Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 2 เรื่อง ทรานสดิวเซอร์

บทที่ 2 เรื่อง ทรานสดิวเซอร์

Published by ธีระ กลมเกลา, 2022-01-29 03:43:11

Description: บทที่ 2 เรื่อง ทรานสดิวเซอร์

Search

Read the Text Version

บทที่ 2 เรื่อง ทรานสดวิ เซอร์ สาระสาคญั ทรานสดิวเซอร์ หรือตวั แปลง เป็นช่ือเรียกรวมอุปกรณ์ที่ทาหนา้ ท่ีเปลี่ยนพลงั งานรูปหน่ึงไปเป็น พลงั งานอีกรูปหน่ึงพลงั งานท่ีจะนามาเปลี่ยนแปลงมีหลากหลายรูปแบบในทุกๆ ดา้ น เช่นแสง เสียง สนามแมเ่ หล็ก ความร้อนความเยน็ ความช้ืน แรงดนั แรงกด กา๊ ซ และควนั เป็นตน้ หนา้ ที่ของ ทรานสดิวเซอร์คือรับรู้และแสดงค่า จานวน ขนาด และความถี่จ่ายออกไปยงั อุปกรณ์ภายนอก ทรานสดิวเซอร์บางคร้ังเรียกวา่ เซ็นเซอร์ เพราะดว้ ยคุณสมบตั ิทางฟิ สิกส์ท่ีเหมือนกนั ในการนาไป ประยกุ ตใ์ ชง้ าน ตลอดจนในกระบวนการทางานทางอุตสาหกรรมจาเป็นตอ้ งใชท้ ้งั สองส่วน การเลือก ทรานสดิวเซอร์มาใชง้ าน ควรพิจารณาจากปัจจยั พ้ืนฐาน เช่นยา่ นการทางาน ความไว การตอบสนองความถี่ เหมาะสมกบั การใชง้ านความไวต่าสุด ความเท่ียงตรง ความแขง็ แรง และไฟฟ้ าที่ใช้ เป็นตน้ สาระการเรียนรู้ 1. ระบบการวดั โดยทวั่ ไป 2. เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์ 3. นิยามอุปกรณ์รอบขา้ งของทรานสดิวเซอร์ 4. การเลือกทรานสดิวเซอร์มาใชง้ าน สมรรถนะประจาหน่วย 1. อธิบายความหมายของทรานสดิวเซอร์ 2. อธิบายนิยามอุปกรณ์รอบขา้ งของทรานสดิวเซอร์ 3. อธิบายการเลือกทรานสดิวเซอร์มาใชง้ าน ผลการเรียนรู้ 1. เพอ่ื ใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจอธิบายความหมายของทรานสดิวเซอร์ 2. เพ่อื ใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจอธิบายนิยามอุปกรณ์รอบขา้ งของทรานสดิวเซอร์ 3. เพอ่ื ใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจอธิบายการเลือกทรานสดิวเซอร์มาใชง้ าน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของทรานสดิวเซอร์

2. อธิบายนิยามอุปกรณ์รอบขา้ งของทรานสดิวเซอร์ 3. อธิบายการเลือกทรานสดิวเซอร์มาใชง้ าน

1. ระบบการวดั โดยทว่ั ไป ระบบการวดั โดยทวั่ ไปส่วนใหญ่ในงานอุตสาหกรรมจะใชว้ ธิ ีการวดั ทางออ้ มและมกั จะประกอบไปดว้ ย ส่วนประกอบที่สาคญั อยู่ 3 ส่วนดว้ ยกนั คือ ส่วนท่ีใชใ้ นการตรวจสับและเปล่ียนแปลงรูปแบบของพลงั งาน ส่วนที่ใชก้ าหนดเง่ือนไขของสญั ญาณและส่วนท่ีใชใ้ นการนาเสนอ & รูปที่ 2.1 แสดงระบบการวดั ในงานอุตสาหกรรม 1.1 อุปกรณ์ตรวจจบั และเปลี่ยนแปลงรูปของพลงั งาน (Sensor & Transducer) ส่วนน้ีจะเป็นส่วนแรก ของระบบการวดั โดยทว่ั ไป โดยจะมีหนา้ ท่ีในการวดั คุณสมบตั ิทางวทิ ยาศาสตร์ของส่ิงที่ตอ้ งการตรวจวดั และเปลี่ยนแปลงคุณสมบตั ิเหล่าน้นั ใหอ้ ยใู่ นรูปของพลงั งานหรือสัญญาณท่ีส่วนตอ่ ไป ซ่ึงในที่น้ีก็คือส่วนท่ี ใชใ้ นการกาหนดเงื่อนไขของสญั ญาณสามารถตอบสนองได้ ตวั อยา่ งเช่น เทอร์โมคปั เปิ ล ซ่ึงถือวา่ เป็น ทรานสดิวเซอร์ชนิดหน่ึงที่สามารถเปล่ียนแปลงพลงั งานความร้อน(อุณหภูมิ) ใหอ้ ยใู่ นรูปของพลงั งานหรือ สญั ญาณไฟฟ้ าได้ เป็นตน้ 1.2 อุปกรณ์กาหนดเง่ือนไขของสญั ญาณ (Signal Conditioner) ส่วนน้ีจะเป็นขอ้ มลู หรือสัญญาณจาก ส่วนแรกจะถูกส่งมาท่ีน่ี เพือ่ ทาการปรับปรุงและกาหนดเงื่อนไขของสัญญาณก่อนที่จะส่งไปใหก้ บั ส่วนที่ สามตอ่ ไป การปรับปรุงและกาหนดเงื่อนไขของสัญญาณเป็นอยา่ งไร ตวั อยา่ งเช่น หากสญั ญาณท่ีมาจาก ส่วนแรกมีสัญญาณรบกวน(Noise) หรือสญั ญาณมีระดบั ต่าเกินไป ในส่วนน้ีก็จะกาจดั สญั ญาณรบกวนหรือ หากสัญญาณมีระดบั ต่าในส่วนน้ีกจ็ ะทาการขยายสัญญาณใหม้ ีระดบั เพิ่มสูงข้ึน เป็นตน้ 1.3 ส่วนของการนาเสนอ (Terminating Read Out) ในส่วนของการนาเสนอ เป็นส่วนท่ีทาใหก้ ารวดั บรรลุวตั ถุประสงคต์ ามท่ีเราตอ้ งการ กล่าวคือ การวดั เพือ่ ใหไ้ ดม้ าซ่ึงความรู้ และการวดั เพื่อการควบคุมเพอ่ื ความชดั เจนและเขา้ ใจยงิ่ ข้ึนจะขอยกตวั อยา่ งในแตล่ ะประเด็นดงั น้ีคือ สญั ลกั ษณ์หรือขอ้ มลู ซ่ึงมาจากส่วนท่ี สอง หากเราต่อเขา้ กบั อุปกรณ์แสดงผล เช่นเขม็ ช้ี สเกลวดั เครื่องบนั ทึกคา่ หรือคอมพวิ เตอร์ ลกั ษณะ ดงั กล่าวน้ีถือวา่ เป็นการวดั เพอื่ ใหไ้ ดม้ าซ่ึงความรู้ แตห่ ากสัญญาณเหล่าน้นั ตอ่ เขา้ กบั อุปกรณ์ประมวลผล (Processor) หรือ อุปกรณ์ควบคุม(Controller) การวดั ดงั กล่าวจะเป็นไปเพ่อื การควบคุม 2. เซนเซอร์และทรานสดวิ เซอร์ การวดั น้นั เป็นพ้นื ฐานสาหรับวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที ุกสาขาและวตั ถุประสงคข์ องการวดั น้นั ก็ เพ่อื ใหไ้ ดม้ าซ่ึงความรู้ และเพอื่ การควบคุม นอกจากน้นั ระบบการวดั โดยทว่ั ไปจะประกอบดว้ ยส่วนที่สาคญั อยู่ 3 ส่วน และส่วนท่ีมีความสาคญั และเป็นส่วนแรกของระบบการวดั ก็คือเซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์

เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์ เป็นอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการตรวจจบั หรือวดั คา่ คุณสมบตั ิทางวทิ ยาศาสตร์ ตา่ งๆ เช่นความร้อน แสง สี เสียง ระยะทาง การเคล่ือนท่ี ความดนั การไหล เป็นตน้ แลว้ เปลี่ยนใหอ้ ยใู่ นรูป ของสัญญาณหรือขอ้ มลู ท่ีสอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั ส่วนของการกาหนดเง่ือนไขทางสญั ญาณ หากถามวา่ เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์มีความแตกตา่ งกนั หรือไม่ คาวา่ เซนเซอร์จะใชก้ บั อุปกรณ์ซ่ึงสามารถสร้าง สญั ญาณที่มีความสัมพนั ธ์กบั คา่ หรือปริมาณของส่ิงที่ตอ้ งการตรวจวดั โดยอาจเป็นสญั ญาณชนิดเดียวกนั หรือต่างชนิดกนั ก็ได้ ส่วนคาวา่ ทรานสดิวเซอร์มกั จะถูกนามาใชแ้ ทนคาวา่ เซนเซอร์อยบู่ อ่ ยคร้ัง ทรานสดิวเซอร์เป็นอุปกรณ์ท่ีทาหนา้ ท่ีเปล่ียนพลงั งานรูปแบบหน่ึงใหก้ ลายไปเป็นอีกแบบหน่ึงดงั น้นั จึงถือ ไดว้ า่ ทรานสดิวเซอร์ก็คือ เซนเซอร์อยา่ งไรกต็ ามในระบบการวดั อาจใชท้ รานสดิวเซอร์เพ่ิมเขา้ ไปใน เซนเซอร์เพ่อื เปล่ียนแปลงรูปแบบของพลงั งานใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคต์ ามความตอ้ งการ และหากมีคนกล่าว วา่ เซนเซอร์กค็ ือ ทรานสดิวเซอร์ หรือทรานสดิวเซอร์กค็ ือเซนเซอร์กถ็ ือวา่ ไม่ไดเ้ ป็นการผดิ 2.1 การแบง่ ชนิดของทรานสดิวเซอร์ ทรานสดิวเซอร์ที่ใชอ้ ยใู่ นงานอุตสาหกรรมมีอยหู่ ลายรูปแบบ ดว้ ยกนั แตท่ ้งั น้ีอาจอาศยั หลกั เกณฑต์ ่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ีในการแบง่ 2.1.1 แบ่งตามความตอ้ งการพลงั งาน 1. แอคตีฟทรานสดิวเซอร์ (Active Transducer) เป็นทรานสดิวเซอร์ท่ีสามารถปลดปล่อย พลงั งานเองได้ เช่น เทอร์โมคปั เปิ ล เม่ือไดร้ ับพลงั งานความร้อนจะสามารถปล่อยพลงั งานไฟฟ้ าเองได้ 2. พาสซีฟทรานสดิวเซอร์ (Passive Transducer) เป็นทรานสดิวเซอร์ที่ไม่สามารถ ปลดปล่อยพลงั งานเองได้ ตอ้ งอาศยั แหล่งจา่ ยพลงั งานจากภายนอก 2.1.2 แบง่ ตามลกั ษณะและกลไกในการทางาน 1. การเปล่ียนแปลงคา่ ความตา้ นทาน (Variable Resistance Transducer) 2. การเปล่ียนแปลงคา่ ความเหนี่ยวนา(Variable Inductance Transducer) 3. การเปลี่ยนแปลงคา่ ความจุ (Variable Capacitance Transducer) 2.1.3 แบ่งตามชนิดของการเปลี่ยนแปลงพลงั งาน 1. ทรานสดิวเซอร์ท่ีทาหนา้ ที่เปล่ียนพลงั งานกลใหเ้ ป็นพลงั งานไฟฟ้ า 2. ทรานสดิวเซอร์ที่ทาหนา้ ท่ีเปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้ าใหเ้ ป็นพลงั งานกล 3. ทรานสดิวเซอร์ที่ทาหนา้ ท่ีเปลี่ยนพลงั งานความร้อนใหเ้ ป็นพลงั งานไฟฟ้ า 4. ทรานสดิวเซอร์ท่ีทาหนา้ ที่เปล่ียนพลงั งานแสงใหเ้ ป็นพลงั งานไฟฟ้ า 2.1.4 แบ่งตามการใชง้ านวา่ จะตรงส่วนใดของระบบ 1. อินพตุ ทรานสดิวเซอร์ เป็นทรานสดิวเซอร์ที่เป็นส่วนประกอบอยา่ งหน่ึงทางดา้ นอินพุต ของระบบเครื่องมือ เช่น ไมโครโฟน ถือไดว้ า่ เป็นอินพตุ ทรานสดิวเซอร์ของระบบเครื่องขยายเสียงเป็นตน้ 2. เอาตพ์ ุตทรานสดิวเซอร์ เป็นทรานสดิวเซอร์ท่ีเป็นส่วนประกอบอยา่ งหน่ึงทางดา้ น เอาตพ์ ุตของระบบเครื่องมือ เช่น ลาโพงถือไดว้ า่ เป็นเอาตพ์ ตุ ทรานสดิวเซอร์ของระบบเครื่องขยายเสียง 2.1.5 แบ่งตามชนิดของสัญญาณที่ใช้

1. อนาลอ็ กทรานสดิวเซอร์ (Analog Transducer) ทรานสดิวเซอร์ส่วนใหญจ่ ะใหส้ ัญญาณ เป็ นแบบต่อเน่ืองหรื ออนาล็อก 2. ไบนารีทรานสดิวเซอร์ (Binary Transducer) ทรานสดิวเซอร์แบบน้ีจะใหส้ ญั ญาณเป็น แบบเปิ ด-ปิ ด หรือทางานกบั ไม่ทางาน 3. ดิจิตอลทรานสดิวเซอร์ (Digital Transducer) ทรานสดิวเซอร์ประเภทน้ีจะใหส้ ัญญาณ เอาตพ์ ตุ เป็นดิจิตอล 2.1.6 แบ่งตามขอ้ มลู หรือวตั ถุประสงคใ์ นการวดั ตวั อยา่ งเช่น ทรานสดิวเซอร์ท่ีใชว้ ดั การเคล่ือนที่ วดั อุณหภมู ิ วดั ความดนั วดั อตั ราการไหล วดั ตาแหน่ง เป็นตน้ 3. นิยามอปุ กรณ์รอบข้างของทรานสดวิ เซอร์ ในส่วนของภาคอุตสาหกรรมอุปกรณ์รอบขา้ งของตวั ทรานสดิวเซอร์ มีความสาคญั มากท้งั น้ีเพือ่ ทา ใหข้ ้นั ตอนกระบวนการผลิตสมบรู ณ์มีประสิทธิภาพ อุปกรณ์รอบขา้ งของตวั ทรานสดิวเซอร์มีรายระเอียด ดงั ต่อไปน้ี 3.1 อุปกรณ์ปรับสัญญาณ โดยปกติสญั ญาณทางเอาตพ์ ตุ ของทรานสดิวเซอร์จะมีขนาดเล็กเกินไปที่ จะบนั ทึกหรือนาไปใชง้ านได้ ด้งั น้นั จึงตอ้ งมีการปรับสญั ญาณใหม้ ีค่าเหมาะสมตอ่ อุปกรณ์ที่จะมาตอ่ ร่วม 3.2 อุปกรณ์ขยายสัญญาณ หมายถึงอุปกรณ์ที่เพิม่ ขนาดของสญั ญาณแต่ในลกั ษณะที่กลบั กนั จะ เรียกวา่ “การลดทอนสัญญาณ”(Attenuation) ปกติอุปกรณ์ขยายสัญญาณดงั กล่าวน้ีจะอยรู่ วมกบั อุปกรณ์ปรับ สญั ญาณ โดยอุปกรณ์ขยายสัญญาณจะเปลี่ยนไปตามชนิดของสญั ญาณท่ีทรานสดิวเซอร์ใช้ ซ่ึงแบ่งออกได้ ดงั น้ี 3.2.1 อุปกรณ์ขยายสญั ญาณทางกล เช่น คาน เกียร์ หรือท้งั สองอยา่ งรวมกนั โดยตวั แปรที่ จะขยายไดแ้ ก่ จานวนรอบ แรงบิด เป็นตน้ 3.2.2 อุปกรณ์ขยายสัญญาณทางไฮดรอลิกหรือนิวแมติก เช่น เวนจรู ่ีมิเตอร์หรือออริฟิ ซ มิเตอร์เพ่อื ใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงความดนั เม่ือมีการเปล่ียนแปลงเพียงเลก็ นอ้ ยของตวั แปรทางดา้ นอินพทุ 3.2.3 อุปกรณ์ขยายสัญญาณทางแสง คือ เลนส์และกระจกหรืออาจจะช้ทั ้งั สองอยา่ ง รวมกนั อุปกรณ์ดงั กวา่ วจะทาหนา้ ท่ีเปล่ียนอินพุตท่ีมีขนาดนอ้ ยๆ ไปเป็นค่าเอาตพ์ ตุ ท่ีมีขนาดมากพอเพ่ือ ความสะดวกในการแสดงผล 3.2.4 อุปกรณ์ขยายสัญญาณทางไฟฟ้ า ในวงจรทรานซิสเตอร์ ไอซี เป็นตน้ มีรายละเอียด คือ 1. การขยายแรงเคลื่อน = แรงเคล่ือนทางดา้ นเอาตพ์ ตุ /แรงเคล่ือนทางดา้ นอินพตุ 2. การขยายกระแส = กระแสทางดา้ นเอาตพ์ ตุ /กระแสทางดา้ นอินพุต 3. อตั ราการขยาย = กาลงั ทางดา้ นเอาตพ์ ุต/กาลงั ทางดา้ นอินพุต

3.3 อุปกรณ์กรองสัญญาณ การกรองสัญญาณจะแปรไปตามความเหมาะสมของชนิดสัญญาณมี รายละเอียดดงั น้ี 3.3.1 อุปกรณ์กรองสญั ญาณทางกล ประกอบดว้ ยอุปกรณ์ทางกล ทาหนา้ ท่ีป้ องกนั ทรานสดิวเซอร์จากสญั ญาณรบกวนภายนอก เช่น การรักษาจุดอา้ งอิงของเทอร์โมคปั เปิ ล ที่ถูกรักษาไวใ้ นถงั ท่ีบรรจุน้าแขง็ เพอื่ ทาหนา้ ท่ีป้ องกนั การเปลี่ยนแปลงของอุณหภมู ิรอบๆ 3.3.2 อุปกรณ์กรองสัญญาณระบบนิวแมติก ประกอบดว้ ยออริฟิ ซขนาดเลก็ หรือเวนจรู ่ีที่ ทาหนา้ ท่ีกรองสญั ญาณในระบบซ่ึงไม่ราบเรียบออก 3.3.3 อุปกรณ์กรองสัญญาณทางไฟฟ้ า เพ่อื กาจดั การคา้ งอยขู่ องสญั ญาณไฟฟ้ า และ สนามแมเ่ หล็กไฟฟ้ า เช่น วงจร R-C อยา่ งง่าย หรือวงจรกรองทางไฟฟ้ าใดๆ ที่มีความเหมาะสม 3.4 อุปกรณ์ปรับสญั ญาณไฟฟ้ า ซ่ึงประกอบไปดว้ ย 3.4.1 อุปกรณ์ชดเชยสัญญาณ หรือ อุปกรณ์ทาใหส้ ญั ญาณเป็นเชิงเส้น 3.4.2 อุปกรณ์ดิฟเฟอเรนเชียล หรือ อินทิเกรชนั 3.4.3 อุปกรณ์แปลงสัญญาณ จากสัญญาณอนาล็อกเป็นสญั ญาณดิจิตอล 3.4.4 อุปกรณ์เฉล่ียสญั ญาณ หรือ อุปกรณ์สุ่มสัญญาณ 3.5 อุปกรณ์แสดงผล เป็นอุปกรณ์รักษาค่าทางเอาตพ์ ตุ และทาหนา้ ที่แสดงค่าที่มีขนาดเดียวกนั น้ีให้ สามารถเห็นไดอ้ ยา่ งแน่นอน ชดั เจน ซ่ึงอุปกรณ์ดงั กล่าวจะตอ้ งมีคุณสมบตั ิดงั ตอ่ ไปน้ี 3.5.1 มีผลตอบสนองเร็วสุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ 3.5.2 มีความผดิ พลาดของระบบนอ้ ยที่สุด 3.5.3 มีคา่ ความเฉ่ือย ความฝืด ความตึง หรือค่าอื่นๆ ในลกั ษณะเดียวกนั น้ีนอ้ ย 4. การเลอื กทรานสดิวเซอร์มาใช้งาน ทรานสดิวเซอร์ บางคร้ังอาจถูกเรียกวา่ เซ็นเซอร์ (Sensor) หรืออาจเรียกรวมกนั ไดว้ า่ เซ็นเซอร์และ ทรานสดิวเซอร์ ก็ได้ เพราะดว้ ยคุณสมบตั ิทางฟิ สิกส์เหมือนกนั ในการนาไปใชง้ าน ตลอดจนใน กระบวนการทางอุตสาหกรรมจาเป็นตอ้ งใชท้ ้งั ทรานสดิวเซอร์และเซ็นเซอร์ในการทางาน จึงมีการผลิต ข้ึนมาใหท้ างานสมั พนั ธ์กนั ดงั น้นั การเลือกทรานสดิวเซอร์มาใชง้ านควรพจิ ารณาจากปัจจยั พ้นื ฐานดงั น้ี 4.1 ยา่ นการทางาน (Operating Rang) ทรานสดิวเซอร์จะตอ้ งรักษายา่ นการทางานตามท่ีกาหนดไว้ ไดด้ ีอยา่ งสม่าเสมอ 4.2 ความไว (Sensitivity) ทรานสดิวเซอร์จาเป็นตอ้ งมีความไวที่เพยี งพอกบั การจ่ายพลงั งานออก เอาตพ์ ตุ 4.3 ตอบสนองความถี่ และความถี่ไดร้ ะดบั (Frequency Response and Resonant Frequency) ทรานสดิวเซอร์จะตอ้ งทางานไดร้ าบเรียบไนยา่ นความถี่ที่ตอ้ งการ และความถ่ีตอ้ งถูกกระตุน้ ใหไ้ ดร้ ะดบั อยา่ งสม่าเสมอ

4.4 เหมาะสมกบั การใชง้ านในบริเวณน้นั (Environmental Compatibility) ตอ้ งใชง้ านในยา่ น อุณหภูมิของทรานสดิวเซอร์ทางานได้ ของเหลวอาจทาใหเ้ กิดสนิม มีแรงกดดนั ถูกกระตุน้ โดยรุนแรง และ ถูกกระทบกระเทือนแรงๆ หรืออาจมีปัญหาไปถึงเร่ืองขนาด และขอ้ จากดั ของช่องใส่ตวั ทรานสดิวเซอร์ 4.5 ความไวต่าสุด (Minimum Sensitivity) ตวั ทรานสดิวเซอร์จาเป็นตอ้ งมีความไวท่ีต่าสุดต่อการ กระตุน้ จากส่ิงตา่ งๆ ในบริเวณท่ีนาทรานสดิวเซอร์ไปใชง้ าน 4.6 ความเที่ยงตรง (Accuracy) ทรานสดิวเซอร์อาจจะมีปัญหาซ้าๆ และการปรับแตง่ ท่ีผดิ พลาด รวมถึงความผดิ พลาดที่เกิดจากการคา้ งความไวและการกระตุน้ จากส่ิงตา่ งๆ 4.7 การใชง้ านและความแขง็ แรง (User and Ruggedness) ทรานสดิวเซอร์จะตอ้ งมีความแขง็ แรง มากพอท้งั ในดา้ นทางกล และทางไฟฟ้ า ใหเ้ หมาะสมกบั ขนาดและน้าหนกั ของตวั ทรานสดิวเซอร์ดว้ ย เม่ือ คิดจะติดต้งั และใชง้ านทรานสดิวเซอร์ 4.8 ทางดา้ นไฟฟ้ า (Electrical) ควรพจิ ารณาถึงความยาว และชนิดของสายเคเบิลที่ตอ้ งการใช้ พิจารณาถึงอตั ราส่วนของสัญญาณตอ่ สัญญาณรบกวน(Signal to Noise Ratios) เมื่อมีการเปรียบเทียบกบั การ จากดั ค่าของอตั ราขยายและการตอบสนองความถี่ การพิจารณาเลือกใชง้ านทรานสดิวเซอร์เบ้ืองตน้ ควรพิจารณาจากส่ิงต่างๆ เช่น ชนิดของ ทรานสดิวเซอร์ท่ีตอ้ งการใช้ เร่ืองราวรายละเอียดท่ีบอกถึงการทางานของทรานสดิวเซอร์สถานที่ที่จะตอ้ ง นาทรานสดิวเซอร์ไปใชง้ าน การทางานพ้ืนฐานของตวั ทรานสดิวเซอร์ กาลงั งานที่ใชท้ างานร่วมกนั และ เงื่อนไขตา่ งๆ ท่ีจาเป็นตอ่ การใชง้ าน

ใบงานที่ 2 เรื่อง ทรานสดวิ เซอร์ โดยมีรายละเอียดการ วตั ถุประสงค์ 1. อธิบายความหมายของทรานสดิวเซอร์ 2. อธิบายนิยามอุปกรณ์รอบขา้ งของทรานสดิวเซอร์ 3. อธิบายการเลือกทรานสดิวเซอร์มาใชง้ าน เครื่องมือและอุปกรณ์ 1. เอกสารวชิ าอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม ข้นั ตอนการทางาน ใหน้ กั ศึกษาจดั ทารายงานและนาเสนอหนา้ ช้นั เรียนเรื่อง ทรานสดิวเซอร์ คน้ ควา้ ดงั น้ี 1. ระบบการวดั โดยทว่ั ไป 2. เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์ 3. นิยามอุปกรณ์รอบขา้ งของทรานสดิวเซอร์ 4. การเลือกทรานสดิวเซอร์มาใชง้ าน

แบบฝึ กหัดบทท่ี 2 เร่ือง ทรานสดวิ เซอร์ ตอนท่ี 1 จงเลือกคาตอบท่ีถูกตอ้ งเพยี งคาตอบเดียว 1. ทรานสดิวเซอร์(Transducer) เรียกอีกอยา่ งวา่ อะไร ก. ตวั แปลง ข. ตวั ตรวจจบั ค. ตวั กรองสญั ญาณ ง. ตวั แทรกสัญญาณ 2. จากขอ้ 1 เป็นอุปกรณ์ที่ทาหนา้ ที่อะไร ก. ตวั แปลง ข. ตวั ตรวจจบั ค. ตวั กรองสัญญาณ ง. ตวั แทรกสัญญาณ 3. ทรานสดิวเซอร์(Transducer) มีความหมายเดียวกบั อะไร ก. Sensor ข. Sensitivity ค. Accuracy ง. Frequency Response 4. อุปกรณ์ที่เพ่ิมขนาดของสญั ญาณแต่ในลกั ษณะท่ีกลบั กนั จะเรียกวา่ อะไร ก. การลดทอนสญั ญาณ ข. ตวั กรองสญั ญาณ ค. ตวั แทรกสญั ญาณ ง. Frequency Response 5. อุปกรณ์ขยายสญั ญาณทางไฟฟ้ า ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง ก. ในวงจรทรานซิสเตอร์ ข. ไอซี ค. ในวงจรทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้ า ง. ถูกทุกขอ้ 6. การขยายแรงเคล่ือนหาไดจ้ ากอะไร ก. แรงเคลื่อนทางดา้ นเอาตพ์ ุต/แรงเคลื่อนทางดา้ นอินพุต ข. กระแสทางดา้ นเอาตพ์ ุต/กระแสทางดา้ นอินพุต ค. กาลงั ทางดา้ นเอาตพ์ ตุ /กาลงั ทางดา้ นอินพุต ง. แรงเคลื่อนทางดา้ นเอาตพ์ ุต/กาลงั ทางดา้ นอินพุต

7. การขยายกระแสหาไดจ้ ากอะไร ก. แรงเคลื่อนทางดา้ นเอาตพ์ ุต/แรงเคลื่อนทางดา้ นอินพตุ ข. กระแสทางดา้ นเอาตพ์ ุต/กระแสทางดา้ นอินพตุ ค. กาลงั ทางดา้ นเอาตพ์ ุต/กาลงั ทางดา้ นอินพุต ง. แรงเคลื่อนทางดา้ นเอาตพ์ ุต/กาลงั ทางดา้ นอินพุต 8. อตั ราการขยายหาไดจ้ ากอะไร ก. แรงเคลื่อนทางดา้ นเอาตพ์ ตุ /แรงเคลื่อนทางดา้ นอินพุต ข. กระแสทางดา้ นเอาตพ์ ตุ /กระแสทางดา้ นอินพุต ค. กาลงั ทางดา้ นเอาตพ์ ุต/กาลงั ทางดา้ นอินพุต ง. แรงเคล่ือนทางดา้ นเอาตพ์ ตุ /กาลงั ทางดา้ นอินพตุ 9. ขอ้ ใดผดิ ก. แรงเคล่ือนทางดา้ นเอาตพ์ ตุ /แรงเคล่ือนทางดา้ นอินพตุ ข. กระแสทางดา้ นเอาตพ์ ุต/กระแสทางดา้ นอินพตุ ค. กาลงั ทางดา้ นเอาตพ์ ตุ /กาลงั ทางดา้ นอินพุต ง. แรงเคลื่อนทางดา้ นเอาตพ์ ุต/กาลงั ทางดา้ นอินพุต 10. ขอ้ ใดไม่ใช่อุปกรณ์แสดงผล ก. มีผลตอบสนองเร็วสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ข. มีความผดิ พลาดของระบบนอ้ ยท่ีสุด ค. มีคา่ ความเฉื่อย ความฝืด ความตึง ง. อุปกรณ์ที่เพมิ่ ขนาดของสญั ญาณ

แบบฝึ กหดั บทท่ี 2 เรื่อง ทรานสดิวเซอร์ คาชี้แจง จงตอบคาถามโดยเติมคาในช่องวา่ งใหส้ มบรู ณ์ 1. จงอธิบายการเลือกใชท้ รานสดิวเซอร์มาใชง้ านมาอยา่ งละเอียด .


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook