะคำทน่ี ำมำรวมกันต้องมี ควำมหมำยเหมือนกนั คลำ้ ยคลงึ กัน หรือตรงข้ำมกัน ทำใหค้ ำท่เี กิดขนึ้ มีควำมหมำยใหม่ หรอื ยังคง มีเคำ้ ของ ควำมหมำยเดมิ กำรสรำ้ งคำซ้อนทำใหภ้ ำษำไทยมีคำใชเ้ พ่มิ มำกขึน้ ส่อื การเรยี นรู้ บัตรคำ การวดั ผลประเมนิ ผล ๑. วธิ ีการวดั และประเมนิ ผล ๑) สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในกำรเข้ำร่วมกิจกรรม ๒) สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ ๓) ตรวจผลงำนของนักเรียน ๒. เครอื่ งมือ ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรม ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม ๓. เกณฑ์การประเมิน ๑) กำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรม ผ่ำนตงั้ แต่ ๒ รำยกำร ถอื วำ่ ผ่าน ผำ่ น ๑ รำยกำร ถอื ว่ำไม่ผ่าน ๒) กำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมกลมุ่ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ดมี ำก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ควรปรับปรงุ

แผนการจดั การเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ หน่วยที่ ๑ นริ าศภเู ขาทอง เวลา ๑๗ ชั่วโมง แผนการเรียนร้ทู ่ี ๓ คาซ้า เวลา ๑ ช่ัวโมง ครผู ู้สอน นางสาวจิราพร กลุ ให้ ภาคเรยี นท่ี ๑ สาระสาคัญ คำซ้ำเกิดจำกกำรนำคำมูลคำเดิมมำกล่ำวหรือเขียนซ้ำอีกครั้งหน่ึง แล้วเกิดเป็นคำที่มีควำมหมำยใหม่ หรือยงั คงมีเค้ำของควำมหมำยเดิม ในกำรเขียนจะใช้ไม้ยมก (ๆ) แทนคำซ้ำกำรสรำ้ งคำซ้ำทำให้ภำษำไทยมคี ำใช้ เพิ่มมำกข้นึ มาตรฐาน ท ๔.๑ เขำ้ ใจธรรมชำตขิ องภำษำและหลกั ภำษำไทย กำรเปลีย่ นแปลงของภำษำ และพลังของภำษำ ภมู ปิ ัญญำทำงภำษำ และรักษำภำษำไทยไว้เป็นสมบัติ ของชำติ ตัวชว้ี ัด ท ๔.๑ ม. ๑/๒ สร้ำงคำในภำษำไทย จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ความรู้ อธิบำยลักษณะ ประเภท และควำมหมำยของคำซ้ำ ทกั ษะ/กระบวนการ สรำ้ งคำซำ้ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เห็นควำมสำคัญของกำรสร้ำงคำในภำษำไทยท่ีทำใหม้ ีคำใช้เพิ่มมำกขึน้ สาระการเรยี นรู้ คำซำ้ กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน ครทู บทวนเรือ่ งคำประสม คำซ้อน และให้นกั เรยี นอธบิ ำยควำมแตกต่ำงของคำประสม คำซ้อน จำกนัน้ ครูเขียน (ๆ) ให้นักเรียนดูบนกระดำน และร่วมกันสนทนำเกยี่ วกับ (ๆ) ข้นั พัฒนาผู้เรียน ๑. นกั เรยี นอ่ำนแถบประโยคทคี่ รตู ดิ บนกระดำน แลว้ สังเกตคำทีค่ รเู น้น ช่วยกนั อธบิ ำยควำมหมำย ของคำ นอ้ งเดินทีส่ วนสนกุ ข้ำงบำ้ น น้องๆ เดินทีส่ วนสนกุ ขำ้ งบำ้ น

สมศรใี สเ่ สอ้ื สีเขียว สมศรใี ส่เสอ้ื สีเขียว ๆ ๒. นักเรยี นศึกษำควำมร้เู รื่อง คำซ้ำ แล้วร่วมกันสนทนำในประเดน็ ต่อไปนี้ (ครูอธบิ ำยดพิ่มเตมิ ) - คำซำ้ มลี ักษณะอย่ำงไร - คำซำ้ ไมเ่ ปลีย่ นเสยี งเปน็ อย่ำงไร พร้อมยกตัวอย่ำงคำ - คำซ้ำเปลี่ยนเสยี งเป็นอยำ่ งไร พรอ้ มยกตัวอย่ำงคำ - ควำมหมำยของคำซำ้ มลี ักษณะใดบำ้ ง พร้อมยกตวั อย่ำงคำ ๔. นักเรียนจับคคู่ ดิ คำซ้ำค่ลู ะ ๑ คำ และคิดท่ำทำงเพ่ือใบ้คำนั้นใหเ้ พ่อื นทำย เมื่อครเู รียกคู่ใดใหท้ ั้ง สองคนออกไปแสดงท่ำทำง หลงั จำกเพ่ือนทำยแลว้ ใหเ้ ฉลยคำตอบ ทุกคนตรวจสอบควำมถกู ต้องของคำและ กำรแสดงทำ่ ทำงเพอ่ื สื่อควำมหมำย ๕. นกั เรียนทำแบบฝึกหดั เร่ือง คำซ้ำ (เสร็จแล้วสง่ ในชัว่ โมง) ขั้นสรุป นักเรียนและครรู ่วมกนั สรปุ ควำมรู้ ดงั น้ี คำซำ้ เกิดจำกกำรนำคำมูลคำเดมิ มำกล่ำวหรอื เขยี นซำ้ อกี คร้ังหนงึ่ แล้วเกิดเปน็ คำทม่ี ี ควำมหมำยใหม่หรือยงั คงมีเค้ำของควำมหมำยเดิม ในกำรเขียนจะใช้ไมย้ มก (ๆ) แทนคำซำ้ กำรสร้ำงคำซ้ำทำให้ ภำษำไทยมคี ำใช้เพม่ิ มำกข้นึ สื่อการเรียนรู้ บัตรคำ, แถบประโยค การวัดผลประเมนิ ผล ๑. วิธกี ารวดั และประเมนิ ผล ๑) สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในกำรเข้ำร่วมกจิ กรรม ๒) ตรวจผลงำนของนกั เรียน ๒. เครือ่ งมือ ๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรม ๓. เกณฑก์ ารประเมนิ ๑) กำรประเมนิ พฤตกิ รรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรม ผำ่ นตั้งแต่ ๒ รำยกำร ถือวำ่ ผา่ น ผำ่ น ๑ รำยกำร ถือวำ่ ไม่ผ่าน

แผนการจัดการเรยี นรู้ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย เวลา ๑๗ ชวั่ โมง หน่วยท่ี ๑ นิราศภเู ขาทอง เวลา ๑ ช่วั โมง แผนการเรียนรูท้ ่ี ๔ การอ่านจบั ใจความ ภาคเรียนที่ ๑ ครผู สู้ อน นางสาวจิราพร กุลให้ สาระสาคญั กำรอ่ำนจับใจควำมเป็นกำรอ่ำนระดับพื้นฐำน ซ่ึงมีควำมสำคัญอย่ำงย่ิงในกำรศึกษำหำควำมรู้ มี วัตถุประสงค์เพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจเก่ียวกับข้อควำมหรือเร่ืองรำวท่ีอ่ำน ผู้ท่ีมีทักษะกำรอ่ำนจับใจควำมสูงจะ สำมำรถเข้ำใจเนื้อหำท่ีปรำกฏในข้อควำมหรือเรื่องท่ีอ่ำนอย่ำงรวดเร็วและแม่นยำ ซ่ึงจะเป็นพื้นฐำนในกำร วเิ ครำะห์หรอื ตีควำมเร่ืองรำวนน้ั ๆ ตอ่ ไป มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนกำรอำ่ นสรำ้ งควำมร้แู ละควำมคดิ เพือ่ นำไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ญั หำในกำรดำเนินชวี ิต และมนี สิ ยั รกั กำรอ่ำน ตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จบั ใจควำมสำคญั จำกเร่อื งที่อ่ำน เช่น ข่ำวสำรหรือเหตกุ ำรณ์ตำ่ งๆ ในปจั จบุ ัน หรือ เรื่องสั้น บทควำม นิทำนทีเ่ กี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ท ๑.๑ ม. ๑/๙ มีมำรยำทในกำรอ่ำน จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ความรู้ อธบิ ำยหลกั กำรอำ่ นจบั ใจควำม ทักษะกระบวนการ จับใจควำมสำคญั จำกเรือ่ งที่อำ่ น คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เห็นควำมสำคญั ของกำรอำ่ นจับใจควำม สาระการเรียนรู้ หลักกำรอำ่ นจับใจควำม กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขัน้ นาเข้าส่บู ทเรียน ครูอ่ำนข่ำวจำกหนังสือพิมพ์ให้นักเรยี นฟงั จำกนั้นใหน้ ักเรียนตอบคำถำมว่ำ ใคร ทำอะไร ท่ีไหน อยำ่ งไร จำกนน้ั ชว่ ยกันสรปุ เรือ่ งที่ได้ฟัง ข้นั พัฒนาผู้เรยี น

๑. นกั เรยี นศกึ ษำควำมรเู้ รื่อง กำรอำ่ นจับใจควำม แลว้ รว่ มกนั สรปุ ควำมเขำ้ ใจ ครูเปน็ ผู้อธบิ ำย เพิ่มเติม ๒. นักเรยี นอำสำสมัครออกมำหนำ้ ชั้นเรียน ๕ คน ครูใหน้ กั เรียนคนแรกมำอำ่ นข้อควำมท่ีครเู ตรียม ไวโ้ ดยอ่ำนในใจ ดังนี้ “ป้ำสมศรเี ดนิ ไปซื้อสม้ ตำท่ีท้ำยตลำด ปรำกฏวำ่ รำ้ นปิด ป้ำสมศรีเลยอดรบั ประทำนส้มตำฝีมอื ลุงสมศกั ดิ์ ปำ้ สมศรไี ด้แต่เดนิ กลับบ้ำนอย่ำงเศรำ้ ใจ” จำกน้ันให้คนแรกกระซิบบอกขอ้ ควำมที่อ่ำนกับเพ่อื นคนต่อไปเป็นทอด ๆ จนถึงคนสดุ ทำ้ ย แลว้ ใหค้ น สดุ ท้ำยบอกข้อควำมที่ได้ฟงั กับเพ่ือนในช้นั เรยี น หลงั จำกนั้นจงึ ใหค้ นแรกบอกข้อควำมที่อำ่ นจำกครใู ห้ทุกคน ฟังว่ำตรงกันหรือไม่ ๓. ครอู ธบิ ำยใหน้ กั เรยี นฟังว่ำ ในชีวิตประจำวนั เรำจะมโี อกำสไดน้ ำเร่อื งท่ีอำ่ นมำเล่ำให้ผู้อ่นื ฟังอยู่ เสมอ ดงั นัน้ กำรอำ่ นจับใจควำมจึงเปน็ เรอื่ งสำคัญ เพรำะจะไดน้ ำมำถำ่ ยทอดได้อย่ำงถูกตอ้ ง ๔. นักเรียนชว่ ยกนั ตั้งคำถำมท่ีสนใจเกยี่ วกับนิรำศภูเขำทอง ครบู ันทึกคำถำมเหล่ำน้ันบนกระดำน เช่น - สุนทรภอู่ อกเดินทำงจำกที่ใด - สนุ ทรภเู่ ดนิ ทำงไปอย่ำงไร - สนุ ทรภู่คดิ ถึงใครในขณะเดินทำง - สนุ ทรภู่เดนิ ทำงไปกบั ใคร - สุนทรภู่เดินทำงไปภูเขำทองเพอ่ื อะไร ๕. นักเรียนช่วยกันอ่ำนและแปลควำมคำประพันธใ์ นนิรำศภูเขำทองทลี ะ ครชู ่วยอธบิ ำยเพิ่มเตมิ ในขณะท่ีอ่ำนเมื่อพบคำตอบของคำถำมใหน้ ักเรียนบนั ทึกไว้ ข้ันสรุป นกั เรียนและครูรว่ มกันสรุปควำมรู้ ดังน้ี กำรอ่ำนจบั ใจควำมเป็นกำรอ่ำนระดับพน้ื ฐำน ซ่ึงมี ควำมสำคญั อย่ำงยิง่ ในกำรศึกษำหำควำมรู้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจเกย่ี วกับข้อควำมหรือเรื่องรำวที่ อำ่ น ผู้ทมี่ ที ักษะกำรอ่ำนจับใจควำมสูงจะสำมำรถเขำ้ ใจเนือ้ หำที่ปรำกฏในข้อควำมหรือเร่ืองท่ีอ่ำนอย่ำงรวดเรว็ และแม่นยำ ซ่ึงจะเป็นพื้นฐำนในกำรวเิ ครำะหห์ รอื ตีควำมเรื่องรำวน้ัน ๆ ตอ่ ไป สอื่ การเรียนรู้ ขำ่ ว, ตวั อยำ่ งขอ้ ควำม การวดั ผลประเมนิ ผล ๑. วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล ๑) สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมกำรอำ่ นจบั ใจควำม ๒) สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลุม่ ๓) ตรวจผลงำนของนักเรียน ๒. เครอ่ื งมือ ๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกำรอ่ำนจับใจควำม

๒) แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม ๓. เกณฑ์การประเมิน ๑) กำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรม ผ่ำนตัง้ แต่ ๒ รำยกำร ถือวำ่ ผา่ น ผ่ำน ๑ รำยกำร ถอื วำ่ ไม่ผา่ น ๒) กำรประเมินพฤตกิ รรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกล่มุ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ดมี ำก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ควรปรับปรงุ

แผนการจัดการเรียนรู้ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย เวลา ๑๗ ช่ัวโมง หน่วยที่ ๑ นริ าศภเู ขาทอง เวลา ๑ ชั่วโมง แผนการเรียนรทู้ ี่ ๕ คาศพั ทจ์ ากนริ าศภเู ขาทอง ภาคเรียนท่ี ๑ ครผู ูส้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ สาระสาคญั กำรเขำ้ ใจควำมหมำยของคำศัพท์จะทำให้ศึกษำวรรณคดีได้ชัดเจนมำกยงิ่ ขึ้น มำตรฐำน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนกำรอ่ำนสรำ้ งควำมรู้และควำมคิดเพื่อนำไปใช้ตดั สินใจ แกป้ ัญหำในกำรดำเนนิ ชวี ติ และมนี สิ ัยรกั กำรอำ่ น ตวั ชีว้ ดั ท ๑.๑ ม. ๑/๔ ระบุและอธิบำยคำเปรียบเทียบและคำทมี่ หี ลำยควำมหมำยในบรบิ ทตำ่ ง ๆ จำก กำรอำ่ น จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ความรู้ อธิบำยควำมหมำยของคำศัพทใ์ นนริ ำศภเู ขำทอง ทกั ษะ/กระบวนการ เขยี นคำศัพท์ในนริ ำศภูเขำทองตำมควำมหมำยท่ีกำหนด คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ เห็นควำมสำคัญของกำรเขำ้ ใจควำมหมำยคำศพั ท์เพ่ือนำไปใช้ในกำรศึกษำวรรณคดี สาระการเรยี นรู้ คำศัพทใ์ นนริ ำศภูเขำทอง กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขนั้ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น นกั เรยี นดรู ูปที่อยูบ่ นกระดำน และครูถำมนกั เรียนวำ่ บคุ คลท่อี ยูใ่ นรูปคือใคร (สุนทรภู่) จำกนน้ั กลำ่ วถงึ สนุ ทรภแู่ ลว้ นักเรียนนึกถึงสิ่งใดบำ้ ง ครนู ักเรยี นร่วมกนั สนทนำ และครเู ล่ำประวตั ิยอ่ ๆ ของสนุ ทรภใู่ ห้ นักเรียนฟัง ขัน้ พฒั นาผูเ้ รียน ๑. นกั เรยี นอ่ำนบทนำเร่อื งนริ ำศภูเขำทอง แล้วร่วมกันสนทนำในประเด็นต่อไปน้ี - นริ ำศภเู ขำทองเปน็ บทประพันธข์ องกวที ำ่ นใด - วรรณคดีท่ีแตง่ เป็นนิรำศมีลักษณะเดน่ อยำ่ งไร - ทม่ี ำของนิรำศภูเขำทองเปน็ อยำ่ งไร

- นกั วรรณคดีเปรียบเทยี บนิรำศภเู ขำทองกบั นริ ำศเมืองแกลงไวอ้ ยำ่ งไร - “นกั เลงกลอนนอนเปลำ่ กเ็ ศร้ำใจ” หมำยควำมว่ำอย่ำงไร ๒. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุม่ ละ ๕ คน แลว้ ชว่ ยกันคน้ หำคำศัพท์จำกนริ ำศภูเขำทองทีม่ ีควำมหมำยตรง กับทกี่ ำหนด ๓. นกั เรียนแต่ละกลุม่ ส่งตัวแทนออกมำอำ่ นควำมหมำยท่ีได้รับพรอ้ มเฉลยคำศัพท์ นักเรียนทกุ คน ชว่ ยกันตรวจสอบควำมถกู ตอ้ งและเขยี นคำศัพท์ลงในตำรำงปริศนำอักษรไขว้ ๔. นักเรยี นคน้ หำและรวบรวมคำศัพท์จำกนริ ำศภเู ขำทองเป็นหมวดหมู่ ดังน้ี - ชือ่ สัตว์ - ชื่อพืช - ช่ือสิ่งของเครอ่ื งใช้ - ชือ่ สิ่งกอ่ สร้ำง - ชอ่ื สถำนท่ี ๕. ครสู ุ่มตวั แทนนักเรียนออกมำอำ่ นชอ่ื ทีร่ วบรวมไดใ้ ห้เพอื่ นฟังหน้ำชั้นเรยี น ครูช่วยเพิ่มเติม ๖. นักเรยี นเขียนคำศัพทใ์ หต้ รงกับภำพท่กี ำหนด ทกุ คนรว่ มกันตรวจสอบควำมถูกตอ้ ง ขน้ั สรุป นกั เรยี นและครรู ว่ มกันสรุปควำมรู้ ดังนี้ กำรเขำ้ ใจควำมหมำยของคำศพั ท์จะทำใหศ้ ึกษำวรรณคดี ไดช้ ัดเจนมำกยิ่งข้นึ ส่ือการเรียนรู้ รูปสุนทรภู่ การวัดผลประเมนิ ผล ๑. วธิ กี ารวัดและประเมินผล ๑) สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนกำรหำควำมหมำยของคำศัพท์ในนิรำศภูเขำทอง ๒) สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในกำรเขำ้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ ๓) ตรวจผลงำนของนกั เรยี น ๒. เครือ่ งมอื ๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรกำรหำควำมหมำยของคำศัพท์ในนริ ำศภูเขำทอง ๒) แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม ๓. เกณฑก์ ารประเมนิ ๑) กำรประเมนิ พฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรม ผำ่ นตัง้ แต่ ๒ รำยกำร ถอื ว่ำผ่าน ผำ่ น ๑ รำยกำร ถอื ว่ำไมผ่ า่ น ๒) กำรประเมินพฤตกิ รรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกล่มุ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ดมี ำก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ควรปรับปรุง

แผนการจดั การเรยี นรู้ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เวลา ๑๗ ชวั่ โมง หนว่ ยท่ี ๑ นริ าศภเู ขาทอง เวลา ๑ ชัว่ โมง แผนการเรยี นรู้ท่ี ๖ อ่านสรุปความ: การเดนิ ทางของสุนทรภู่ ภาคเรยี นที่ ๑ ครผู ู้สอน นางสาวจิราพร กุลให้ สาระสาคัญ สุนทรภ่เู ดนิ ทำงออกจำกวดั รำชบูรณะเพ่ือไปนมสั กำรพระเจดยี ภ์ เู ขำทองทีว่ ัดภูเขำทองในจงั หวัด พระนครศรอี ยุธยำ ระหวำ่ งกำรเดินทำงทำ่ นได้กล่ำวถึงสถำนท่ีและส่ิงท่ีพบเหน็ ตำ่ ง ๆ พร้อมทั้งพรรณนำควำม โศกเศร้ำและควำมอำลัยอำวรณท์ ่ีมตี ่อพระบำทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้ำนภำลัย มาตรฐานการเรยี นรู้ มำตรฐำน ท ๕.๑ เข้ำใจและแสดงควำมคิดเหน็ วจิ ำรณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทย อย่ำงเห็นคุณคำ่ และนำมำประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจริง ตวั ชว้ี ดั ท ๕.๑ ม. ๑/๑ สรปุ เน้ือหำวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่ำน จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ความรู้ สรุปเน้อื หำในนิรำศภูเขำทอง ทกั ษะ/กระบวนการ อภิปรำยเกยี่ วกับเน้ือหำในนิรำศภเู ขำทอง คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เหน็ ควำมสำคัญของกำรสรปุ เนื้อหำเรื่องท่ีอำ่ น สาระการเรยี นรู้ อำ่ นสรปุ ควำมจำกกำรเดินทำงของสนุ ทรภใู่ นนริ ำศภเู ขำทอง กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน นักเรียนแสดงควำมคิดเหน็ เกี่ยวกับ จังหวัดพระนครศรอี ยุธยำ วำ่ ถ้ำกล่ำวถึง จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยำ นักเรียนคิดถึงสงิ่ ใด และในปจั จุบนั กำรเดินทำงไปจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยำไปทำงใดได้ บ้ำง ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สนทนำ ข้ันพฒั นาผเู้ รียน ๑. นักเรยี นแบง่ กลุ่ม ๕ กลุ่ม ครูกำหนดคำประพนั ธใ์ นนริ ำศภูเขำทอง ใหแ้ ต่ละกล่มุ สรปุ ใจควำม สำคัญของเนอื้ เรื่องแตล่ ะชว่ ง ดงั นี้ กลุม่ ที่ ๑ ตงั้ แตอ่ อกเดินทำงจนถึงโรงเหล้ำ กล่มุ ท่ี ๒ ต้ังแต่บำงจำกจนถึงบำงธรณี กล่มุ ที่ ๓ ต้งั แตบ่ ้ำนมอญ (เกำะเกร็ด) จนถงึ บ้ำนงิว้

กลุ่มที่ ๔ ตัง้ แต่ “พระสุรยิ งลงลบั พยับฝน” จนถึง “ชัยชนะมำรได้ดังใจปอง” กลมุ่ ที่ ๕ ต้งั แต่ “คร้ันรงุ่ เชำ้ เขำ้ เปน็ วนั อุโบสถ” จนจบ ๒. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนออกมำสรปุ ใจควำมสำคัญใหเ้ พอื่ นฟังหนำ้ ชนั้ เรียน ในขณะที่ฟังให้ นกั เรยี นบนั ทึกสถำนทท่ี ี่สนุ ทรภ่เู ดินทำงผ่ำน ๓. ครูแจกบัตรคำที่เปน็ ชือ่ สถำนทใี่ นนริ ำศภูเขำทองใหน้ กั เรียน จำกนน้ั ช่วยกนั นำมำติดบนกระดำน เพื่อแสดงเสน้ ทำงในกำรเดนิ ทำงของสุนทรภู่ ดังนี้ วัดรำชบูรณะ  ลำนำ้ เจ้ำพระยำ  พระบรมมหำรำชวัง  วดั ประโคนปัก โรงเหล้ำ  บำงจำก  บำงพลู  บำงพลัด  บำงโพ  บำ้ นญวน วดั เขมำ  ตลำดแก้ว  ตลำดขวญั  บำงธรณี  เกำะเกรด็  บำงพูด บ้ำนใหม่  บำงเดื่อ  บำงหลวง  สำมโคก  บ้ำนง้วิ  เกำะใหญ่รำชครำม พระนครศรีอยธุ ยำ  วัดพระเมรุ  วัดภเู ขำทอง ๔. นักเรียนสรปุ เสน้ ทำงกำรเดินทำงของสนุ ทรภู่ แล้วรว่ มกันอภิปรำยเกี่ยวกบั ช่ือสถำนทเี่ พื่อเพิ่ม ควำมรู้ควำมเข้ำใจ ครูอธบิ ำยเพิม่ เติม ขั้นสรุป นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ควำมรู้ ดงั น้ี สนุ ทรภู่เดนิ ทำงออกจำกวดั รำชบูรณะเพื่อไปนมสั กำรพระ เจดียภ์ เู ขำทองทว่ี ดั ภเู ขำทองในจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยำ ระหวำ่ งกำรเดินทำงท่ำนได้กล่ำวถงึ สถำนทแ่ี ละสิ่งท่ี พบเห็นตำ่ ง ๆ พรอ้ มทง้ั พรรณนำควำมโศกเศรำ้ และควำมอำลัยอำวรณ์ท่มี ีต่อพระบำทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้ำนภำลัย สื่อการเรียนรู้ บตั รคำ

การวดั ผลประเมนิ ผล ๑. วธิ ีการวดั และประเมินผล ๑) สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนกำรอ่ำนสรุปเน้ือเรอ่ื งนิรำศภูเขำทอง ๒) สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในกำรเขำ้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ ๓) ตรวจผลงำนของนักเรียน ๒. เครื่องมอื ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมกำรอ่ำนสรุปเนอ้ื เรอื่ งนริ ำศภเู ขำทอง ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลุ่ม ๓. เกณฑ์การประเมิน ๑) กำรประเมนิ พฤตกิ รรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรม ผ่ำนตัง้ แต่ ๒ รำยกำร ถอื ว่ำผา่ น ผำ่ น ๑ รำยกำร ถือวำ่ ไมผ่ ่าน ๒) กำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลมุ่ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ดมี ำก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ควรปรบั ปรุง การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) กำรประเมนิ กจิ กรรมกำรอำ่ นจบั ใจควำมให้ผสู้ อนพิจำรณำจำกเกณฑก์ ำรประเมนิ ผลตำมสภำพจรงิ (Rubrics) เร่อื ง กำรอำ่ นจับใจควำม ระดับคะแนน ๔ ๓๒๑ เกณฑ์การประเมนิ จับใจควำม จบั ใจควำม จับใจควำม จบั ใจควำม กำรอ่ำน จับใจควำม ไดถ้ ูกต้อง ได้ถูกต้อง ไดถ้ ูกตอ้ ง ได้อยำ่ งคร่ำว ๆ มสี ำระสำคญั มีสำระสำคัญ แต่ขำดสำระสำคัญ ครบถว้ นเมอื่ ครบถว้ น แตต่ ้อง บำงส่วน อ่ำนเร่ือง ๑-๒ คร้งั อ่ำนเรอื่ งบำงชว่ ง มำกกวำ่ ๒ ครัง้

แผนการจดั การเรียนรู้ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เวลา ๑๗ ชัว่ โมง หน่วยท่ี ๑ นิราศภูเขาทอง เวลา ๑ ชั่วโมง แผนการเรยี นรู้ที่ ๗ จบั คูต่ ามความหมาย ภาคเรียนที่ ๑ ครูผ้สู อน นางสาวจิราพร กุลให้ สาระสาคญั ในนิรำศภูเขำทองมีคำประพันธ์ท่ีมีควำมหมำยสัมพันธ์กับสำนวนท่ีเป็นคำพังเพยและสุภำษิต ซึ่งควร วิเครำะห์ให้เข้ำใจเพ่ือนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และควรศึกษำกลวิธีกำรประพันธ์สำหรับใช้ในกำรพินิจคุณค่ำ ทำงวรรณศิลป์ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม เพื่อใหเ้ ห็นคุณคำ่ และสำมำรถนำมำใชใ้ นกำรแต่งคำประพนั ธ์ได้ มำตรฐำน ท ๔.๑ เขำ้ ใจธรรมชำตขิ องภำษำและหลักภำษำไทย กำรเปลีย่ นแปลงของภำษำ และพลงั ของภำษำ ภมู ปิ ญั ญำทำงภำษำ และรักษำภำษำไทยไว้เป็นสมบัติ ของชำติ ตัวชีว้ ดั ท ๔.๑ ม. ๑/๖ จำแนกและใช้สำนวนท่ีเปน็ คำพงั เพยและสุภำษิต จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ความรู้ ๑. อธบิ ำยควำมหมำยของสำนวน ๒. อธิบำยกลวธิ ีกำรประพนั ธ์ ทกั ษะ/กระบวนการ ๑. จบั คู่สำนวนท่มี คี วำมหมำยสัมพนั ธก์ ับคำประพันธ์ในนริ ำศภเู ขำทอง ๒. วเิ ครำะห์กลวธิ ีกำรประพนั ธ์ท่ีใชใ้ นนิรำศภเู ขำทอง คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เห็นควำมสำคญั ของกำรเรียนรสู้ ำนวนและกลวิธกี ำรประพันธ์ สาระการเรยี นรู้ ๑. สำนวนที่เป็นคำพงั เพยและสุภำษติ ๒. กลวธิ ีกำรประพันธ์ กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขัน้ นาเข้าสูบ่ ทเรียน ครอู ่ำนทำนองเสนำะจำกนริ ำศภูเขำทองเปน็ ตัวอย่ำง จำกน้นั นกั เรยี นอ่ำนออกเป็นเสยี งรอ้ ยกรองใน นริ ำศภเู ขำทอง ครอู ธิบำยเพิ่มเติมในกำรอ่ำนทำนองเสนำะ

ขนั้ พฒั นาผู้เรียน ๑. นกั เรยี นอ่ำนคำประพนั ธ์จำกแถบข้อควำมบนกระดำน ดงั นี้ เหมือนคนพำลหวำนนอกยอ่ มขมใน ๒. นักเรยี นช่วยกนั คดิ หำสำนวนทมี่ คี วำมหมำยสอดคลอ้ งกับคำประพันธน์ ี้ คือ ข้ำงนอกสุกใส ข้ำงในเป็นโพรง ๓. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม ๗ กลุ่ม สง่ ตวั แทนออกมำรบั สำนวนจำกครกู ลมุ่ ละ ๑ สำนวน ดงั นี้ ๑) เพ่อื นกินหำงำ่ ย เพื่อนตำยหำยำก ๒) พดู ดเี ป็นศรีแก่ตวั ๓) ผักชโี รยหนำ้ ๔) ผซี ำ้ ดำ้ พลอย ๕) อยำ่ ใฝส่ ูงจนเกนิ ศักด์ิ ๖) ใดใดในโลกลว้ นอนจิ จงั ๗) พูดชั่วอัปรำชยั ๔. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มหำคำประพันธ์ในนริ ำศภเู ขำทองที่มีควำมหมำยสอดคลอ้ งกบั สำนวนที่ได้รบั กลุ่มใดหำพบแล้วใหย้ กมือขึน้ เม่ือครบทุกกลุ่มแล้วให้ตวั แทนกลมุ่ ยนื ข้นึ อธิบำยควำมหมำยของสำนวน และ อ่ำนคำประพนั ธ์ทีห่ ำไวใ้ หเ้ พื่อนฟัง กล่มุ อ่ืน ๆ ร่วมกนั ตรวจสอบควำมถูกต้อง ๕. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศึกษำควำมรู้เรอื่ ง กลวธิ ีกำรประพันธ์ แลว้ รว่ มกนั ทำควำมเข้ำใจในกล่มุ ของ ตนเอง ๖. นักเรยี นร่วมกนั อภิปรำยเกี่ยวกับกลวธิ กี ำรประพนั ธ์ พร้อมยกตวั อยำ่ งคำประพันธ์ เช่น สทั พจน์ อวพจน์ อตพิ จน์ บุคคลวัต อุปมำ อพั ภำส กำรเล่นเสยี งสัมผสั สระ กำรเล่นเสยี งสมั ผสั อักษร กำรเล่นคำซำ้ กำรเล่นคำพอ้ ง กำรเล่นเสียงวรรณยกุ ต์ ครูช่วยอธบิ ำยเพ่ิมเติมใหส้ มบูรณ์ ขนั้ สรุป นกั เรียนและครูรว่ มกันสรปุ ควำมรู้ ดังน้ี นริ ำศภูเขำทองมีคำประพนั ธ์ที่มีควำมหมำยสมั พันธ์กับ สำนวนที่เปน็ คำพังเพยและสุภำษิต ซ่ึงควรวเิ ครำะห์ให้เขำ้ ใจเพ่ือนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน และควรศึกษำกลวธิ ี กำรประพนั ธส์ ำหรบั ใช้ในกำรพินจิ คณุ คำ่ ทำงวรรณศลิ ปข์ องวรรณคดีและวรรณกรรม เพื่อใหเ้ ห็นคุณค่ำและ สำมำรถนำมำใช้ในกำรแตง่ คำประพันธไ์ ด้ สื่อการเรียนรู้ แถบประโยค การวดั ผลประเมนิ ผล

๑. วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล ๑) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในกำรเข้ำร่วมกิจกรรม ๒) สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลมุ่ ๓) ตรวจผลงำนของนักเรียน ๒. เคร่ืองมอื ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมกำรเขำ้ รว่ มกจิ กรรม ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมกลุ่ม ๓. เกณฑก์ ารประเมิน ๑) กำรประเมินพฤตกิ รรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรม ผ่ำนตั้งแต่ ๒ รำยกำร ถอื ว่ำผ่าน ผ่ำน ๑ รำยกำร ถอื ว่ำไมผ่ า่ น ๒) กำรประเมินพฤตกิ รรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมกลุ่ม คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ดีมำก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ควรปรบั ปรุง

แผนการจดั การเรยี นรู้ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เวลา ๑๗ ชั่วโมง หนว่ ยท่ี ๑ นริ าศภเู ขาทอง เวลา ๑ ชว่ั โมง แผนการเรยี นรู้ท่ี ๘ คตคิ วามเช่อื สุนทรภู่ในนริ าศภเู ขาทอง ภาคเรยี นท่ี ๑ ครผู ู้สอน นางสาวจริ าพร กุลให้ สาระสาคญั สนุ ทรภูแ่ สดงควำมคิดและควำมเชือ่ ไวใ้ นนิรำศภเู ขำทองเม่ือเดนิ ทำงถึงสถำนท่ีต่ำง ๆ ได้อยำ่ งลึกซึ้ง มาตรฐานการเรยี นรู้ มำตรฐำน ท ๔.๑ เขำ้ ใจธรรมชำติของภำษำและหลกั ภำษำไทย กำรเปลย่ี นแปลงของภำษำ และพลังของภำษำ ภูมิปัญญำทำงภำษำ และรักษำภำษำไทยไว้เป็นสมบตั ิ ของชำติ ตวั ช้วี ดั ท ๔.๑ ม. ๑/๖ จำแนกและใช้สำนวนที่เปน็ คำพังเพยและสภุ ำษิต จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ความรู้ อธิบำยควำมคิดและควำมเช่ือทป่ี รำกฏในนริ ำศภเู ขำทอง ทกั ษะ/กระบวนการ ๑. วเิ ครำะห์ควำมคดิ และควำมเช่ือในนิรำศภเู ขำทอง ๒. เช่ือมโยงควำมคิดและควำมเชื่อจำกนิรำศภูเขำทองกับสำนวนไทย คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เหน็ คุณคำ่ ของวรรณคดที ส่ี ะท้อนควำมคิดและควำมเชอ่ื ของคนไทย สาระการเรยี นรู้ ควำมคดิ และควำมเช่ือในนิรำศภเู ขำทอง กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขนั้ นาเข้าสู่บทเรียน นักเรียนอำ่ นทำนองเสนำะพร้อมกนั ครแู นะนำกำรอำ่ นออกเสียงให้ถูกต้อง ข้ันพัฒนาผเู้ รยี น ๑. นกั เรยี นรว่ มกนั สนทนำเกีย่ วกับควำมเชื่อตำ่ ง ๆ ของคนไทยท่เี คยได้รบั กำรถ่ำยทอดจำกผู้ใหญ่ ๒. นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม และแต่ละกลุม่ ส่งตัวแทนออกมำจบั ฉลำกหมำยเลขประจำแถบขอ้ ควำมทีม่ ีคำ ประพนั ธ์ ดังน้ี

๑ ดว้ ยไร้ญำติยำกแคน้ ถึงแสนเข็ญ พระนิพพำนปำนประหนึง่ ศรี ษะขำด ไม่เล็งเหน็ ท่ีซึ่งจะพึง่ พำ ทง้ั โรคซำ้ กรรมซดั วิบตั ิเปน็ ประพฤติฝ่ำยสมถะทงั้ วสำ จงึ สร้ำงพรตอตส่ำหส์ ่งสว่ นบญุ ถวำย ขอเป็นขำ้ เคยี งบำททุกชำตไิ ป เป็นส่งิ ของฉลองคณุ มลุ ิกำ ไมเ่ หน็ หลกั ลือเล่ำวำ่ เสำหิน ๒๒ มริ ู้ส้ินสดุ ช่ือทลี่ อื ชำ ถงึ อำรำมนำมวัดประโคนปกั แมน้ มอดมว้ ยกลับชำติวำสนำ อยคู่ ู่ฟ้ำดนิ ไดด้ งั ใจปอง เป็นสำคัญปนั แดนในแผ่นดิน แพประจำจอดรำยเขำขำยของ ขอเดชะพระพุทธคุณชว่ ย ทั้งสง่ิ ของขำวเหลืองเครื่องสำเภำ อำยยุ ืนหมนื่ เท่ำเสำศลิ ำ ไปพน้ วัดทัศนำริมท่ำนำ้ มีแพรผำ้ สำรพดั สมี ว่ งตอง ๓ มีคันโพงผกู สำยไว้ปลำยเสำ ถึงโรงเหลำ้ เตำกลั่นควันโขมง ให้มวั เมำเหมือนหนึง่ บ้ำเป็นน่ำอำย พระสรรเพชญโพธญิ ำณประมำณหมำย โอบ้ ำปกรรมน้ำนรกเจยี วอกเรำ ไมใ่ กล้กรำยแกล้งเมินก็เกินไป ทำบุญบวชกรวดน้ำขอสำเรจ็ สดุ จะหักหำ้ มจิตคดิ ไฉน ถึงสุรำพำรอดไม่วอดวำย แต่เมำใจน้ปี ระจำทุกค่ำคนื ไม่เมำเหลำ้ แลว้ แต่เรำยังเมำรัก ถึงเมำเหลำ้ เชำ้ สำยก็หำยไป ผหู้ ญิงเกลำ้ มวยงำมตำมภำษำ ทง้ั ผดั หนำ้ จับเขม่ำเหมือนชำวไทย ๔๔ เหมอื นอย่ำงเยี่ยงชำยหญิงท้งั วสิ ยั ถึงเกร็ดยำ่ นบ้ำนมอญแต่กอ่ นเกำ่ ทจ่ี ิตใครจะเป็นหนึง่ อย่ำพงึ คิด เด๋ียวนี้มอญถอนไรจกุ เหมือนตุ๊กตำ โอ้สำมัญผนั แปรไม่แทเ้ ท่ยี ง นี่หรือจติ คิดหมำยมีหลำยใจ

๕ ถึงสำมโคกโศกถวลิ ถึงปน่ิ เกล้ำ พระพุทธเจำ้ หลวงบำรุงซึ่งกรุงศรี ประทำนนำมสำมโคกเป็นเมืองตรี ชือ่ ปทมุ ธำนเี พรำะมีบัว โอ้พระคณุ สูญลับไมก่ ลับหลัง แตช่ ือ่ ต้ังกย็ ังอยูเ่ ขำรูท้ ัว่ แต่เรำนท้ี ีส่ นุ ทรประทำนตวั ไม่รอดชั่วเชน่ สำมโคกยงิ่ โศกใจ สน้ิ แผน่ ดนิ สิน้ นำมตำมเสด็จ ต้องเที่ยวเตร็ดเตร่หำท่อี ำศยั แมน้ กำเนิดเกดิ ชำติใดใด ขอให้ได้เปน็ ข้ำฝำ่ ธุลี สิน้ แผ่นดนิ ขอให้ส้ินชีวติ บำ้ ง อยำ่ รรู้ ำ้ งบงกชบทศรี เหลอื อำลัยใจตรมระทมทวี ทุกวนั นีก้ ซ็ ังตำยทรงกำยมำ ๖ ไมม่ ีฝงู สัตว์สิงกงิ่ พฤกษำ ถงึ บ้ำนงวิ้ เหน็ แต่งิ้วละลวิ่ สงู นกึ ก็น่ำกลวั หนำมขำมขำมใจ ดังขวำกแซมเสย้ี มแทรกแตกไสว ด้วยหนำมดกรกดำษระดะตำ กต็ อ้ งไปปนี ต้นน่ำขนพอง งวิ้ นรกสิบหกองคุลแี หลม ยังคลำดแคลว้ ครองตวั ไม่มัวหมอง ใครทำชคู้ ่ทู ่ำนครัน้ บรรลัย เจยี นจะต้องปีนบำ้ งหรอื อย่ำงไร เรำเกดิ มำอำยุเพียงนแ้ี ลว้ ทกุ วนั นว้ี ปิ รติ ผิดทำนอง ถึงเมื่อยำมยงั อุดมโสมนสั อยแู่ วดล้อมหลำยคนปรนนบิ ัติ ๗ วังเวงจติ คดิ คะนึงรำพึงควำม ช่วยน่ังปดั ยุงให้ไม่ไกลกำย สำรวลกับเพอ่ื นรักสะพรกั พร้อม โอ้ยำมเข็ญเห็นอยูแ่ ต่หนูพัด คิดถึงครัง้ ก่อนมำนำ้ ตำไหล กจ็ ะไดร้ ับนมิ นต์ขน้ึ บนจวน ๘ มำทำงท่ำหน้ำจวนจอมผู้ร้งั อกมิแตกเสียหรือเรำเขำจะสรวล จะแวะหำถำ้ ท่ำนเหมอื นเม่อื เป็นไวย จะตอ้ งมว้ นหนำ้ กลับอัประมำณ แตย่ ำมยำกหำกว่ำถำ้ ท่ำนแปลก เหมอื นเข็ญใจใฝ่สงู ไม่สมควร

๙ ดว้ ยพระพำยพดั เวียนดเู หียนหนั แตท่ กุ วนั นชี้ รำหนักหนำนัก มีห้องถ้ำสำหรบั จุดเทยี นถวำย เผยอแยกยอดทรุดกห็ ลดุ หกั เปน็ ลมทักษิณำวรรตน่ำอัศจรรย์ เสยี ดำยนกั นึกน่ำน้ำตำกระเด็น ทง้ั องค์ฐำนรำนรำ้ วถงึ เก้ำแฉก จะมิหมดลว่ งหนำ้ ทนั ตำเห็น โอ้เจดีย์ทส่ี รำ้ งยังร้ำงรัก คิดก็เปน็ อนจิ จงั เสยี ทัง้ น้นั กระนี้หรือช่ือเสียงเกียรติยศ เปน็ ผ้ดู มี ีมำกแลว้ ยำกเยน็ บรรจุธำตุทีต่ ั้งนรังสรรค์ เป็นอนันต์อำนิสงส์ดำรงกำย ๑๐ ให้บริสุทธส์ิ มจิตทคี่ ดิ หมำย ขอเดชะพระเจดยี ์คริ ีมำศ แสนสบำยบริบรู ณ์ประยรู วงศ์ ให้ชนะใจได้อยำ่ ใหลหลง ข้ำอตุ สำ่ หม์ ำเคำรพอภิวนั ท์ ทง้ั ใหท้ รงศลี ขนั ธ์ในสนั ดำน จะเกิดชำตใิ ดใดในมนุษย์ อยำ่ เมำมวั หมำยรกั สมัครสมำน ท้ังทกุ ข์โศกโรคภัยอย่ำใกล้กรำย ตรำบนพิ พำนชำติหน้ำให้ถำวร ท้งั โลโภโทโสและโมหะ ขอฟุ้งเฟ่ืองเรืองวชิ ำปญั ญำยง อีกสองส่ิงหญงิ รำ้ ยและชำยชวั่ ขอสมหวงั ตง้ั ประโยชนโ์ พธญิ ำณ ๓. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเครำะห์ควำมคิดและควำมเชื่อในคำประพันธ์ท่ีได้รับ และแต่ละกลุ่มส่ง ตัวแทนออกมำนำเสนอผลกำรวิเครำะห์ ๔. นักเรียนรว่ มกันแสดงควำมคดิ เหน็ เพิม่ เติม และช่วยกันคิดหำสำนวนไทยทีส่ อดคล้องกบั ควำมคิด และควำมเช่ือดังกล่ำว ๕. นักเรียนช่วยกันจับคู่ควำมคิดหรือควำมเช่ือกับสถำนท่ีที่กำหนดให้สัมพันธ์กันและร่วมกัน ตรวจสอบควำมถกู ต้อง ขั้นสรุป นกั เรียนและครูร่วมกันสรปุ ควำมรู้ ดังน้ี สุนทรภแู่ สดงควำมคดิ และควำมเชอ่ื ไว้ในนริ ำศภูเขำทองเมอ่ื เดินทำงถงึ สถำนที่ต่ำง ๆ ได้อย่ำงลึกซ้งึ ส่ือการเรียนรู้ แถบข้อควำม

การวดั ผลประเมนิ ผล ๑. วธิ ีการวดั และประเมินผล ๑) สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในกำรเขำ้ รว่ มกิจกรรม ๒) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมกลุม่ ๓) ตรวจผลงำนของนกั เรยี น ๒. เคร่ืองมอื ๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรม ๒) แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมกลุ่ม ๓. เกณฑก์ ารประเมิน ๑) กำรประเมินพฤตกิ รรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรม ผำ่ นตงั้ แต่ ๒ รำยกำร ถอื ว่ำผ่าน ผำ่ น ๑ รำยกำร ถอื วำ่ ไมผ่ า่ น ๒) กำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลุ่ม คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ดีมำก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ควรปรบั ปรงุ

แผนการจัดการเรยี นรู้ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย เวลา ๑๗ ชัว่ โมง หน่วยที่ ๑ นิราศภเู ขาทอง เวลา ๑ ชั่วโมง แผนการเรยี นรู้ที่ ๙ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ภาคเรยี นที่ ๑ ครูผ้สู อน นางสาวจิราพร กลุ ให้ สาระสาคัญ นิรำศมีลกั ษณะคำประพนั ธเ์ ช่นเดยี วกับกลอนสภุ ำพ กำรอ่ำนออกเสยี งบทร้อยกรองให้ไพเรำะควร คำนึงถงึ กำรเอือ้ สมั ผสั ของคำใหม้ ีเสยี งคลอ้ งจองกัน และใช้นำ้ เสียงให้สอดคล้องกับเนื้อเรื่อง มาตรฐานการเรียนรู้ มำตรฐำน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนกำรอ่ำนสรำ้ งควำมรูแ้ ละควำมคิดเพอื่ นำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปญั หำในกำรดำเนนิ ชีวติ และมนี สิ ัยรักกำรอำ่ น ตัวช้วี ัด ท ๑.๑ ม. ๑/๑ อ่ำนออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมำะสมกับ เรือ่ งที่อ่ำน และอ่ำนออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองท่ีเก่ียวกับหลกั ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง หรือ คำ่ นิยม ๑๒ ประกำรได้ ท ๑.๑ ม. ๑/๙ มมี ำรยำทในกำรอำ่ น จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ความรู้ ๑. อธบิ ำยแนวทำงกำรอำ่ นออกเสียงบทร้อยกรอง ๒. อธิบำยกำรแบ่งจังหวะกำรอำ่ นนิรำศ ทักษะ/กระบวนการ อ่ำนออกเสียงนริ ำศภูเขำทอง คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เหน็ ควำมสำคัญของกำรอ่ำนออกเสียงบทร้อยกรองให้ไพเรำะ แสดงอำรมณ์สอดคล้อง กับเน้ือเรื่อง และมมี ำรยำทในกำรอ่ำน สาระการเรยี นรู้ อ่ำนออกเสยี งนิรำศ กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขั้นนาเข้าสู่บทเรยี น ครสู อบถำมนักเรียนว่ำ กำรอ่ำนออกเสยี งร้อยแกว้ กับกำรอ่ำนออกเสียงร้อยกรองตำ่ งกนั อย่ำงไร นักเรยี นร่วมกันอภิปรำย

ขั้นพฒั นาผเู้ รยี น ๑. นกั เรยี นศึกษำควำมรู้เรื่อง กำรอ่ำนออกเสียงบทร้อยกรอง และกำรอ่ำนกลอนสภุ ำพ รว่ มกันสรปุ ควำมเข้ำใจ ๒. ครูอธิบำยให้นกั เรยี นฟงั เกี่ยวกับลักษณะคำประพันธแ์ ละกำรอำ่ นนริ ำศ ซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับ กลอนสุภำพ ๓. นักเรยี นอำ่ นบัตรคำและแถบคำประพนั ธ์ท่ีครตู ดิ บนกระดำนเพอื่ เปรียบเทียบเสยี งอำ่ น ดังนี้ อดศิ ร อ่ำนวำ่ อะ - ดิ - สอน คิดถึงบำทบพติ รอดิศร อ่ำนวำ่ อะ - ดดิ - สอน ๔. นกั เรียนชว่ ยกันสงั เกตเสียงอ่ำนท่ถี ูกต้องของคำ และเสยี งอ่ำนของคำคำนนั้ เม่ืออย่ใู นคำประพนั ธ์ และอธิบำยว่ำเพรำะเหตุใดในคำประพนั ธ์จงึ ออกเสียงเช่นน้ัน (เพอ่ื ใหค้ ำมีเสยี งคล้องจองกันที่เรยี กว่ำ เอ้อื สมั ผสั ทำให้คำประพนั ธ์มีควำมไพเรำะมำกย่ิงขึน้ ) ๕. ครูนำบัตรคำและแถบคำประพันธต์ ิดบนกระดำนให้นักเรียนอ่ำนทีละคู่ ดังน้ี มลุ ิกำ อ่ำนว่ำ มุ - ลิ - กำ เปน็ สง่ิ ของฉลองคณุ มุลิกำ อ่ำนว่ำ มุน - ลิ - กำ ทิศำ อ่ำนวำ่ ทิ - สำ ดมู วั มนมืดมดิ ทุกทิศำ อ่ำนวำ่ ทิด - สำ อภิวันท์ อำ่ นวำ่ อะ - พิ - วนั ไดเ้ สร็จสำมรอบคำนบั อภวิ นั ท์ อำ่ นว่ำ อบั - พิ – วนั โพธญิ ำณ อำ่ นว่ำ โพ - ทิ - ยำน ขอสมหวังตง้ั ประโยชน์โพธญิ ำณ อำ่ นว่ำ โพด - ทิ - ยำน ๖. นักเรยี นฟังครอู ่ำนทำนองเสนำะนริ ำศภเู ขำทองหรอื ฟังจำกแถบบันทึกเสียง แล้วฝกึ อ่ำนตำม พร้อมกัน ๗. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม แลว้ แตล่ ะกลุ่มเลือกบทอำ่ นที่ครูกำหนด แลว้ ฝกึ อำ่ นทำนองเสนำะ โดยปฏิบัติ ตำมแนวทำงกำรอ่ำนออกเสียงบทรอ้ ยกรอง บทอำ่ นที่ครกู ำหนดมี ดังน้ี ๑ ถงึ หนำ้ วงั ดังหนงึ่ ใจจะขำด คิดถงึ บำทบพติ รอดิศร โอผ้ ่ำนเกลำ้ เจ้ำประคณุ ของสุนทร แต่ปำงก่อนเคยเฝำ้ ทกุ เชำ้ เย็น พระนิพพำนปำนประหนึง่ ศีรษะขำด ดว้ ยไร้ญำตยิ ำกแคน้ ถึงแสนเข็ญ ท้ังโรคซ้ำกรรมซัดวิบัตเิ ปน็ ไม่เล็งเหน็ ทซ่ี ึ่งจะพ่งึ พำ จงึ สร้ำงพรตอตส่ำห์ส่งสว่ นบุญถวำย ประพฤติฝำ่ ยสมถะทัง้ วสำ เปน็ สิ่งของฉลองคณุ มุลิกำ ขอเปน็ ขำ้ เคยี งบำททุกชำติไป

๒ มำผูกโบสถก์ ็ไดม้ ำบูชำชนื่ โอ้ปำงหลงั คร้งั สมเดจ็ บรมโกศ ทงั้ แปดหม่นื ส่ีพันได้วนั ทำ เพรำะตัวต้องตกประดำษวำสนำ ชมพระพิมพ์รมิ ผนังยงั ยั่งยนื พอนำวำติดชลเข้ำวนเวยี น โอค้ รัง้ น้มี ิไดเ้ ห็นเลน่ ฉลอง กลับกระฉอกฉำดฉัดฉวัดเฉวยี น เป็นบญุ น้อยพลอยนึกโมทนำ ดเู วยี นเวยี นควำ้ งควำ้ งเปน็ หว่ำงวน ดนู ำ้ ว่งิ กลิ้งเชี่ยวเปน็ เกลียวกลอก ครรไลลว่ งเลยทำงมำกลำงหน บำ้ งพลงุ่ พลุง่ ว้งุ วงเหมอื นกงเกวยี น ใจยงั วนหวังสวำทไม่คลำดคลำ ทั้งหวั ทำ้ ยกรำยแจวกระชำกจ้วง โอ้เรอื พ้นวนมำในสำชล ไม่มฝี งู สัตวส์ ิงกิ่งพฤกษำ นึกก็นำ่ กลวั หนำมขำมขำมใจ ๓ ดังขวำกแซมเสยี้ มแทรกแตกไสว กต็ ้องไปปีนตน้ น่ำขนพอง ถึงบ้ำนงิ้วเหน็ แตง่ ิว้ ละลว่ิ สงู ยงั คลำดแคลว้ ครองตวั ไม่มัวหมอง ด้วยหนำมดกรกดำษระดะตำ เจยี นจะต้องปีนบำ้ งหรอื อยำ่ งไร งิว้ นรกสบิ หกองคลุ แี หลม ใครทำชูค้ ูท่ ่ำนคร้ันบรรลยั ระดะดอกบวั เผื่อนเมื่อเดือนหงำย เรำเกดิ มำอำยเุ พียงนี้แล้ว ขำ้ งหนำ้ ทำ้ ยถอ่ มำในสำคร ทกุ วนั นี้วปิ ริตผิดทำนอง ดนู ำ่ รกั บรรจงสง่ เกสร กำ้ มกุ้งซ้อนเสียดสำหร่ำยใต้คงคำ ๔ เป็นเหล่ำเหลำ่ แลรำยทง้ั ซ้ำยขวำ จนเดือนเด่นเห็นเหล่ำกระจับจอก ดำษดำดขู ำวดงั ดำวพรำย เห็นร่องน้ำลำคลองทัง้ สองฝำ่ ย จนแจ่มแจ้งแสงตะวนั เหน็ พนั ธุ์ผกั เหลำ่ บัวเผื่อนแลสลำ้ งรมิ ทำงจร สำยต่ิงแกมแซมสลับต้นตบั เต่ำ กระจบั จอกดอกบวั บำนผกำ

๕ ชว่ งยำวลำกเลื้อยเจอื้ ยจนเหนื่อยหู จนลูกคู่ขอทุเลำวำ่ หำวนอน ไอ้ลำหนึง่ ครงึ่ ท่อนกลอนมนั มำก ดกึ สงัดเงยี บหลบั ลงกบั หมอน ไม่จบบทลดเลย้ี วเหมือนเง้ียวงู อ้ำยโจรจรจู่จว้ งเข้ำลว้ งเรือ ไดฟ้ ังเลน่ ตำ่ งต่ำงทีข่ ้ำงวัด มันดำลอ่ งนำ้ ไปช่วงไวเหลอื ประมำณสำมยำมคลำ้ ในอัมพร เหมือนเนื้อเบอื้ บ้ำเลอะดเู ซอะซะ นำวำเอียงเสียงกุกลุกขึ้นรอ้ ง ไมเ่ สียของขำวเหลืองเคร่ืองอัฏฐะ ไมเ่ หน็ หน้ำสำนศุ ิษยท์ ชี่ ิดเชอื้ ชยั ชนะมำรได้ดงั ใจปอง แตห่ นูพัดจดั แจงจุดเทยี นส่อง ดว้ ยเดชะตบะบญุ กบั คุณพระ ทง้ั สถูปบรมธำตุพระศำสนำ ตำมภำษำไม่สบำยพอคลำยใจ ๖ แรมนริ ำศร้ำงมิตรพิสมัย ด้วยไดไ้ ปเคำรพพระพุทธรปู ตำมวิสัยกำพย์กลอนแตก่ ่อนมำ เปน็ นสิ ัยไวเ้ หมือนเตือนศรัทธำ สำรพดั เพียญชนงั เครอื่ งมงั สำ ใชจ่ ะมีที่รักสมคั รมำด ตอ้ งโรยหนำ้ เสยี สกั หน่อยอร่อยใจ ซึ่งครวญครำ่ ทำทีพิรีพ้ ิไร อย่ำนกึ นินทำแถลงแหนงไฉน เหมอื นแม่ครวั คว่ั แกงพะแนงผัด จงึ รำ่ ไรเรอ่ื งร้ำงเลน่ บ้ำงเอย อันพริกไทยใบผักชเี หมือนสกี ำ จงทรำบควำมตำมจริงทุกสงิ่ ส้นิ นกั เลงกลอนนอนเปล่ำกเ็ ศรำ้ ใจ ๘. นักเรยี นออกมำอ่ำนทำนองเสนำะหนำ้ ช้นั เรียนทีละกล่มุ กลมุ่ อน่ื ๆ และครูรว่ มกันประเมินกำร อ่ำนและให้คำแนะนำ ข้นั สรุป นักเรียนและครูร่วมกันสรุปควำมรู้ ดังน้ี นิรำศมลี ักษณะคำประพนั ธเ์ ชน่ เดยี วกบั กลอนสภุ ำพ กำรอ่ำน ออกเสยี งบทร้อยกรองให้ไพเรำะควรคำนึงถงึ กำรเอื้อสัมผัสของคำใหม้ เี สยี งคลอ้ งจองกัน และใช้น้ำเสียงให้ สอดคล้องกบั เนื้อเรือ่ ง ส่ือการเรยี นรู้ ๑. บตั รคำ ๒. แถบคำประพนั ธ์ ๓. แถบบันทึกเสยี ง

การวัดผลประเมินผล ๑. วธิ กี ารวัดและประเมินผล ๑) สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นกำรอ่ำนออกเสียงบทร้อยแก้วบทกรอง ๒) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลมุ่ ๓) ตรวจผลงำนของนกั เรยี น ๒. เครือ่ งมอื ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมกำรอ่ำนออกเสยี งบทร้อยแก้วบทกรอง ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมกำรเขำ้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม ๓. เกณฑ์การประเมิน ๑) กำรประเมนิ พฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรม ผำ่ นตัง้ แต่ ๒ รำยกำร ถือว่ำผา่ น ผ่ำน ๑ รำยกำร ถือวำ่ ไม่ผ่าน ๒) กำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ดมี ำก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ควรปรบั ปรุง การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) กำรประเมนิ กิจกรรมกำรอ่ำนออกเสยี งบทร้อยกรองให้ผู้สอนพจิ ำรณำจำกเกณฑ์ กำรประเมินผลตำมสภำพจรงิ (Rubrics) เร่ือง กำรอำ่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒๑ เกณฑ์การประเมิน อ่ำนออกเสียง อ่ำนออกเสยี ง อ่ำนออกเสียง อ่ำนออกเสยี ง กำรอำ่ นออกเสียง ไดถ้ ูกตอ้ ง ไดถ้ ูกตอ้ ง บทร้อยกรอง ได้ถูกตอ้ ง ไดถ้ ูกต้อง ตำมอักขรวธิ ี ตำมอักขรวิธี เสียงดังชัดเจน เสียงดงั ชดั เจน ตำมอักขรวิธี ตำมอักขรวธิ ี เว้นจงั หวะเหมำะสม แต่ยังต้อง พยำยำมทอดเสยี ง ปรบั ปรงุ เร่ืองกำร เสียงดงั ชัดเจน เสียงดังชดั เจน เออ้ื นเสยี ง เว้นจงั หวะ และใชน้ ำ้ เสยี ง และท่วงทำนอง เวน้ จงั หวะเหมำะสม เวน้ จังหวะ แสดงอำรมณ์ ในกำรอ่ำน ในบำงจังหวะ สำมำรถทอดเสยี ง เหมำะสม แต่ยงั ทำได้ไม่ดนี ัก เอือ้ นเสียง มีกำรทอดเสียง และใช้นำ้ เสยี ง เออ้ื นเสียง แสดงอำรมณ์ และใช้นำ้ เสยี ง ไดไ้ พเรำะ แสดงอำรมณ์ ในบำงจังหวะไดด้ ี

แผนการจัดการเรยี นรู้ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย เวลา ๑๗ ช่วั โมง หน่วยที่ ๑ นิราศภูเขาทอง เวลา ๑ ชัว่ โมง แผนการเรยี นร้ทู ่ี ๑๐ สนุ ทรียรสและอรรถรสในวรรคทอง ภาคเรียนที่ ๑ ครูผู้สอน นางสาวจิราพร กลุ ให้ สาระสาคญั นิรำศภูเขำทองมีคำประพันธ์ไพเรำะและมีควำมหมำยดีหลำยบท สมควรนำมำเป็นบทฝึกคัดลำยมือ และทอ่ งจำสำหรับใช้ส่อื สำรอ้ำงองิ ได้เป็นอยำ่ งดี ตวั ชว้ี ัด ท ๒.๑ ม. ๑/๑ คัดลำยมือตวั บรรจงครงึ่ บรรทัด กำรคดั ลำยมือตวั บรรจงครึ่งบรรทัดตำมรูปแบบกำร เขยี นตัวอักษรไทย เชน่ บทรอ้ ยกรองหรอื บทควำมหลกั ปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง บทร้อยกรองหรือบทควำม คำ่ นยิ ม ๑๒ ประกำร ท ๓.๑ ม. ๑/๓ พดู แสดงควำมคดิ เหน็ อยำ่ งสร้ำงสรรค์เกยี่ วกับเรื่องที่ฟงั และดู ท ๓.๑ ม. ๑/๖ มมี ำรยำทในกำรฟงั กำรดู และกำรพูด จุดประสงค์การเรยี นรู้ ความรู้ - อธิบำยหลักกำรพิจำรณำวรรคทอง - อธบิ ำยหลักกำรคดั ลำยมือ ทักษะ/กระบวนการ - คดั ลำยมือตวั บรรจงครึง่ บรรทดั - พดู แสดงควำมคิดเห็นอย่ำงสรำ้ งสรรคใ์ นกำรลงคะแนนเลือกวรรคทองยอดนิยม คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ กระตือรอื รน้ ในกำรทำกิจกรรมและเหน็ คุณคำ่ ของวรรณคดีไทย สาระการเรยี นรู้ ๑. กำรคดั ลำยมือ ๒. กำรพจิ ำรณำบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่ำ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ข้นั นาเข้าสบู่ ทเรียน นักเรยี นรว่ มกันแสดงควำมคิดเหน็ ทว่ี ำ่ คำประพันธ์ท่จี ะเปน็ “วรรคทอง” ควรมีลกั ษณะเดน่ อยำ่ งไร ขน้ั พฒั นาผเู้ รยี น ๑. นกั เรียนพิจำรณำคำประพนั ธ์ในนิรำศภูเขำทอง แล้วคัดเลือกวรรคทองของตนเอง ควำมยำว ประมำณ ๓-๔ บท ๒. นกั เรียนศึกษำควำมรูเ้ ร่ือง กำรคดั ลำยมือ แลว้ ร่วมกันสนทนำในประเดน็ ต่อไปน้ี

- ตัวอกั ษรไทยสว่ นใหญ่มีลักษณะอย่ำงไร และมีวธิ ีกำรเขียนอยำ่ งไร - ขนำดของตวั อักษรมีควำมสำคัญอย่ำงไร - อัตรำเรว็ ในกำรเขยี นมีสว่ นเกี่ยวข้องกบั ลำยมืออยำ่ งไร - กำรฝึกคัดลำยมือมวี ิธีกำรอย่ำงไร - กำรเขียนดว้ ยลำยมือทส่ี วยงำมมผี ลดีอย่ำงไร ๓. นกั เรยี นคดั ลำยมือตำมคำประพันธ์จำกนริ ำศภเู ขำทองท่คี ัดเลอื กไวเ้ ป็นวรรคทองดว้ ยตัวบรรจง คร่งึ บรรทัด ๔. นักเรยี นออกมำนำเสนอวรรคทอง พรอ้ มทั้งอธบิ ำยเหตผุ ลท่ีคดั เลือกทีละคน ๕. นักเรยี นช่วยกันนำผลงำนกำรคัดลำยมือไปจัดแสดงบนปำ้ ยนเิ ทศ ตกแตง่ ให้สวยงำมและน่ำสนใจ ขนั้ สรุป นักเรียนและครรู ่วมกันสรุปควำมรู้ ดงั น้ี นริ ำศภูเขำทองมีคำประพันธ์ไพเรำะและมีควำมหมำยดหี ลำย บท สมควรนำมำเปน็ บทฝกึ คัดลำยมอื และท่องจำสำหรับใช้ส่อื สำรอ้ำงองิ ไดเ้ ปน็ อย่ำงดี สือ่ การเรียนรู้ ตัวอย่ำงกำรคัดลำยมือแบบอำลักษณ์ การวดั ผลประเมินผล ๑. วธิ กี ารวดั และประเมินผล ๑) สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในกำรเขำ้ ร่วมกจิ กรรม ๒) ตรวจผลงำนของนักเรียน ๒. เครื่องมือ แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรม ๓. เกณฑก์ ารประเมนิ กำรประเมนิ พฤตกิ รรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรม ผ่ำนตั้งแต่ ๒ รำยกำร ถือว่ำผา่ น ผำ่ น ๑ รำยกำร ถอื ว่ำไมผ่ ่าน

แผนการจดั การเรียนรู้ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย เวลา ๑๗ ชั่วโมง หนว่ ยที่ ๑ นริ าศภเู ขาทอง เวลา ๑ ชั่วโมง แผนการเรียนรทู้ ่ี ๑๑ การอ่านบทอาขยาน ภาคเรยี นท่ี ๑ ครผู ้สู อน นางสาวจิราพร กุลให้ สาระสาคญั กำรทอ่ งจำบทอำขยำนทำให้มตี ัวอยำ่ งบทร้อยกรองทไ่ี พเรำะ และให้ขอ้ คดิ ดี ๆ สำหรบั สอนใจตนเอง และใช้อ้ำงองิ เพื่อสือ่ สำรในโอกำสต่ำง ๆ ตวั ชีว้ ัด ท ๕.๑ ม. ๑/๕ ทอ่ งจำบทอำขยำนตำมท่ีกำหนดและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่ำ ตำมควำมสนใจ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ความรู้ อธบิ ำยคณุ ค่ำของบทอำขยำนจำกนริ ำศภเู ขำทอง ทักษะ/กระบวนการ ท่องจำบทอำขยำนจำกนิรำศภเู ขำทอง คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เห็นคณุ คำ่ ของบทอำขยำน สาระการเรยี นรู้ บทอำขยำนจำกนริ ำศภูเขำทอง กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน นักเรียนอำ่ นออกเสียงร้อยกรองจำกนริ ำศภูเขำทอง ครูแนะนำกำรแบ่งวรรคให้ถูกต้อง ข้ันพฒั นาผูเ้ รียน ๑. นักเรียนรว่ มกันแสดงควำมคดิ เหน็ วำ่ ควำมจำมีควำมสำคัญหรือไม่ เพรำะเหตใุ ด ๒. นกั เรียนร่วมกันบอกชื่อเพลงทีช่ อบฟงั จำกนั้นให้อำสำสมัคร ๒-๓ คน ออกมำร้องเพลงทต่ี นเอง ชอบหนำ้ ชน้ั เรยี น โดยเลอื กร้องเพลงละ ๑ ท่อน ๓. นักเรียนร่วมกนั สนทนำ โดยครใู ช้คำถำมดังน้ี - นักเรยี นชอบเพลงน้ันเพรำะเหตุใด - นกั เรยี นฟังเพลงนัน้ กี่ครงั้ จึงสำมำรถจำเน้ือเพลงได้ - กำรที่นักเรียนจำเพลงนน้ั ไดข้ ึ้นอย่กู ับสิง่ ใดบำ้ ง ๔. นักเรียนรว่ มกนั สนทนำเก่ยี วกับประสบกำรณ์ในกำรท่องจำบทอำขยำน

๕. นักเรยี นอำ่ นแผนภมู ิบทอำขยำน “นิรำศภูเขำทอง” ท่ีครตู ิดบนกระดำนเพื่อชว่ ยกนั แบง่ จังหวะ ดังนี้ นิราศภูเขาทอง ถึงหนำ้ วัง / ดงั หน่งึ / ใจจะขำด // คิดถึงบำท / บพิตร / อดิศร // โอ้ผำ่ นเกล้ำ / เจ้ำประคุณ / ของสุนทร // แตป่ ำงก่อน / เคยเฝ้ำ / ทกุ เช้ำเย็น // พระนิพพำน / ปำนประหนงึ่ / ศรี ษะขำด // ด้วยไร้ญำติ / ยำกแคน้ / ถึงแสนเข็ญ // ทัง้ โรคซำ้ / กรรมซัด / วิบตั ิเป็น // ไมเ่ ลง็ เห็น / ท่ซี ่ึง /จะพึง่ พำ // จึงสร้ำงพรต / อตสำ่ ห์สง่ / สวนบญุ ถวำย // ประพฤติฝ่ำย / สมถะ / ท้ังวสำ // เป็นสิ่งของ / ฉลองคุณ / มุลกิ ำ // ขอเป็นข้ำ / เคยี งบำท / ทุกชำตไิ ป // ถึงหนำ้ แพ / แลเหน็ / เรือท่นี ั่ง // คิดถึงครั้ง / ก่อนมำ /น้ำตำไหล // เคยหมอบรับ / กับพระ / จม่ืนไวย // แล้วลงใน / เรอื ทน่ี ง่ั / บลั ลงั กท์ อง // จนกฐิน / ส้ินแมน่ ำ้ / ในลำคลอง // มไิ ดต้ ้อง / เคืองขดั / หัตถยำ // เคยหมอบใกล้ / ได้กลน่ิ สุ / คนธต์ รลบ // ละอองอบ / รสรื่น / ช่นื นำสำ// สิ้นแผ่นดนิ / สิน้ รส / สคุ นธำ // วำสนำเรำ / ก็สน้ิ / เหมือนกล่ินสคุ นธ์ พระสนุ ทรโวหาร (ภู)่ ๖. นกั เรยี นอ่ำนออกเสยี งบทอำขยำนเป็นทำนองเสนำะพร้อมกัน ๒ รอบ และพยำยำมจดจำ ๗. ครูนำแผนภมู ิบทอำขยำนลงจำกกระดำน แลว้ ให้นักเรยี นลองช่วยกันท่องบทอำขยำนอีก ๒ รอบ หำกนักเรยี นตดิ ขดั วรรคใด ครูช่วยเพ่ิมเตมิ ๘. นักเรียนไปท่องบทอำขยำนกับครูนอกเวลำเรยี นเพื่อประเมินผลตวั ชวี้ ัดเป็นรำยบุคคล ๙. นักเรยี นรว่ มกันพิจำรณำคุณค่ำของบทอำขยำนทั้งในดำ้ นควำมไพเรำะของภำษำ (สนุ ทรียรส) และเน้อื หำท่ใี ห้คตสิ อนใจ (อรรถรส) ครชู ่วยอธบิ ำยเพิ่มเตมิ ให้ถูกต้องครบถว้ น ขน้ั สรุป นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปควำมรู้ ดงั นี้ กำรท่องจำบทอำขยำนทำให้มตี ัวอยำ่ งบทร้อยกรองที่ ไพเรำะ และใหข้ ้อคิดดี ๆ สำหรบั สอนใจตนเอง และใช้อำ้ งองิ เพ่ือสือ่ สำรในโอกำสต่ำง ๆ สื่อการเรียนรู้ แผนภูมิบทอำขยำน การวดั ผลประเมนิ ผล ๑. วธิ กี ารวัดและประเมินผล สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในกำรเขำ้ ร่วมกจิ กรรม ๒. เครือ่ งมือ แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรม ๓. เกณฑก์ ารประเมนิ ๑) กำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรม ผ่ำนตั้งแต่ ๒ รำยกำร ถอื วำ่ ผ่าน ผ่ำน ๑ รำยกำร ถอื วำ่ ไมผ่ า่ น

การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) กำรประเมินกจิ กรรมน้ใี หผ้ ู้สอนพิจำรณำจำกเกณฑ์กำรประเมินผลตำมสภำพจรงิ (Rubrics) เรอ่ื ง กำรท่องจำบทอำขยำน ระดบั คะแนน ๔๓๒๑ เกณฑก์ ารประเมนิ ท่องจำบทอำขยำน ทอ่ งจำบทอำขยำน ท่องจำบทอำขยำน ท่องจำบทอำขยำน กำรทอ่ งจำ บทอำขยำน ไดถ้ ูกตอ้ งทกุ คำ ได้ถูกต้องทุกคำ ไดถ้ ูกต้องทกุ คำ ได้ถูกต้องทกุ คำ ไม่มีตดิ ขัด ตกหลน่ ไมม่ ตี ดิ ขัด ไมม่ ตี ิดขดั แตม่ ีติดขัดบ้ำง ออกเสยี งคำ ตกหล่น ตกหล่น ออกเสียงคำบำงคำ ถกู ต้องชดั เจน ออกเสียงคำ ออกเสียงคำ ยงั ไมช่ ัดเจน ทุกคำ เว้นจงั หวะ ถกู ต้องชัดเจน ถูกต้องชัดเจน เวน้ จงั หวะ วรรคตอนถูกต้อง ทกุ คำ เว้นจงั หวะ ทุกคำ เว้นจังหวะ วรรคตอนถูกต้อง ทกุ วรรค ใชร้ ะดับ- วรรคตอนถูกต้อง วรรคตอนถูกตอ้ ง เป็นบำงวรรค เสียงแสดงอำรมณ์ ทุกวรรค ใช้ระดบั - เปน็ สว่ นใหญ่ ระดบั เสยี ง ตำมบทประพันธ์ เสยี งแสดงอำรมณ์ ใชร้ ะดบั เสียง รำบเรียบ ได้ดมี ำก ตำมบทประพันธ์ แสดงอำรมณ์ตำม ไม่แสดงอำรมณ์ ไดด้ ี บทประพันธ์ ไดพ้ อใช้

แผนการจัดการเรยี นรู้ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เวลา ๑๗ ชวั่ โมง หนว่ ยท่ี ๑ นิราศภูเขาทอง เวลา ๑ ชั่วโมง แผนการเรยี นร้ทู ่ี ๑๒ ค้นคว้าเพิม่ เตมิ กับนริ าศภูเขทอง ภาคเรียนที่ ๑ ครผู สู้ อน นางสาวจิราพร กลุ ให้ สาระสาคัญ กำรศึกษำคน้ ควำ้ ข้อมูลเพ่ือนำมำใชใ้ นกำรเขยี น ทำให้งำนเขียนนน้ั นำ่ สนใจ มีคุณภำพนำ่ เช่ือถือ และ เพมิ่ พนู ควำมรู้แก่ผู้อ่ำน ตวั ช้ีวดั ท ๒.๑ ม. ๑/๒ เขยี นสื่อสำรโดยใชถ้ อ้ ยคำถูกต้อง ชัดเจน เหมำะสม และสละสลวย ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มีมำรยำทในกำรเขยี น จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ความรู้ บอกแหลง่ ควำมร้ทู ่ใี ช้ศึกษำค้นคว้ำข้อมลู เกย่ี วกบั สถำนทส่ี ำคญั ทักษะ/กระบวนการ ศกึ ษำค้นควำ้ ข้อมูลเกย่ี วกับสถำนทีส่ ำคญั คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เห็นควำมสำคญั ของกำรศึกษำคน้ ควำ้ ข้อมลู เพ่ือนำมำใชใ้ นกำรเขยี น สาระการเรยี นรู้ กำรศกึ ษำคน้ คว้ำข้อมลู เพื่อนำมำใช้ในกำรเขยี น กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน ครสู นทนำกบั นักเรียนว่ำ สถำนท่ีใดบำ้ งท่ีนักเรียนชอบไปมำกท่สี ุด ทำไมถึงอยำกไป ขั้นพฒั นาผเู้ รียน ๑. นักเรยี นท่ีเคยไปเจดียภ์ เู ขำทองที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยำหรอื ภเู ขำทองทีว่ ดั สระเกศ- รำชวรมหำวิหำรทกี่ รงุ เทพมหำนคร เล่ำเกี่ยวกบั สถำนท่แี ละบรรยำกำศใหเ้ พื่อนฟัง ๒. นกั เรียนร่วมกนั สนทนำเกยี่ วกับสถำนท่สี ำคัญอ่นื ๆ ที่เคยไป แลว้ รู้สึกประทับใจ ๓. นกั เรยี นช่วยกนั บอกแหลง่ ควำมรทู้ ใ่ี ช้ศึกษำคน้ คว้ำข้อมลู เกี่ยวกบั สถำนที่สำคญั เช่น หนังสือ นิตยสำร แผน่ พบั อินเทอรเ์ น็ต ๔. ครนู ำนักเรยี นไปห้องสมุดเพื่อศกึ ษำคน้ ควำ้ ข้อมูลเกี่ยวกับสถำนท่ีสำคญั ท่ีนักเรยี นต้องกำรนำมำ เขยี นแนะนำให้ผอู้ ่นื ได้อ่ำน โดยครูกำหนดใหน้ ักเรียนที่เคยไปภเู ขำทองแหง่ ใดแหง่ หนง่ึ คน้ ควำ้ ข้อมลู เพ่ิมเติม

เก่ียวกบั สถำนที่แห่งน้นั สว่ นนกั เรยี นคนอื่น ๆ ให้คน้ ควำ้ ข้อมลู เพิ่มเตมิ เกย่ี วกับสถำนท่ีทต่ี นเองเคยไปแล้วรู้สึก ประทับใจ ซึ่งขอบข่ำยในกำรคน้ ควำ้ ไดแ้ ก่ - ท่ีต้งั - ลักษณะภูมปิ ระเทศ - ประวตั คิ วำมเป็นมำ - ตำนำนและควำมเช่ือ - ลักษณะเด่นอนื่ ๆ ทน่ี ่ำสนใจ ๕. นักเรียนบันทกึ ขอ้ มลู ทีศ่ ึกษำค้นควำ้ และใช้แผนภำพควำมคดิ ช่วยจัดระบบข้อมลู ข้นั สรุป นกั เรยี นและครรู ว่ มกันสรปุ ควำมรู้ ดังน้ี กำรศึกษำคน้ คว้ำขอ้ มูลเพอ่ื นำมำใชใ้ นกำรเขยี น ทำให้งำน เขียนนั้นน่ำสนใจ มีคุณภำพน่ำเชอ่ื ถอื และเพิ่มพนู ควำมรูแ้ กผ่ ู้อำ่ น ส่ือการเรยี นรู้ ส่ือสง่ิ พมิ พ์ การวัดผลประเมนิ ผล ๑. วิธีการวดั และประเมนิ ผล สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรม ๒. เคร่ืองมือ แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรเขำ้ รว่ มกจิ กรรม ๓. เกณฑก์ ารประเมิน กำรประเมนิ พฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรม ผำ่ นต้ังแต่ ๒ รำยกำร ถอื วำ่ ผ่าน ผ่ำน ๑ รำยกำร ถือวำ่ ไม่ผา่ น

แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ หนว่ ยท่ี ๑ นิราศภเู ขาทอง เวลา ๑๗ ช่ัวโมง แผนการเรียนรูท้ ี่ ๑๔ วิเคราะห์คุณคา่ สรปุ ความคดิ นริ าศภูเขาทอง เวลา ๑ ช่ัวโมง ครูผสู้ อน นางสาวจิราพร กลุ ให้ ภาคเรียนท่ี ๑ สาระสาคญั คณุ คำ่ ของนิรำศภูเขำทองเดน่ ทงั้ ด้ำนวรรณศิลปท์ ี่ไพเรำะงดงำม ดำ้ นเน้อื หำที่สอดแทรกข้อคิดในกำร ดำเนนิ ชวี ิตหลำยประกำร และด้ำนสงั คมท่ีสะทอ้ นวิถีชีวติ ไทย ตัวชว้ี ัด วิเครำะห์คุณคำ่ ท่ีไดร้ ับจำกกำรอ่ำนงำนเขียนอย่ำงหลำกหลำยเพอื่ นำไป ท ๑.๑ ม. ๑/๘ ใชแ้ กป้ ญั หำในชวี ิต วเิ ครำะหว์ รรณคดีและวรรณกรรมที่อำ่ นพร้อมยกเหตผุ ลประกอบ ท ๕.๑ ม. ๑/๒ อธิบำยคุณคำ่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่ำน ท ๕.๑ ม. ๑/๓ สรปุ ควำมรแู้ ละข้อคิดจำกกำรอ่ำนเพ่ือประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจรงิ ท ๕.๑ ม. ๑/๔ จุดประสงค์การเรียนรู้ ความรู้ ๑. อธิบำยคุณคำ่ นริ ำศภูเขำทอง ๒. สรุปข้อคดิ จำกนิรำศภูเขำทอง ทักษะ/กระบวนการ วเิ ครำะห์คุณคำ่ นิรำศภเู ขำทอง คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เหน็ คุณค่ำของวรรณคดีไทย สาระการเรียนรู้ ๑. คณุ ค่ำของนริ ำศภเู ขำทอง ๒. ข้อคิดจำกนริ ำศภเู ขำทอง กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน นกั เรยี นอ่ำนทำนองเสนำะนริ ำศภูเขำทอง จำกนนั้ ครูใหน้ ักเรยี นช่วยกนั แสดงควำมคดิ เห็นวำ่ กำรอ่ำน ของนักเรียนมีกำรพฒั นำมำกนอ้ ยเพียงใด ขัน้ พฒั นาผเู้ รียน ๑. นักเรียนศึกษำควำมรเู้ รื่อง กำรพิจำรณำคุณคำ่ ของวรรณคดี แล้วรว่ มกนั สรปุ ควำมเขำ้ ใจ ครูเป็นผู้ อธบิ ำยเพิ่มเตมิ

๒. นักเรียนแบง่ กลุ่ม ๔ กลุ่ม วิเครำะห์คุณคำ่ นิรำศภเู ขำทอง ดังนี้ กลมุ่ ที่ ๑ คณุ คำ่ ด้ำนวรรณศิลป์ กลุ่มท่ี ๒ คณุ ค่ำด้ำนแนวคิด กลุ่มท่ี ๓ คุณคำ่ ด้ำนเนือ้ หำ กลุ่มที่ ๔ คณุ คำ่ ด้ำนสงั คม ๓. นักเรยี นแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมำอธบิ ำยคณุ คำ่ นิรำศภูเขำทอง พร้อมยกตวั อยำ่ งประกอบ หลงั จบกำรนำเสนอของแต่ละกลุม่ ใหก้ ลุ่มอืน่ ๆ รว่ มกันแสดงควำมคิดเห็นเพิ่มเตมิ ๔. นักเรยี นทำใบงำน เรื่อง กำรสรุปคุณค่ำนริ ำศภเู ขำทอง ครูตรวจสอบผลงำนของนักเรยี นเปน็ รำยบคุ คล ๕. นักเรยี นรว่ มกนั สนทนำเกย่ี วกับขอ้ คิดจำกนริ ำศภูเขำทอง นักเรยี นสรุปข้อคิดที่ได้รบั จำกนริ ำศภูเขำ ทอง แล้วบนั ทึกตำมควำมเข้ำใจของตนเอง ขน้ั สรปุ นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปควำมรู้ ดังนี้ คุณคำ่ ของนิรำศภเู ขำทองเด่นทัง้ ดำ้ นวรรณศิลปท์ ี่ไพเรำะงดงำม ดำ้ นเนื้อหำทส่ี อดแทรกข้อคดิ ในกำรดำเนนิ ชวี ติ หลำยประกำร และด้ำนสังคมที่สะทอ้ นวิถีชวี ติ ไทย สื่อการเรยี นรู้ ใบงำน การวดั ผลประเมนิ ผล ๑. วธิ กี ารวัดและประเมินผล ๑) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรม ๒) สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม ๓) ตรวจใบงำน ๒. เคร่อื งมอื ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมกำรเขำ้ ร่วมกจิ กรรม ๒) แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรเขำ้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม ๓. เกณฑ์การประเมิน ๑) กำรประเมนิ พฤตกิ รรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรม ผ่ำนตั้งแต่ ๒ รำยกำร ถอื วำ่ ผ่าน ผ่ำน ๑ รำยกำร ถือว่ำ ไมผ่ า่ น ๒) กำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกล่มุ คะแนน ๙ - ๑๐ระดับ ดมี ำก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ควรปรับปรุง

การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) กำรประเมินใบงำน ให้ผสู้ อนพจิ ำรณำจำกเกณฑ์กำรประเมินผลตำมสภำพจริง (Rubrics) เร่อื ง กำรสรุปคุณค่ำวรรณคดี ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ เกณฑ์การประเมนิ กำรสรปุ คุณคำ่ วรรณคดี สรุปคุณคำ่ สรปุ คุณคำ่ สรุปคณุ คำ่ สรุปคุณคำ่ วรรณคดไี ด้ถกู ต้อง วรรณคดีได้ถูกต้อง วรรณคดีได้ถูกต้อง วรรณคดีได้ ครอบคลุมทุกด้ำน ครอบคลุม ทกุ ด้ำน แต่อธิบำย ถูกต้องทุกด้ำน อธิบำยชัดเจน เกอื บทกุ ด้ำน ไดค้ รอบคลุม แต่อธิบำย เขำ้ ใจงำ่ ย อธบิ ำยชดั เจน บำงด้ำน อยำ่ งส้นั ๆ เขำ้ ใจงำ่ ย

แผนการจัดการเรยี นรู้ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เวลา ๑๗ ชั่วโมง หน่วยที่ ๑ นริ าศภเู ขาทอง เวลา ๑ ช่วั โมง แผนการเรยี นรูท้ ่ี ๑๕ สรุปท้ายนิราศภูเขาทอง ภาคเรียนที่ ๑ ครผู ู้สอน นางสาวจริ าพร กุลให้ สาระสาคัญ วรรณคดีทำให้ผู้อำ่ นไดเ้ หน็ ควำมงำมของภำษำทำให้จิตใจอ่อนโยน สื่อควำมคิดและจินตนำกำรทำให้ เกดิ ปัญญำ กำรอ่ำนวรรณคดีจึงช่วยจรรโลงใจ พฒั นำควำมคิด และปลูกฝังคุณธรรมที่ดีงำม ตัวชีว้ ดั ท ๕.๑ ม. ๑/๔ สรปุ ควำมรแู้ ละข้อคิดจำกกำรอ่ำนเพื่อประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจรงิ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ความรู้ อธบิ ำยควำมร้เู พิ่มเติมเกี่ยวกับนริ ำศ ทักษะ/กระบวนการ ๑. สบื ค้นควำมรเู้ กย่ี วกบั นิรำศจำกแหล่งข้อมูลสำรสนเทศ ๒. เขยี นบันทึกกำรเรยี นรจู้ ำกนิรำศภูเขำทอง คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เหน็ คุณคำ่ ของกำรอำ่ นวรรณคดี สาระการเรียนรู้ ๑. กำรสบื คน้ ข้อมูลจำกแหลง่ ข้อมูลสำรสนเทศ ๒. กำรเขยี นบันทึกกำรเรียนรู้ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ข้นั นาเข้าสูบ่ ทเรยี น นกั เรียนรว่ มกนั สนทนำ โดยครใู ช้คำถำมวำ่ นกั เรียนมีควำมรูอ้ ะไรบ้ำงเก่ียวกับนิรำศ ขัน้ พฒั นาผู้เรยี น ๑. นักเรียนช่วยกนั สบื คน้ ควำมรเู้ กย่ี วกับนิรำศจำกแหล่งข้อมลู สำรสนเทศ แล้วบนั ทกึ ช่ือเวบ็ ไซต์ พร้อมท้ังสรุปข้อมูลที่ได้จัดทำเป็นบตั รข้อมูล (ครูอำจมอบหมำยให้นักเรียนทำกจิ กรรมน้นี อกเวลำเรยี น) ๒. นกั เรียนนำควำมรทู้ ่ีได้จำกกำรสบื คน้ มำแลกเปล่ียนกนั ในชั้นเรยี น และรว่ มกนั อภปิ รำยเพือ่ สรุป ควำมรู้ ๓. นกั เรยี นรว่ มกันแสดงควำมคดิ เหน็ และควำมรูส้ กึ อย่ำงมเี หตุผลจำกกำรอำ่ นนิรำศภเู ขำทอง

๔. นักเรยี นทำแบบฝึกหัด เร่ือง กำรเขยี นบนั ทึกวรรณคดีศกึ ษำ : นริ ำศภูเขำทอง ครูตรวจสอบผลงำน ของนักเรียนเป็นรำยบคุ คล ขั้นสรปุ นกั เรยี นและครูร่วมกันสรุปควำมรู้ ดงั น้ี วรรณคดที ำใหผ้ ู้อ่ำนได้เห็นควำมงำมของภำษำทำให้จติ ใจ อ่อนโยน สื่อควำมคิดและจนิ ตนำกำรทำให้เกดิ ปญั ญำ กำรอ่ำนวรรณคดจี ึงช่วยจรรโลงใจ พัฒนำควำมคิด และ ปลูกฝังคณุ ธรรมที่ดงี ำม ส่อื การเรียนรู้ หนังสือทำงประวัตศิ ำสตรเ์ กี่ยวกบั พระนครกรงุ ศรีอยุธยำ การวัดผลประเมินผล ๑. วิธกี ารวัดและประเมนิ ผล ๑) สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในกำรเข้ำร่วมกิจกรรม ๒) ตรวจแบบฝึกหัด ๒. เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรมกำรเขำ้ ร่วมกจิ กรรม ๓. เกณฑก์ ารประเมิน กำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรม ผำ่ นตง้ั แต่ ๒ รำยกำร ถือว่ำผ่าน ผ่ำน ๑ รำยกำร ถือวำ่ ไมผ่ า่ น การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) กำรประเมินกำรเขียนบันทกึ ใหผ้ ู้สอนพจิ ำรณำจำกเกณฑ์กำรประเมินผลตำมสภำพจรงิ (Rubrics) เร่ือง กำรเขียนบันทึกกำรเรียนรู้ ระดบั คะแนน ๔๓ ๒๑ เกณฑ์การประเมนิ เขียนบันทึก เขียนบนั ทกึ เขยี นบนั ทึก เขียนบนั ทึก กำรเขียนบนั ทึก กำรเรยี นร้ไู ดด้ ี กำรเรียนรู้ไดด้ ี กำรเรียนรูท้ ม่ี ี กำรเรียนร้ไู ด้ กำรเรยี นรู้ สำมำรถสะท้อน แตย่ งั สะท้อน ควำมยำวมำกขึ้น เพยี ง ๒-๓ ควำมรู้ ควำมร้สู กึ ควำมรแู้ ละ แตย่ ังจำแนก บรรทัด และควำมคิดเหน็ ควำมคดิ เหน็ ประเด็นกำรเขยี น จำกกำรอ่ำน ไม่ชดั เจน ไม่ชัดเจน วรรณคดหี รือ เท่ำท่คี วร วรรณกรรมได้ ชัดเจนเป็นระบบ

แผนการจัดการเรียนรู้ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย เวลา ๑๗ ช่วั โมง หนว่ ยท่ี ๑ นิราศภเู ขาทอง เวลา ๑ ช่ัวโมง แผนการเรียนรูท้ ี่ ๑๖ คาพ้องและการตคี วาม ภาคเรยี นท่ี ๑ ครูผสู้ อน นางสาวจิราพร กลุ ให้ สาระสาคญั กำรเข้ำใจประเภทของคำพ้องท่ีใช้ในคำประพันธ์ทำให้เข้ำใจควำมหมำยของคำศัพท์ได้ชัดเจนขึ้น และ กำรใช้บริบทช่วยพิจำรณำควำมหมำยของคำศัพท์บำงคำ ซึ่งไม่สำมำรถตรวจสอบควำมหมำยโดยตรงได้จำก พจนำนกุ รม จะทำใหผ้ ้อู ำ่ นเขำ้ ใจควำมหมำยของคำประพนั ธน์ ั้นได้ถูกตอ้ งและชดั เจน ตวั ช้วี ัด ท ๑.๑ ม. ๑/๕ ตีควำมคำยำกในเอกสำรวชิ ำกำรโดยพิจำรณำจำกบรบิ ท ท ๔.๑ ม. ๑/๒ สรำ้ งคำในภำษำไทย จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ความรู้ อธิบำยควำมหมำยของคำศัพท์ท่ีกำหนด ทกั ษะ/กระบวนการ ๑. ตคี วำมคำยำกจำกนิรำศภเู ขำทองโดยพิจำรณำจำกบรบิ ท ๒. วเิ ครำะห์ประเภทของคำพ้องในคำประพันธ์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เหน็ ควำมสำคญั ของกำรเรยี นร้คู ำศพั ท์ทใี่ ช้ในคำประพนั ธ์ สาระการเรียนรู้ ๑. กำรตคี วำมคำยำกโดยพิจำรณำจำกบรบิ ท ๒. คำพ้อง กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขั้นนาเข้าสบู่ ทเรยี น ครทู บทวนนิรำศภเู ขำทอง โดยกำรถำมตอบกบั นักเรียน ข้ันพัฒนาผ้เู รยี น ๑. นกั เรยี นอ่ำนคำจำกบัตรคำท่ีครูติดบนกระดำนทลี ะคู่ เชน่ จอกแหน หวงแหน ปรำกฏกำรณ์ ฤดูกำล

สลัดผัก สลัดน้ำ ดวงอำทิตย์ ดวงตะวัน ๒. นกั เรียนสงั เกตคำเหลำ่ นัน้ และช่วยกนั อธิบำยตำมควำมเขำ้ ใจ ๓. นกั เรยี นศึกษำควำมรเู้ ร่ือง คำพ้อง แล้วร่วมกนั สรปุ ควำมเข้ำใจ ครเู ปน็ ผ้อู ธิบำยเพิ่มเติม ๔. นักเรยี นแบ่งกลุ่ม ๔ กล่มุ ระดมควำมคิดเพื่อยกตวั อยำ่ งคำพอ้ งที่นักเรยี นร้จู ักแตล่ ะประเภท ดังน้ี กล่มุ ท่ี ๑ คำพ้องรูป กลุม่ ที่ ๒ คำพ้องเสยี ง กลมุ่ ท่ี ๓ คำพ้องรปู พอ้ งเสียง กลมุ่ ที่ ๔ คำพ้องควำมหมำย ๕. นักเรียนส่งตัวแทนออกมำเขยี นคำทรี่ วบรวมได้บนกระดำน นักเรยี นทุกคนร่วมกนั ตรวจสอบและ อธิบำยควำมหมำย ๖. นักเรียนอ่ำนคำประพนั ธ์จำกนิรำศภูเขำทองท่ีครูนำมำติดบนกระดำน ช่วยกันพิจำรณำคำทขี่ ดี เสน้ ใต้วำ่ เปน็ คำพ้องประเภทใด ๑) ออกจำกวัดทัศนำดูอำวำส (คำพ้องควำมหมำย) ๒) โอ้อำวำสรำชบุรณะพระวิหำร (คำพ้องควำมหมำย) ๓) จึง่ อำลำอำวำสนิรำศร้ำง (คำพ้องควำมหมำย) ๔) ถงึ บำงจำกจำกวดั พลัดพน่ี ้อง (คำพ้องรูปพอ้ งเสียง) ๕) จำต้องขนื ใจพรำกมำจำกเมือง (คำพ้องควำมหมำย) ๖) ถงึ เขมำอำรำมอรำ่ มทอง (คำพ้องรปู กบั โกฐเขมำ) ๗) เห็นโศกใหญใ่ กลน้ ้ำระกำแฝง ทง้ั รกั แซงแซมสวำด *ประหลำดเหลือ เหมือนโศกพ่ีท่ชี ้ำระกำเจือ เพรำะรักเร้อื แรมสวำทมำคลำดคลำย โศก - โศก ระกำ - ระกำ (คำพ้องรูปพ้องเสยี ง) สวำด - สวำท (คำพ้องเสยี ง หมายเหตุ คำว่ำ “สวำด” ในบทประพันธข์ องหนงั สอื เรยี นวรรณคดแี ละ วรรณกรรมใช้ว่ำ “สวำท” ตำมตน้ ฉบับเดิม ๘) ถงึ บำงหลวงเชงิ รำกเหมือนจำกรัก สู้เสียศกั ดสิ์ ังวำสพระศำสนำ เปน็ ล่วงพ้นรนรำครำคำ ถึงนำงฟำ้ จะให้ไม่ไยดี (คำพ้องเสยี ง) ๙) ดว้ ยหนำมดกรกดำษระดะตำ นกึ กน็ ำ่ กลวั หนำมขำมขำมใจ (คำพ้องควำมหมำย) ๑๐) ในทงุ่ กว้ำงเห็นแต่แขมแซมสลอน (คำพ้องรูปพอ้ งเสยี ง กับ แขม (ขะแม)) ๗. นกั เรยี นชว่ ยกนั อธบิ ำยควำมหมำยของคำพ้องเหลำ่ นั้น ครูช่วยอธบิ ำยเพิม่ เติม และตรวจสอบจำก พจนำนกุ รม

ขน้ั สรุป นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรุปควำมรู้ ดงั นี้ กำรเขำ้ ใจประเภทของคำพ้องที่ใช้ในคำประพันธ์ทำให้ เข้ำใจควำมหมำยของคำศัพท์ได้ชดั เจนข้ึน และกำรใชบ้ ริบทช่วยพิจำรณำควำมหมำยของคำศัพทบ์ ำงคำ ซงึ่ ไม่ สำมำรถตรวจสอบควำมหมำยโดยตรงได้จำกพจนำนกุ รม จะทำใหผ้ ู้อำ่ นเขำ้ ใจควำมหมำยของคำประพันธ์น้นั ได้ถูกต้องและชดั เจน สอื่ การเรียนรู้ ๑. บตั รคำ ๒. แถบข้อควำม ๓. พจนำนุกรม การวดั ผลประเมินผล ๑. วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล ๑) สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในกำรเข้ำรว่ มกิจกรรม ๒) สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมกลมุ่ ๒. เคร่ืองมือ ๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรม ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมกลุ่ม ๓. เกณฑก์ ารประเมนิ ๑) กำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรม ผำ่ นตัง้ แต่ ๒ รำยกำร ถือว่ำผา่ น ผ่ำน ๑ รำยกำร ถอื ว่ำไมผ่ า่ น ๒) กำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมกลมุ่ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ดมี ำก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ควรปรบั ปรุง

แผนการจัดการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เวลา ๑๗ ช่ัวโมง หนว่ ยท่ี ๑ นริ าศภเู ขาทอง เวลา ๑ ชั่วโมง แผนการเรียนรู้ที่ ๑๗ การเขียนจดหมาย ภาคเรียนท่ี ๑ ครผู ้สู อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ สาระสาคญั จดหมำยส่วนตวั เปน็ กำรสื่อสำรดว้ ยกำรเขียนประเภทหน่งึ จำกผู้เขยี นซ่ึงเป็นผูส้ ่งสำรไปยังผ้รู บั สำรซ่งึ เป็นบุคคลทีม่ ีควำมใกล้ชิด กำรเขยี นจดหมำยมีรูปแบบเฉพำะ และมคี ำข้ึนต้น คำลงท้ำย ซ่ึงตอ้ งเขียนและ เลือกใช้คำให้ถกู ตอ้ ง เหมำะสมกบั ผู้รับ ตัวชีว้ ดั ท ๒.๑ ม. ๑/๗ เขยี นจดหมำยส่วนตัวและจดหมำยกจิ ธุระ ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มมี ำรยำทในกำรเขียน จุดประสงค์การเรยี นรู้ ความรู้ อธิบำยรูปแบบและสว่ นประกอบของจดหมำยส่วนตวั ทักษะ/กระบวนการ เขียนจดหมำยส่วนตวั คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เห็นควำมสำคัญของกำรเขียนจดหมำยและมีมำรยำทในกำรเขยี น สาระการเรียนรู้ กำรเขียนจดหมำยส่วนตัว กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขน้ั นาเข้าสูบ่ ทเรยี น ครูถำมตอบนกั เรียนว่ำ นักเรียนเคยเขยี นจดหมำยหรือไม่ และส่งถึงใคร ในปจั จุบนั กำรเขยี นจดหมำย ไดร้ บั ควำมนยิ มหรือไม่ เพรำะเหตใุ ด ข้นั พฒั นาผู้เรยี น ๑. นักเรียนศกึ ษำควำมรูเ้ ร่ือง กำรเขยี นจดหมำยสว่ นตวั แล้วรว่ มกนั สนทนำในประเด็นต่อไปนี้ - กำรเขียนจดหมำยสว่ นตวั ใชเ้ ขยี นถงึ ใคร - จดหมำยส่วนตวั มีองค์ประกอบใดบำ้ ง - กำรขน้ึ ตน้ จดหมำยและคำลงทำ้ ยจดหมำยของแตล่ ะบคุ คลใช้อยำ่ งไร - องคป์ ระกอบของจดหมำยเขียนในตำแหนง่ ใดบ้ำง นักเรยี นร่วมกันสรปุ ควำมเข้ำใจ ครูอธบิ ำยเพิ่มเติม

๒. นักเรียนแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ ๓ คน เขยี นจดหมำยส่วนตวั โดยสมมตุ ิว่ำนกั เรียนมเี พื่อนอยู่จังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยำ จงึ เขยี นจดหมำยเพ่ือขอใหเ้ พื่อนช่วยพำไปเทยี่ วเจดีย์ภเู ขำทอง ใหน้ ักเรียนสมมตุ ิ รำยละเอียดต่ำง ๆ ตำมควำมเหมำะสม ๓. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมำอำ่ นจดหมำยใหเ้ พ่ือนฟงั ทุกคนรว่ มกันตรวจสอบควำม ถูกต้องและสำนวนภำษำเพ่ือเสนอแนะ ครชู ว่ ยตรวจสอบรูปแบบของจดหมำย ขนั้ สรปุ นกั เรียนและครรู ว่ มกนั สรปุ ควำมรู้ ดังน้ี จดหมำยสว่ นตัวเป็นกำรส่ือสำรดว้ ยกำรเขียนประเภทหนึ่ง จำกผูเ้ ขยี นซ่งึ เปน็ ผูส้ ่งสำร ไปยังผู้รบั สำรซ่ึงเป็นบุคคลท่ีมีควำมใกลช้ ิด กำรเขยี นจดหมำยมรี ูปแบบเฉพำะ และ มีคำข้นึ ตน้ คำลงทำ้ ย ซึง่ ต้องเขยี นและเลือกใช้คำให้ถูกตอ้ ง เหมำะสมกับผรู้ ับ ส่ือการเรยี นรู้ ตวั อยำ่ งกำรเขียนจดหมำย การวดั ผลประเมินผล ๑. วิธกี ารวัดและประเมนิ ผล ๑) สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในกำรเข้ำร่วมกิจกรรม ๒) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม ๒. เครอื่ งมอื ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรม ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมกลุ่ม ๓. เกณฑ์การประเมิน ๑) กำรประเมนิ พฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรม ผำ่ นตัง้ แต่ ๒ รำยกำร ถือวำ่ ผ่าน ผำ่ น ๑ รำยกำร ถือวำ่ ไมผ่ า่ น ๒) กำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลุ่ม คะแนน ๙ - ๑๐ระดับ ดีมำก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ควรปรบั ปรุง

การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) กำรประเมินกำรเขียนจดหมำย ให้ผู้สอนพจิ ำรณำจำกเกณฑ์กำรประเมินผลตำมสภำพจรงิ (Rubrics) เรือ่ ง กำรเขียนจดหมำยถึงเพื่อน ระดบั คะแนน ๔๓๒๑ เกณฑ์การประเมนิ เขยี นจดหมำย เขียนจดหมำย เขียนจดหมำย เขยี นจดหมำย กำรเขียนจดหมำย สว่ นตัวโดยใช้ สว่ นตัว สว่ นตัวโดยใช้ ส่วนตัวโดยใช้ ส่วนตวั โดยใช้ รปู แบบถูกต้อง สะอำด เรียบร้อย รปู แบบถูกต้อง รปู แบบถูกต้อง รูปแบบถกู ต้อง แตต่ ้องปรบั ปรุง เร่อื งกำรใชภ้ ำษำ สะอำด เรียบร้อย สะอำด เรียบร้อย สะอำด เรยี บร้อย และกำรเรียบเรียง ขอ้ ควำม ใชภ้ ำษำถกู ต้อง ใช้ภำษำถูกต้อง มีข้อบกพร่อง ส่วนเน้อื ควำม ของจดหมำย เหมำะสมทกุ แห่ง เหมำะสมทุกแหง่ เร่อื งภำษำและ ส้ันมำก ไมม่ ีรำยละเอียด แบ่งยอ่ หน้ำอยำ่ ง แบง่ ยอ่ หน้ำ กำรแบ่งย่อหนำ้ เหมำะสม อยำ่ งเหมำะสม เล็กน้อย เนื้อควำม แต่เน้ือควำม และเน้อื ควำม ของจดหมำยระบุ ของจดหมำย ของจดหมำย รำยละเอียดชดั เจน ยงั ระบุรำยละเอยี ด ไมม่ รี ำยละเอียด บำงสว่ นไม่ชัดเจน มำกนัก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook