Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี

รายงานประจำปี

Published by wiwein_nutjanee, 2022-11-17 09:52:07

Description: รายงานประจำปี

Keywords: รายงานประจำปี

Search

Read the Text Version

คานา สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อมจังหวัด มีอำนำจหน้ำที่ตำมกฎกระทรวง โดยปฏิบัติงำนในฐำนะผู้แทนกระทรวงในส่วนภูมิภำคในกำรอำนวยกำร ดำเนินกำรกำกับ ดูแล ส่งเสริม สนับสนุน และประสำนกำรปฏิบัติภำรกิจด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมในเขตพ้ืนที่จังหวัด จดั ทำแผนบริหำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อมในระดับจังหวัด แผนปฏิบัติกำรเพื่อกำรจัดกำร คณุ ภำพส่ิงแวดล้อมในระดับจงั หวัดและรว่ มจดั ทำแผนพฒั นำจงั หวัด กลมุ่ จังหวดั และท้องถิ่น รวมทง้ั แผนงำน อ่ืนท่ีเก่ียวข้อง กำกับ เฝ้ำระวัง ติดตำม ตรวจสอบ ประเมินผล บูรณำกำรกำรแก้ไขปัญหำ และรำยงำน สถำนกำรณด์ ้ำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มของจงั หวดั ดำเนนิ กำรตำมกฎหมำยวำ่ ด้วยป่ำไม้ กฎหมำย วำ่ ด้วยปำ่ สงวนแห่งชำติ กฎหมำยว่ำด้วยสวนป่ำ กฎหมำยว่ำด้วยเล่อื ยโซ่ยนต์ กฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรสงวนและ คมุ้ ครองสตั ว์ปำ่ กฎหมำยว่ำดว้ ยกำรส่งเสริมและรกั ษำคุณภำพส่ิงแวดล้อม กฎหมำยทเี่ กย่ี วข้องกับกำรกำกับ ดูแลกำรประกอบกิจกำรนำ้ บำดำล และกิจกำรประปำสัมปทำน รวมทั้งกฎหมำยอ่ืนที่ไดร้ บั มอบหมำย ส่งเสริม สนับสนุน เผยแพร่ ให้คำปรึกษำ พัฒนำองค์ควำมรู้ และสร้ำงกำรมีส่วนร่วมของประชำชน เครือข่ำย และ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในกำรสงวน อนุรักษ์ และฟ้ืนฟูทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อม พร้อมท้ังมี หน้ำที่ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอื่นที่เก่ียวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมำย เพ่ือให้สอดคล้องและสนองตอบนโยบำยแผนปฏิบัติรำชกำร 5 ปี และแผนปฏิบัติรำชกำรตำม คำรับรองกำรปฏบิ ัติรำชกำรประจำปี 2565 รำยงำนประจำปี 2565 ของสำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อมจังหวัดชัยนำท ฉบับนี้ เป็นกำรรวบรวมผลกำรดำเนินงำนที่ได้ดำเนินกำรตำมอำนำจหน้ำที่/ภำรกิจ รวมทั้งกำรประมวลผล กำรดำเนนิ งำนสำคญั ตำมประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ ตำมแผนปฏิบัติรำชกำรประจำปี เพ่ือเผยแพร่ผลกำรดำเนนิ งำน อีกทั้งเพื่อเป็นข้อมูลที่จะให้หน่วยงำนอ่ืน และประชำชนทั่วไป นำไปใช้ประโยชน์ หรือประกอบกำรอ้ำงอิง ในสว่ นท่เี กี่ยวขอ้ งตอ่ ไป สำนกั งำนทรพั ยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดลอ้ มจงั หวดั ชัยนำท พฤศจิกำยน 2565 รายงานประจาปี 2565 ก สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและสงิ่ แวดลอ้ มจังหวดั ชัยนำท

สารบัญ หนำ้ คานา 1 สารบญั 2 3 ขอ้ มูลทว่ั ไป 4 วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ คำ่ นิยม 7 ที่ตง้ั 13 อำนำจและหน้ำท่ี 28 โครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรและหนำ้ ทส่ี ว่ นงำน 31 อตั รำกำลัง / บคุ ลำกร 41 ขอ้ มูลทวั่ ไปจงั หวัดชยั นำท ข้อมูลด้ำนทรพั ยำกรธรรมชำติ 50 ข้อมูลดำ้ นส่งิ แวดลอ้ ม 71 ข้อมูลด้ำนทรพั ยำกรน้ำ 130 151 ผลการดาเนินงาน 158 ด้ำนทรพั ยำกรธรรมชำติ ด้ำนสง่ิ แวดล้อม 185 ดำ้ นทรพั ยำกรนำ้ ดำ้ นอำนวยกำร ดำ้ นยทุ ธศำสตร์ ปัญหำอุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ ข รายงานประจาปี 2565 สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มจงั หวดั ชัยนาท

วิสยั ทัศน์ พันธกิจ คา่ นยิ ม วิสัยทัศน์ “ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมมีควำมสมดุลและย่ังยืนภำยในปี 2580” พันธกิจ 1. แปลงนโยบำยระดับชำติ ระดับประเทศ ระดับกระทรวง ลงสู่แผนกำรบริหำรจัดกำร ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมทุกระดับ 2. ขับเคล่ือน ดำเนินกำร สนับสนุน ควบคุม กำกับ ติดตำม ตรวจสอบ เฝ้ำระวัง ป้องกันและ ประเมินผลกำรจัดกำรเพ่ือให้ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมมีควำมสมดุลและย่ังยืน 3. ส่งเสริมกำรมีส่วนร่วม และบรูณำกำรควำมร่วมมือในกำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและ สิ่งแวดล้อมท้ังภำยในประเทศและต่ำงประเทศ 4. พัฒนำระบบ สร้ำงกลไก และสนับสนุนปรับปรุง กฎ ระเบียบ เพื่อกำรบริหำรจัดกำร ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมเชิงรุก 5. พัฒนำระบบบริหำรจัดกำรองค์กรสู่ควำมเป็นเลิศอย่ำงมีธรรมำภิบำล คา่ นิยม O M – Mastery มีควำมเปน็ มอื อำชพี O – Outstanding มีควำมโดดเด่นเป็นที่ประจกั ษ์ N – Nature Conservation ยดึ กำรอนุรักษธ์ รรมชำตเิ ป็นทต่ี ัง้ R – Responsibility มคี วำมรับผดิ ชอบ E – Environmentalism ควำมเชีย่ วชำญดำ้ นสิ่งแวดล้อม/สิง่ แวดล้อมนิยม รายงานประจาปี 2565 01 สำนกั งำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มจังหวดั ชัยนำท

ท่ตี ง้ั สานักงาน สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดชัยนำท เป็นหน่วยงำนรำชกำรบริหำร สว่ นภมู ิภำค สังกดั สำนักงำนปลดั กระทรวงทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยำกรธรรมชำติ และสิ่งแวดล้อม สำนักงำนตั้งอยู่ ณ อำคำรเลขที่ 157/2 ถนนพรหมประเสริฐ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง ชยั นำท จงั หวดั ชัยนำท 17000 2 รายงานประจาปี 2565 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและสงิ่ แวดล้อมจงั หวดั ชยั นำท

อานาจและหนา้ ท่ี ตำมกฎกระทรวงแบ่งส่วนรำชกำรสำนักงำนปลัดกระทรวง กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติ และสง่ิ แวดล้อม พ.ศ. 2560 กำหนดให้สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดลอ้ มจังหวดั มีอำนำจและ หน้ำที่ ดงั นี้ 1. ปฏิบัติงำนในฐำนะผู้แทนกระทรวงในส่วนภูมิภำคในกำรอำนวยกำร ดำเนินกำรกำกับ ดแู ล ส่งเสริม สนับสนุน และประสำนกำรปฏบิ ัตภิ ำรกิจด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อมในเขตพื้นที่ จังหวดั 2. จัดทำแผนบรหิ ำรจดั กำรทรพั ยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดลอ้ มในระดบั จังหวัด แผนปฏบิ ัติ กำรเพื่อกำรจัดกำรคุณภำพส่ิงแวดล้อมในระดับจังหวัดและร่วมจัดทำแผนพัฒนำจังหวัด กลุ่มจังหวัด แล ะ ท้องถ่นิ รวมทง้ั แผนงำนอ่ืนท่เี ก่ียวข้อง 3. กำกับ เฝ้ำระวัง ติดตำม ตรวจสอบ ประเมินผล บูรณำกำรแก้ไขปัญหำ และรำยงำน สถำนกำรณ์ด้ำนทรพั ยำกรธรรมชำติและสงิ่ แวดล้อมของจังหวัด 4. ดำเนนิ กำรตำมกฎหมำยว่ำด้วยป่ำไม้ กฎหมำยว่ำดว้ ยป่ำสงวนแห่งชำติ กฎหมำยว่ำดว้ ย สวนป่ำ กฎหมำยว่ำด้วยเลื่อยโซ่ยนต์ กฎหมำยว่ำด้วยกำรสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ำ กฎหมำยว่ำด้วยกำร ส่งเสรมิ และรักษำคุณภำพสง่ิ แวดล้อม กฎหมำยท่ีเก่ียวข้องกับกำรกำกับดูแลกำรประกอบกิจกำรน้ำบำดำล และกิจกำรประปำสมั ปทำน รวมท้ังกฎหมำยอน่ื ที่ไดร้ ับมอบหมำย 5. ส่งเสรมิ สนับสนนุ เผยแพร่ ให้คำปรึกษำ พัฒนำองคค์ วำมรู้ และสรำ้ งกำรมสี ่วนร่วมของ ประชำชนเครอื ข่ำย และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นในกำรสงวน อนรุ ักษ์ และฟื้นฟทู รัพยำกรธรรมชำตแิ ละ สงิ่ แวดล้อม 6. ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอ่ืนที่เก่ียวข้องหรือได้รับ มอบหมำย รายงานประจาปี 2565 03 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดล้อมจงั หวดั ชยั นำท

โครงสร้างการบรหิ ารและหนา้ ท่สี ่วนงาน การบรหิ ารภายในสานักงานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมจงั หวดั ชัยนาท แบ่งออกเปน็ 5 สว่ นงาน ดังนี้ สานกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ส่งิ แวดลอ้ มจงั หวดั ชัยนาท สว่ น ส่วน สว่ น สว่ น สว่ น อานวยการ สงิ่ แวดลอ้ ม ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรน้า ยทุ ธศาสตร์ อานาจและหน้าที่ของแต่ละส่วนงาน ตำมคำส่ังสำนักงำนปลัดกระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อม ที่ 385/2561 ลงวันที่ 21 มีนำคม พ.ศ. 2561 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดชัยนำท จึงมโี ครงสร้ำงและหน้ำที่ ส่วนงำนภำยใน ดงั นี้ สว่ นอานวยการ หน้ำท่แี ละอำนำจ (1) ดำเนนิ กำรตำมระเบยี บ กฎหมำยว่ำดว้ ยงำนสำรบรรณ งำนธรุ กำร และงำนรัฐพิธีตำ่ ง ๆ (2) เบิกจ่ำยงบประมำณ รำยงำนกำรใช้จ่ำยงบประมำณตำมระบบ ติดตำมและประเมินผล โครงกำร e-project Tracking เร่งรัดกำรใช้จ่ำยเงินงบประมำณ กำรกันเงินเบิกจ่ำยเหล่ือมปี และกำรขอ ขยำยระยะเวลำเบิกจ่ำยข้ำมปีงบประมำณ บริหำรงำนด้ำนพัสดุ ดำเนินกำรจัดซ้ือจัดจ้ำงให้เป็นไปตำม กฎหมำยว่ำดว้ ยกำรพัสดุ ระเบยี บ มติ ครม. และกฎหมำยอ่ืนท่ีเกยี่ วขอ้ ง ควบคมุ กำรใช้พลังงำน ดูแลอำคำร สำนักงำน สถำนที่และสงิ่ ปลูกสร้ำง กำรใชร้ ถรำชกำรใหเ้ ปน็ ไปตำมกฎหมำย ระเบยี บ มติ ครม. และกฎหมำย ที่เกยี่ วข้อง (3) ดำเนินงำนด้ำนบริหำรงำนบุคคล กำรเลือ่ นเงินเดอื น สมดุ ประวตั ิ บำเหน็จบำนำญ กำรขอ พระรำชทำนเครอ่ื งรำชอสิ ริยำภรณ์ (4) ดำเนินงำนควบคุมภำยใน ตำมระเบียบคณะกรรมกำรตรวจเงินแผ่นดิน ตำมกฎหมำย ระเบียบ มติ ครม. และกฎหมำยอน่ื ทเี่ ก่ียวข้อง (5) ดำเนินงำนตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตในส่วนที่เก่ียวข้อง และงำนตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยข้อมลู ขำ่ วสำรของทำงรำชกำร (6) ส่งเสริมและคุ้มครองจริยธรรม เผยแพร่ ปลูกฝัง ส่งเสริมยกย่อง และติดตำมกำรปฏิบัติ ตำมประมวลจรยิ ธรรมของข้ำรำชกำร (7) ควบคุม ดูแล รักษำ กำรใช้ประโยชน์ระบบเครอื ข่ำยคอมพิวเตอร์และดำเนินกำรพัฒนำ เว็บไซตร์ วมทัง้ เผยแพร่ข้อมูลสำรสนเทศ (8) ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอื่นท่ีเกี่ยวข้องหรือท่ีได้รับ มอบหมำย 4 รายงานประจาปี 2565 สำนกั งำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั ชยั นำท

ส่วนสิ่งแวดล้อม หนำ้ ทแ่ี ละอำนำจ (1) จัดทำแผนปฏิบตั ิกำรเพื่อกำรจัดกำรคุณภำพส่ิงแวดล้อมในระดับจังหวดั และแผนบริหำร จัดกำรขยะมลู ฝอยและของเสยี อันตรำยของจงั หวัด (2) ตรวจสอบสถำนกำรณ์ส่งิ แวดลอ้ มของจังหวัด (3) บรู ณำกำรแกไ้ ขปญั หำดำ้ นส่ิงแวดล้อมร่วมกับหนว่ ยงำนท่ีเก่ยี วขอ้ ง (4) พัฒนำและสร้ำงเครือข่ำยอำสำสมัครพิทักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อมหมู่บ้ำน (ทสม.) และเครอื ขำ่ ยอนื่ ๆ (5) เฝำ้ ระวงั ตรวจสอบ ควบคุม ดแู ล แหล่งกำเนิดมลพษิ (6) ประสำนให้คำแนะนำ ส่งเสริมเผยแพร่ ประชำสัมพันธ์ควำมรู้ด้ำนกำรจัดกำรคุณภำพ สิง่ แวดล้อม กำรควบคมุ มลพิษ คุ้มครองส่ิงแวดลอ้ ม โดยกำรมสี ว่ นรว่ มของทุกภำคส่วน (7) ดำเนินกำรเรอื่ งร้องเรียนด้ำนสง่ิ แวดลอ้ ม (8) ดำเนินกำรตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรส่งเสริมและรักษำคุณภำพส่ิงแวดล้อมแห่งชำติ และ กฎหมำยอ่นื ที่เกยี่ วขอ้ ง (9) ปฏิบตั งิ ำนร่วมกบั หรอื สนับสนนุ กำรปฏิบัตงิ ำนของหน่วยงำน สว่ นทรพั ยากรธรรมชาติ หน้ำท่แี ละอำนำจ (1) กำรอนุญำต ตรวจสอบ ควบคุม กำกับดูแลโรงงำนแปรรูปไม้ โรงค้ำสิ่งประดิษฐ์ และ กำรอนญุ ำตอ่นื ๆ ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกรมป่ำไมแ้ ละกฎหมำยอนื่ ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง (2) กำรอนุญำต ตรวจสอบ ควบคุมกำรมีเล่ือยโซ่ยนต์ ตำมกฎหมำยว่ำด้วยเลื่อยโซ่ยนต์ และกฎหมำยอน่ื ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง (3) กำรอนุญำต ตรวจสอบ ควบคุมกำรทำไม้สวนป่ำ ตำมกฎหมำยว่ำด้วยสวนป่ำ และกฎหมำยอื่นทเ่ี กยี่ วข้อง (4) รับคำขออนุญำตตรวจสอบพื้นท่ี กำรขออนญุ ำตเข้ำทำประโยชน์ในเขตปำ่ สงวนแห่งชำติ รับคำขอตรวจสอบพื้นท่ีและพิจำรณำอนุญำตกำรขอผ่ำนทำงหรือปล่อยสัตว์เล้ียงตำมกฎหมำยว่ำด้วยป่ ำ สงวนแห่งชำตแิ ละกฎหมำยอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง (5) จัดทำแผนและบูรณำกำร กำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรป่ำไม้ ทรัพยำกรทำงทะเล และชำยฝ่งั และทด่ี นิ ในระดบั จงั หวัด (6) สง่ เสริม เผยแพร่ ประชำสัมพนั ธ์ และสร้ำงเครอื ข่ำยกำรมสี ่วนร่วมของทุกภำคส่วนในกำร อนุรกั ษท์ รัพยำกรธรรมชำติ (7) ดำเนินกำรกำรเรื่องรอ้ งเรียนด้ำนทรพั ยำกรธรรมชำติและดำเนินกำรตำมกฎหมำยวำ่ ด้วย กำรอำนวยควำมสะดวก (8) ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอ่ืนที่เก่ียวข้องหรือที่ได้รับ มอบหมำย รายงานประจาปี 2565 05 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจังหวัดชยั นำท

สว่ นทรพั ยากรนา้ หน้ำทแี่ ละอำนำจ (1) กำรอนุญำต ควบคุม กำกับดูแลกำรประกอบกิจกำรน้ำบำดำลตำมกฎหมำยว่ำด้วยน้ำ บำดำล (2) กำรตรวจสอบกำรประกอบกิจกำรน้ำบำดำล เปรียบเทียบคดีควำมผิดตำมกฎหมำย ว่ำดว้ ยน้ำบำดำล และกฎหมำยอื่นทเ่ี กีย่ วขอ้ ง (3) รับคำขอสัมปทำน ต่ออำยุ โอน ขยำยเขตประปำสมั ปทำน รวมทั้งคำขอปรับอัตรำค่ำน้ำ หรือคำรบั รองมำตรวัดน้ำ (4) ประสำนกำรสำรวจกำรใชป้ ระโยชนท์ รัพยำกรธรณใี นระดับจงั หวัด (5) ประสำนและดำเนินกำรแกไ้ ขปญั หำอทุ กภยั และภยั แลง้ (6) ดำเนินกำรเร่ืองร้องเรียนด้ำนทรัพยำกรน้ำ ดำเนินกำรตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรอำนวย ควำมสะดวก และกฎหมำยอ่ืน ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง (7) ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอ่ืนท่ีเก่ียวข้องหรือที่ได้รับ มอบหมำย สว่ นยุทธศาสตร์ อำนำจหนำ้ ที่ (1) จดั ทำแผนกำรบรหิ ำรจดั กำรทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจังหวัด (2) จดั ทำยทุ ธศำสตร์กลุ่มจงั หวัดและจังหวัด (3) ประสำนกำรจัดทำแผนกำรบริหำรจัดกำร แผนปฏิบัติกำรด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติและ สิ่งแวดล้อมกับหน่วยงำนรำชกำร องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ภำคเอกชน องค์กรอิสระ เครือขำ่ ยกำรมีสว่ นร่วม (4) จัดทำคำขอตั้งงบประมำณประจำปีต่อสำนักงำนปลัดกระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติ และสงิ่ แวดล้อม จงั หวดั กลมุ่ จังหวดั องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ และกองทนุ ต่ำง ๆ (5) จัดทำรำยงำนสรุปผลกำรปฏบิ ตั ิงำนโครงกำรตำ่ ง ๆ รวมทัง้ รำยงำนประจำปี (6) กำกับ ตดิ ตำม ประเมนิ ผลตำมแผนยุทธศำสตร์ แผนงำนโครงกำร งบประมำณ (7) ดำเนินกำรเกยี่ วกบั กำรพฒั นำระบบสำรสนเทศด้ำนทรพั ยำกรธรรมชำติและส่งิ แวดล้อม (8) ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอื่นท่ีเก่ียวข้องหรือที่ได้รับ มอบหมำย 6 รายงานประจาปี 2565 สำนกั งำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั ชัยนำท

อตั รากาลัง/บคุ ลากร สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อมจังหวัดชัยนำท มีอัตรำกำลัง ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 รวมทั้งสิ้น 28 คน แบ่งเป็นข้ำรำชกำร จำนวน 15 คน พนักงำนรำชกำร จำนวน 3 คน พนักงำนรำชกำรเฉพำะกจิ จำนวน 5 คน และพนกั งำนจ้ำงเหมำ จำนวน 5 คน 5 5 15 อัตรากาลัง ทง้ั สน้ิ 28 คน 3 ข้าราชการ พนกั งานราชการ พนักงานราชการเฉพาะกจิ พนกั งานจา้ งเหมา แสดงอตั รำกำลงั บคุ ลำกรสำนกั งำนทรพั ยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดลอ้ มจังหวัดชยั นำท จำแนกตำมระดบั กำรศึกษำ ส่วนสงิ่ แวดล้อม 4 21 ส่วนทรพั ยำกร… 3 1 สว่ นทรัพยำกรนำ้ 2 1 3 ส่วนยทุ ธศำสตร์ 2 1 ส่วนอำนวยกำร 3 11 2 ผู้อำนวยกำรสำนกั งำน 1 012345678 ผ้อู ำนวยกำร สว่ น ส่วน สว่ น สว่ น สว่ น สำนกั งำน อำนวยกำร ยทุ ธศำสตร์ ทรัพยำกรนำ้ ทรัพยำกร สง่ิ แวดล้อม ธรรมชำติ ขำ้ รำชกำร 1 3 22 4 พนักงำนรำชกำร 0 1 00 3 2 พนกั งำนรำชกำรเฉพำะกจิ 0 1 11 1 พนกั งำนจ้ำงเหมำ 0 2 03 0 0 1 0 รายงานประจาปี 2565 07 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มจงั หวดั ชยั นำท

โครงสรา้ งอตั รากาลงั สานักงานทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมจังหวดั ชยั นาท ผอู้ านวยการ สานกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม จังหวดั ชัยนาท สว่ น ส่วน สว่ น ส่วน สว่ น อานวยการ สิ่งแวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรนา้ ยทุ ธศาสตร์ นักจัดกำรงำนท่วั ไป นักวชิ ำกำรสง่ิ แวดล้อม นกั วิชำกำรป่ำไม้ เจ้ำพนักงำน นักวิเครำะห์นโยบำย ชำนำญกำร ชำนำญกำรพิเศษ ชำนำญกำรพิเศษ ทรัพยำกรธรณีอำวโุ ส และแผนปฏบิ ัตกิ ำร 1 อตั รำ 1 อตั รำ 1 อตั รำ 1 อัตรำ 2 อตั รำ เจำ้ พนกั งำนธรุ กำร นักวชิ ำกำรสงิ่ แวดล้อม ชำนำญงำน ปฏิบัตกิ ำร นักวชิ ำกำรปำ่ ไม้ นำยช่ำงเทคนิคปฏิบัตกิ ำร 1 อตั รำ 3 อตั รำ ชำนำญกำร 1 อตั รำ 2 อตั รำ เจ้ำพนกั งำนธุรกำร นักวิชำกำรสงิ่ แวดล้อม ปฏิบัตงิ ำน 1 อตั รำ นกั วิชำกำรป่ำไม้ นักวเิ ครำะหน์ โยบำย 2 อตั รำ ปฏิบัตกิ ำร และแผน เจ้ำพนกั งำนธุรกำร 1 อตั รำ 1 อัตรำ เจำ้ หน้ำทบ่ี รหิ ำรงำน 1 อัตรำ ทั่วไป นำยช่ำงเทคนิค 1 อตั รำ 1 อัตรำ พนักงำนจ้ำงเหมำ พนักงำนทวั่ ไป 2 อตั รำ 1 อัตรำ 8 รายงานประจาปี 2565 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดลอ้ มจังหวัดชยั นำท

บคุ ลากรสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม จังหวดั ชัยนาท นายอดศิ กั ดิ์ จันทรงั ษี ผูอ้ านวยการสานกั งานทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ มจังหวัดชยั นาท ว่าง นางสาวจติ ติมา เช้ือกูล นางกมลวรรณ อา่ บุญ ผอู้ ำนวยกำรส่วนทรพั ยำกรธรรมชำติ นักวชิ ำกำรสงิ่ แวดลอ้ มชำนำญกำร เจ้ำพนักงำนทรัพยำกรธรณอี ำวโุ ส ผอู้ ำนวยกำรสว่ นสง่ิ แวดลอ้ ม ผู้อำนวยกำรสว่ นทรพั ยำกรน้ำ นางจฑุ าทิพ สุทธิบุตร วา่ ง นกั จัดกำรงำนท่ัวไปชำนำญกำร ผู้อำนวยกำรส่วนยทุ ธศำสตร์ ผ้อู ำนวยกำรส่วนอำนวยกำร รายงานประจาปี 2565 09 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสิ่งแวดล้อมจงั หวัดชยั นำท

บุคลากรสว่ นทรัพยากรธรรมชาติ นายไกรสิทธิ์ พาณิชย์สวย นางสาวอรอมุ า บตุ ราศรี นางสาวกรรธมิ า ปฏิปทามรรค นกั วชิ ำกำรปำ่ ไม้ชำนำญกำร นกั วิชำกำรปำ่ ไม้ชำนำญกำร นักวิชำกำรป่ำไมป้ ฏิบตั กิ ำร บุคลากรส่วนสงิ่ แวดลอ้ ม นางสาวญาณศิ ชา ไหลแ่ ท้ นางสาวชฎาพร อัครฐาวฒั น์ นางสาวสุทธนิ ี พูลสวัสด์ิ นกั วิชำกำรสิง่ แวดลอ้ มปฏบิ ตั ิกำร นักวชิ ำกำรส่ิงแวดล้อมปฏิบัติกำร นกั วชิ ำกำรสิง่ แวดลอ้ มปฏบิ ัติกำร นางรัตนา สงั ข์ทอง นางสาวจนั ทิมา รักซ้อน นักวิชำกำรสงิ่ แวดลอ้ ม เจ้ำพนกั งำนธุรกำร 10 รายงานประจาปี 2565 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดชัยนำท

บุคลากรส่วนทรัพยากรน้า นายชัยพร ชชู ื่น นำยชำ่ งเทคนิคปฏบิ ตั ิกำร นางสาวสริ วิ รรณ เงินช่ัง นายกฤษติวตั ร์ ฤทธิโชติ นางสาวบวรลกั ษณ์ ลพเมฆ นักวเิ ครำะห์นโยบำยและแผน นำยช่ำงเทคนคิ พนักงำนทวั่ ไป บุคลากรสว่ นอานวยการ นางสาวณฐั พร ณ เวชรินทร์ นางดวงนภา ปานขวัญ ว่าง เจ้ำพนักงำนธุรกำรชำนำญงำน เจำ้ พนกั งำนธุรกำรปฏบิ ตั ิกำร เจ้ำพนกั งำนธรุ กำรปฏบิ ัตกิ ำร นางสาววิราพร คาจริง นางสาวบุญชู พวงอนิ ทร์ นายสายัณต์ เท่ยี งทอง เจำ้ หน้ำทบ่ี รหิ ำรงำนทว่ั ไป พนกั งำนทำควำมสะอำด พนกั งำนขบั รถ รายงานประจาปี 2565 011 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมจงั หวัดชยั นำท

บุคลากรส่วนยุทธศาสตร์ นางดวงภรณ์ วิเศษวงษา นางสาวนจุ ณี วันชนะ นกั วเิ ครำะห์นโยบำยและแผนปฏิบัติกำร นกั วิเครำะห์นโยบำยและแผนปฏิบัตกิ ำร พนักงานราชการเฉพาะกจิ นายอนุรักษ์ กลิ่นรุ่ง นางสาวญาดา แย้มอรุณ นางสาวณภัทร นาคปานเสอื เจำ้ หนำ้ ท่ีบรหิ ำรงำนทว่ั ไป เจำ้ หนำ้ ท่บี ริหำรงำนท่วั ไป เจ้ำหน้ำทบ่ี รหิ ำรงำนทว่ั ไป นางสาวกลั ยา บุญมา นางสาวญาณัจฉรา อรรถสขุ เจ้ำหน้ำที่บรหิ ำรงำนท่วั ไป เจำ้ หน้ำท่บี ริหำรงำนท่วั ไป 12 รายงานประจาปี 2565 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดล้อมจังหวดั ชัยนำท

ข้อมลู พื้นฐานจังหวัดชยั นาท คาขวัญจงั หวัดชัยนาท หลวงปู่ศขุ ลอื ชา เขือ่ นเจา้ พระยาลอื ชอื่ นามระบอื สวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา ตราประจาจังหวัดชยั นาท รปู ธรรมจักรรองรบั ด้วยพญาครุฑเบอ้ื งหลงั เปน็ แม่น้าและภูเขา รูปพระธรรมจักร : สญั ลักษณ์รูปธรรมจักรที่ฝ่ำพระหัตถ์ขำ้ งขวำของหลวงพอ่ ธรรมจักร (พระพทุ ธรปู ปำงห้ำมญำติ) ท่ีประดิษฐำนอยู่ ณ บริเวณวัดธรรมำมูลวรวิหำร (พระอำรำมหลวง) ต้ังอยู่บนไหล่เขำ ธรรมมำมลู ทีช่ ำวชัยนำทมีควำมศรทั ธำเคำรพนบั ถอื เป็นพระสำคัญประจำเมืองชยั นำท รูปพญาครุฑ : มีควำมหมำยว่ำ “แม้นแต่พญำครุฑศักดำนุภำพก็ยังซำบซ้ึงในพระธรรมจักร อนั เป็นสัญลกั ษณ์สงู สุดของพระศำสนำ” แมน่ า้ และภูเขา : เพ่อื แสดงใหเ้ ห็นสภำพทำงภมู ศิ ำสตรข์ องจงั หวัดชัยนำท รายงานประจาปี 2565 013 สำนกั งำนทรพั ยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อมจังหวัดชัยนำท

ดอกไมป้ ระจาจังหวัดชยั นาท ดอกชยั พฤกษ์ ชัยพฤกษ์ เป็นไม้มงคล ตำมช่ือ หมำยถึงต้นไม้แห้งชัยชนะ ใบใช้ประดิษฐ์เป็นพวงมำลัยสวมศีรษะ เพอ่ื เป็นเกียรตยิ ศยิ่งใหญแ่ กก่ วแี ละนักดนตรีในสมัยโบรำณ สำหรับของไทย เป็นดอกไม้ประจำจงั หวดั ชยั นำท ช่อชัยพฤกษ์ประดับเป็นมงคลหลำยที่ เช่น บนอินทรธนูข้ำรำชกำร และประดับประกอบดำว บนอนิ ทรธนูและหมวกของทหำรและตำรวจทัง้ หลำย ชัยพฤกษ์ มีถ่ินกำเนิดในอินโนนีเซีย และแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีช่ือวิทยำศำสตร์ว่ำ Cassia javanica L. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสชี มพูเข้ม เม่ือออกดอกไม่ทิ้งใบ ฝงั เกลี้ยงใช้ทำยำได้ ตน้ ไม้ประจาจังหวัดชัยนาท ตน้ มะตมู ต้นมะตูมเป็นพันธ์ุไม้มงคลพระรำชทำนประจำจังหวัดชัยนำท ผู้ที่ได้รับทุนเล่ำเรียนหลวงหรือ งำนสมรสพระรำชทำนจะได้รับพระรำชทำนใบมะตูมเพ่อื เป็นสิรมิ งคล คนไทยถือว่ำมะตูมเป็นไม้มงคล นิยมปลูกทำงทิศตะวันออกเฉียงเหนือของบ้ำน ศำสนำฮินดู เป็นต้นไม้ศักด์ิสิทธิ์ของพระศิวะ ดังน้ันจึงพบต้นมะตูมได้ทั่วไปในสวนของวิหำรในประเทศอินเดีย และใบมะตมู ยงั เป็นสว่ นประกอบในพิธกี รรมทำงศำสนำ เชน่ กำรทำน้ำมนตส์ ะเดำะเครำะหห์ รือครอบครู 14 รายงานประจาปี 2565 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดลอ้ มจังหวดั ชัยนำท

1. ความเป็นมา เมืองชัยนำทเป็นเมืองโบรำณ ตัวเมืองเดิมตั้งอยู่ตรงทำงแยกฝ่ังขวำของแม่น้ำเจ้ำพระยำที่ปำกน้ำ เมืองสรรค์(ปำกคลองแพรกศรีรำชำใต้ปำกลำน้ำเก่ำ) เมืองน้ีต้ังข้ึนภำยหลังเมืองพันธุมวดี (สุพรรณบุรี) เป็นเมืองหนำ้ ด่ำนของกรุงสุโขทยั จำกศิลำจำรึกสมัยพอ่ ขนุ รำมคำแหงมีแตช่ ื่อเมืองแพรก ส่วนเมืองชัยนำท เพิ่งมำปรำกฏ ในรัชกำลสมเด็จพระรำมำธิบดีที่ 1 เมื่อ พ.ศ.1890 ซึ่งเป็นปีที่พระเจ้ำเลอไทสวรรคต กรุงสุโขทัยเกิดกำรแย่งชิง รำชสมบัติสมเด็จ พระรำมำธิบดีท่ี 1 ทรงเห็นเป็นโอกำสเหมำะ จึงยกกองทัพ เข้ำยึดเมืองชัยนำท หลังจำกพระยำลิไทข้ึนครองรำชย์ ทำงกรุงศรีอยุธยำซึ่งสมเด็จพระรำมำธิบดีท่ี 1 ได้สถำปนำให้เป็นรำชธำนีมีกำลังเข้มแข็งมำก จึงได้โปรดให้ขุนหลวงพะงั่วซ่ึงครองเมืองสุพรรณบุรียกทัพ มำตีเมืองชัยนำท ซึ่งเป็นเมืองหน้ำด่ำนของกรุงสุโขทัย เมืองชัยนำทจึงตกเป็นเมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยำ โดยมีขุนหลวงพะง่ัวเป็นผู้รักษำเมือง เม่ือกรุงสุโขทัยสงบแล้ว พระยำลิไทได้ส่งทูตมำกรุงศรีอยุธยำ เพ่ือเจรจำขอเมืองชัยนำทคืนให้แก่กรุงสุโขทัย โดยจะยอมให้เป็นอิสระและมีสัมพันธไมตรีต่อกัน กล่ำวคือ ต่ำงฝ่ำยต่ำงก็มีอิสระต่อกัน ในท่ีสุดกรุงศรีอยุธยำได้คืนเมืองชัยนำทให้แก่กรุงสุโขทัย นักประวัติศำสตร์ สนั นษิ ฐำนวำ่ กำรทีแ่ คว้นกมั พุช (ลพบุรี) เข้ำรว่ มในกำรรบ ประกอบกบั กรุงศรอี ยุธยำกำลงั สถำปนำไดไ้ มน่ ำน ถ้ำมีศึกขนำบสองด้ำนจะสร้ำงปัญหำให้ไม่น้อย ด้วยเหตุผลน้ีเองที่ทำให้กรุงศรีอยุธยำคืนเมืองชัยนำท แกก่ รุงสุโขทยั โดยดี สำหรับเมืองชัยนำทนี้ จะได้นำมมำแต่เมื่อใดไม่ปรำกฏหลักฐำนที่แน่นอน ถ้ำจะแปลควำมหมำย ของ “ชัยนำท” ก็น่ำจะได้ควำมว่ำ เมืองท่ีมีช่ือเสียงในทำงควำมมีชัย เป็นที่สันนิษฐำนว่ำช่ือเมอื งชัยนำทนี้ คงจะได้ตั้งข้ึนภำยหลังจำก พ.ศ.1702 แต่คงไม่ถึง พ.ศ.1946 กล่ำวคือ ขุนเสือ ขวัญฟ้ำ หรือเจ้ำคำฟ้ำ กษัตริย์เมืองเมำ เข้ำทำสงครำมกับอำณำจักรโยนกเจ้ำเมืองฟังคำ ซึ่งเป็นเมืองหนึ่งในอำณำจักรโยนก หลังจำกฟังคำแตก เจ้ำเมืองฟังคำจึงอพยพผู้คนลงมำท่ีเมืองแปบ (กำแพงเพชร) แล้วสร้ำงเมืองตรัยตรึงษ์ ท่ีตำบลแพรก (ต.แพรกศรีรำชำในปัจจบุ ัน) หลังจำกนั้นคงจะได้สรำ้ งเมืองชยั นำทขึ้น และเหตทุ ต่ี ้ังชอื่ ชัยนำท คงเน่ืองจำกกำรรบชนะเจ้ำของท้องถิ่นเดิม ส่วนที่กล่ำวว่ำนำมชัยนำทคงจะได้มำก่อน พ.ศ.1946 นั้น เนื่องจำกสมเด็จพระนครินทรำธิรำชได้โปรดให้เจ้ำสำมพระยำไปครองเมืองชัยนำท ตำมควำม ในประวัติศำสตร์ พอจะเป็นสิ่งท่ีสันนิษฐำนกันได้ว่ำ คำว่ำชัยนำท คงจะได้ช่ือมำก่อนปี พ.ศ.1946 อย่ำงไรก็ตำม คำว่ำ “ชัยนำท” ก็เป็นนำมท่ีเป็นสิริมงคลมำแต่โบรำณกำลจนถึงปัจจุบัน เพรำะชัยนำท ก็ยังบันลือไปดว้ ยชัยชนะต่อควำมอดอยำกหิวโหย ยังควำมผำสุกใหแ้ ก่ชำวชัยนำทและจังหวัดใกลเ้ คียงตลอด ลมุ่ แมน่ ำ้ เจำ้ พระยำ แมน่ ำ้ ทำ่ จนี และแมน่ ำ้ นอ้ ย จนถงึ ปัจจุบนั 2. สภาพทางภมู ิศาสตร์ 2.1 ทีต่ ้งั และอาณาเขต จังหวัดชัยนำทเป็นจังหวัดหนึ่งของภำคกลำงตอนบน ซึ่งประกอบด้วยจังหวัด พระนครศรีอยุธยำ อ่ำงทอง สิงห์บุรี ลพบุรี สระบุรี และชัยนำท รวม ๖ จังหวัด ต้ังอยู่บริเวณ ริมฝ่ังซ้ำย ของแม่น้ำเจ้ำพระยำและเป็นตอนเหนือสุดของภำคกลำง บนเสนรุ้งท่ี 15 องศำเหนือ และเส้นแวงที่ 100 องศำตะวันออก สูงจำกระดับน้ำทะเลปำนกลำง 16.854 เมตร ห่ำงจำกกรุงเทพมหำนคร ประมำณ 195 กโิ ลเมตร มีอำณำเขตติดต่อกับจงั หวดั ต่ำง ๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กบั จงั หวัดนครสวรรค์ และอทุ ัยธำนี ทศิ ใต้ ติดต่อกับ จงั หวัดสงิ ห์บุรี และจงั หวัดสพุ รรณบุรี ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ จงั หวัดนครสวรรค์ และสิงหบ์ รุ ี ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กบั จงั หวัดสพุ รรณบุรี และอทุ ยั ธำนี รายงานประจาปี 2565 015 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละส่งิ แวดล้อมจังหวัดชัยนำท

รปู แผนทีจ่ ังหวดั ชัยนาท 2.2 ขนาดและพนื้ ท่ี จงั หวดั ชัยนำท มพี ื้นที่ประมำณ 2,469.746 ตำรำงกิโลเมตร หรือประมำณ 1,543,591 ไร่ หรือ เทำ่ กบั รอ้ ยละ 15.5 ของพืน้ ทใี่ นภำคกลำงตอนบน 2.3 ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดชัยนำทมีลักษณะภูมิประเทศ โดยท่ัวไปเป็นพื้นที่รำบลุ่ม มีพื้นที่ประมำณ ร้อยละ 99.06 ของพ้ืนที่ท้ังหมด ได้แก่ พื้นท่ีตอนกลำง ตอนใต้ และตะวันออกของจังหวัด ซึ่งมีลักษณะ เป็นท่ีรำบจนถึงพื้นท่ีลูกคล่ืนลอนลำด มีแม่น้ำเจ้ำพระยำ แม่น้ำท่ำจีน และแม่น้ำน้อย ไหลผ่ำนพื้นที่ต่ำง ๆ ทว่ั ทกุ อำเภอ เช่น แม่นำ้ เจ้ำพระยำ ไหลผ่ำนอำเภอมโนรมย์ อำเภอวัดสิงห์ อำเภอเมอื งชยั นำท และอำเภอสรรพยำ แมน่ ำ้ ทำ่ จนี หรอื แมน่ ำ้ มะขำมเฒ่ำ ไหลผำ่ นอำเภอวดั สงิ ห์ และอำเภอหนั คำ แม่นำ้ นอ้ ย ไหลผ่ำนอำเภอสรรคบุรี รวมถึงคลองชลประทำน ซึ่งมีหลำยสำยไหลผ่ำนพ้ืนที่ต่ำง ๆ ได้แก่ คลองอนุศำสนนันท์ คลองมหำรำช คลองพลเทพ เปน็ ตน้ นอกจำกลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นท่ีรำบแล้ว ยังมีเนินเขำเล็ก ๆ ขนำดประมำณ 1 – 3 ตำรำงกิโลเมตร กระจำยอยู่ท่ัวไป ทีส่ ำคญั ได้แก่ เขำธรรมมำมลู ซ่ึงถอื เปน็ สญั ลักษณส์ ำคัญของจังหวดั ชัยนำท เขำพลอง เขำขยำย เขำท่ำพระ เขำสรรพยำ และเขำแก้ว เปน็ ต้น 16 รายงานประจาปี 2565 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและสงิ่ แวดล้อมจงั หวดั ชัยนำท

2.4 ขอ้ มลู การปกครอง/ประชากร 2.4.1 เขตการปกครอง แบ่งเขตกำรปกครองออกเป็น 8 อำเภอ 51 ตำบล 505 หมบู่ ำ้ น 39 เทศบำล (1 เทศบำล เมอื ง 38 เทศบำลตำบล) และ 20 องคก์ ำรบรหิ ำรส่วนตำบล ขอ้ มูลทาเนยี บเขตการปกครองและพืน้ ทข่ี องจงั หวดั ชัยนาท อาเภอ เขตการปกครอง พ้ืนที่ ตาบล หมบู่ ้าน เทศบาล อบต. (ตร.กม.) 2 225.377 อำเภอเมอื งชยั นำท 8 82 7 4 225.644 อำเภอมโนรมย์ 7 40 4 4 315.318 อำเภอวดั สิงห์ 6 47 3 1 228.277 อำเภอสรรพยำ 7 555 8 1 354.796 อำเภอสรรคบรุ ี 8 92 8 4 259.334 2 291.000 อำเภอหนั คำ 8 100 6 2 270.000 อำเภอหนองมะโมง 4 41 2 20 2,469.746 อำเภอเนนิ ขำม 3 48 1 รวม 51 505 39 ท่ีมำ : ทที่ ำกำรปกครองจังหวัดชัยนำท, (ข้อมลู ณ กรกฎำคม 2564) 2.4.2 จานวนครวั เรอื น ในปี 2564 จังหวัดชัยนำทมีจำนวนครัวเรือนทั้งส้ิน 127,182 ครัวเรือน มีประชำกร ทั้งหมด จำนวน 321,844 คน แยกเป็น เพศชำย 154,720 คน เพศหญิง 167,124 คน โดยอำเภอ เมอื งชัยนำท มคี รัวเรือนและประชำกรสูงท่ีสุด ร้อยละ 21.56 รองลงมำคืออำเภอสรรคบรุ ี และอำเภอหัน คำ ตำมลำดับ สำหรับอำเภอเนินขำม มีครัวเรอื นและประชำกรเบำบำงที่สุด รอ้ ยละ 5.23 เมื่อจำแนกตำม เพศ จะเหน็ ว่ำเพศหญงิ มำกกวำ่ ชำย ข้อมูลจานวนครวั เรอื นและประชากร พ้นื ที่ จานวนครวั เรอื น เพศชาย (คน) เพศหญงิ (คน) รวม (คน) รอ้ ยละ 69,395 21.56 เมืองชัยนำท 29,137 32,977 36,418 31,754 9.87 25,275 7.85 มโนรมย์ 12,913 15,244 16,510 40,755 12.66 63,637 19.78 วดั สิงห์ 10,994 12,206 13,069 54,300 16.87 19,905 6.18 สรรพยำ 16,222 19,653 21,102 16,823 5.23 321,844 100 สรรคบรุ ี 23,533 30,491 33,146 หนั คำ 20,195 26,264 28,036 หนองมะโมง 7,588 9,712 10,193 เนนิ ขำม 6,600 8,173 8,650 รวม 127,182 154,720 167,124 ที่มำ : ทท่ี ำกำรปกครองจงั หวดั ชัยนำท (ข้อมูล ณ 30 มถิ นุ ำยน 2564) รายงานประจาปี 2565 017 สำนกั งำนทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั ชัยนำท

2.4.3 ประชากร จงั หวดั ชยั นำท มีประชำกร 321,844 คน แยกเปน็ ชำย ๑54,720 คน เป็นหญิง ๑67,124 คน พื้นท่ี 2,469.746 ตำรำงกิโลเมตร คดิ เปน็ อัตรำสว่ น 1 ตำรำงกโิ ลเมตรตอ่ ประชำกร 131 คน ข้อมูลแสดงจานวนประชากรแยกรายเทศบาล / อาเภอ จานวนประชากร อตั ราสว่ น รายชือ่ พนื้ ที่ ชาย หญิง รวม ประชากร ตอ่ พ้ืนท่ี อำเภอเมอื งชยั นำท 255.38 11,038 11,774 22,812 90 อำเภอมโนรมย์ 225.64 11,405 12,408 23,813 106 อำเภอวัดสิงห์ 315.32 10,684 11,381 22,065 70 อำเภอสรรพยำ 228.28 14,905 15,860 30,765 135 อำเภอสรรคบรุ ี 354.80 29,302 31,803 61,105 173 อำเภอหันคำ 529.33 19,885 21,231 41,116 78 อำเภอหนองมะโมง 291 6,303 6,510 12,813 44 อำเภอเนนิ ขำม 270 5,317 5,531 10,848 41 เทศบำลเมืองชยั นำท 6.06 5,358 6,252 11,610 1,916 เทศบำลตำบลนำงลอื 51.11 3,572 3,973 7,545 148 เทศบำลตำบลเสือโฮก 43.19 3,646 3,869 7,515 174 เทศบำลตำบลหำดทำ่ เสำ 24.76 2,442 2,587 5,029 204 เทศบำลตำบลชยั นำท 30.20 3,624 4,285 7,909 262 เทศบำลตำบลบำ้ นกลว้ ย 20.72 3,297 3,678 6,975 337 เทศบำลตำบลหำงน้ำสำคร 11.92 2,944 3,150 6,094 512 เทศบำลตำบลคุ้งสำเภำ 2.00 895 952 1,847 924 เทศบำลตำบลวดั สิงห์ 2.00 1,522 1,688 3,210 1,605 เทศบำลตำบลสรรพยำ 2.52 1,487 1,607 3,094 1,228 เทศบำลตำบลโพธิพ์ ทิ กั ษ์ 0.77 746 825 1,571 2,041 เทศบำลตำบลบำงหลวง 24.97 2,515 2,810 5,325 214 เทศบำลตำบลแพรกศรีรำชำ 1.80 1,189 1,343 2,494 1,386 เทศบำลตำบลหันคำ 4.75 1,935 2,161 4,096 863 เทศบำลตำบลสำมงำ่ มทำ่ โบสถ์ 1.88 646 690 1,336 711 เทศบำลตำบลหนองแซง 112 3,798 3,954 7,752 70 เทศบำลตำบลวังตะเคยี น 96.88 3,409 3,683 6,683 69 เทศบำลตำบลเนนิ ขำม 127.93 2,856 3,119 5,975 47 เทศบำลเมืองชยั นำท 6.06 5,358 6,252 11,610 1,916 เทศบำลตำบลนำงลือ 51.11 3,572 3,973 7,545 148 เทศบำลตำบลเสือโฮก 43.19 3,646 3,869 7,515 174 18 รายงานประจาปี 2565 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและสงิ่ แวดล้อมจงั หวดั ชยั นำท

รายชือ่ พน้ื ที่ จานวนประชากร อัตราสว่ น ประชากร เทศบำลตำบลหำดทำ่ เสำ 24.76 ชาย หญิง รวม ต่อพ้นื ที่ เทศบำลตำบลชยั นำท 30.20 เทศบำลตำบลบำ้ นกลว้ ย 20.72 2,442 2,587 5,029 204 เทศบำลตำบลหำงนำ้ สำคร 11.92 3,624 4,285 7,909 262 เทศบำลตำบลค้งุ สำเภำ 2.00 3,297 3,678 6,975 337 เทศบำลตำบลวดั สงิ ห์ 2.00 2,944 3,150 6,094 512 เทศบำลตำบลสรรพยำ 2.52 895 952 1,847 924 เทศบำลตำบลโพธ์พิ ทิ กั ษ์ 0.77 1,522 1,688 3,210 1,605 เทศบำลตำบลบำงหลวง 24.97 1,487 1,607 3,094 1,228 เทศบำลตำบลแพรกศรรี ำชำ 1.80 746 825 1,571 2,041 เทศบำลตำบลหนั คำ 4.75 2,515 2,810 5,325 214 เทศบำลตำบลสำมง่ำมท่ำโบสถ์ 1.88 1,189 1,343 2,494 1,386 เทศบำลตำบลหนองแซง 112 1,935 2,161 4,096 863 เทศบำลตำบลวังตะเคียน 96.88 646 690 1,336 711 เทศบำลตำบลเนนิ ขำม 127.93 3,798 3,954 7,752 70 3,409 3,683 6,683 69 2,856 3,119 5,975 47 รวม 2,469.75 154,720 167,124 321,844 131 ที่มำ : ทท่ี ำกำรปกครองจงั หวดั ชัยนำท (ข้อมลู ณ 3๐ มถิ ุนำยน 2564) ขนำดของประชำกรต่อพื้นที่ พบว่ำ อำเภอสรรคบุรี มีประชำกรหนำแน่นมำกท่ีสุด คิดเป็นอัตรำส่วน 1 ตำรำงกิโลเมตรต่อประชำกร 173 คน อำเภอที่มีประชำกรหนำแน่นน้อยที่สุดคืออำเภอเนินขำม คดิ เป็นอัตรำส่วน 1 ตำรำงกิโลเมตรต่อประชำกร 41 คน เทศบำลท่ีมปี ระชำกรต่อพ้ืนที่หนำแน่นมำกที่สุด คือ เทศบำลตำบลโพธ์ิพิทักษ์ คิดเป็นอัตรำส่วน 1 ตำรำงกิโลเมตรต่อประชำกร 2,041 คน เทศบำล ท่มี ีประชำกรหนำแนน่ นอ้ ยทสี่ ดุ คือเทศบำลตำบลเนินขำม คิดเป็นอัตรำสว่ น 1 ตำรำงกิโลเมตรต่อประชำกร 47 คน 2.5 สภาพภูมอิ ากาศ พ้ืนท่ีจังหวัดชัยนำทอยู่ภำยใต้อิทธิพลของมรสุม 2 ชนิด คือ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซงึ่ พัด จำกทศิ ตะวันออกเฉยี งเหนือปกคลุมในช่วงฤดูหนำว ทำใหจ้ ังหวัดชัยนำทประสบกับสภำวะหนำวเย็น และแห้ง กับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จำกทิศตะวันตกเฉียงใต้ท่ีมำจำกบริเวณมหำสมุทรอินเดีย ซึ่งพัดปกคลุม ในชว่ งฤดฝู นทำให้มีฝนและอำกำศชมุ่ ช้ืน จังหวดั ชยั นำทสำมำรถแบ่งฤดกู ำลออกได้ 3 ฤดู คือ ฤดูหนาว เริ่มต้ังแต่กลำงเดือนตุลำคมถึงกลำงเดือนกุมภำพันธ์ ซึ่งเป็นฤดูมรสุม ตะวนั ออกเฉียงเหนือ บริเวณควำมกดอำกำศสูงหรอื มวลอำกำศเยน็ จำกประเทศจนี ทมี่ ีคณุ สมบัตเิ ย็นและแหง้ จะแผ่ลงมำปกคลุมประเทศไทยในช่วงนี้ แต่เนื่องจำกจังหวัดชัยนำท อยู่ในภำคกลำงบริเวณที่อิทธิพลของ ควำมกดอำกำศสูงจำกประเทศจีนซึ่งแผ่ลงมำปกคลุมในช่วงฤดูหนำว ช้ำกว่ำภำคเหนือและภำค ตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้อำกำศหนำวเย็นช้ำกว่ำสองภำคดังกล่ำว โดยอำกำศเร่ิมหนำวเย็นประมำณ กลำงเดือนพฤศจิกำยน เป็นตน้ และชว่ งที่อำกำศหนำวเย็นท่ีสดุ จะอย่รู ะหว่ำงเดือนธันวำคม และ มกรำคม รายงานประจาปี 2565 019 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสง่ิ แวดล้อมจังหวดั ชยั นำท

ฤดูร้อน เริ่มเมื่อมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือสิ้นสุดลงคือประมำณกลำงเดือนกุมภำพันธ์ ถึงกลำงเดอื นพฤษภำคมซึ่งเปน็ ช่วงว่ำงจำกลมมรสุม ลมทพ่ี ัดปกคลุมจะเปลี่ยนเป็นลมใต้หรือ ลมตะวันออก เฉียงใต้ และจะมีหย่อมควำมกดอำกำศต่ำเน่ืองจำกควำมร้อนปกคลุมประเทศไทยตอนบนทำให้มีอำกำศ ร้อนอบอ้ำวทวั่ ไป โดยมอี ำกำศรอ้ นจดั ในเดือนเมษำยน ฤดูฝน เรมิ่ ต้ังแต่กลำงเดือนพฤษภำคมถึงกลำงเดือนตุลำคม เป็นช่วงท่ีมรสุมตะวันตกเฉียง ใต้พัดปกคลุมประเทศไทย ร่องควำมกดอำกำศต่ำหรือ ร่องฝนท่ีพำดผ่ำนบริเวณภำคใต้ของประเทศไทยจะ เลื่อนข้ึนมำพำดผ่ำนบริเวณภำคกลำงและภำคเหนือเป็นลำดับ ในระยะนี้ทำให้มีฝนตกชุกตั้งแต่กลำงเดือน พฤษภำคม เป็นต้นไป และเดอื นกนั ยำยน เป็นเดือนทม่ี ีฝนตกชกุ มำกที่สดุ ในรอบปีและเป็นช่วงท่ีมีควำมชน้ื สงู ข้อมูลปรมิ าณนา้ ฝนและจานวนวนั ที่มฝี นตก ปี พ.ศ. รายการข้อมลู สดั ส่วนปรมิ าณ ปรมิ าณทีฝ่ นตก (ม.ม.) จานวนวันฝนตกในรอบ(วนั ) น้าฝนทตี่ กในรอบปี 2559 1,246.3 102 12.21 2560 1,195.9 116 10.31 2561 680.4 85 8.00 2562 739.9 89 8.31 2563 804.4 98 8.21 2564 432.2 42 10.29 2565 860.0 84 10.24 ท่ีมำ : สถำนีอตุ นุ ิยมวทิ ยำจงั หวัดชยั นำท (ข้อมลู ณ วันที่ 26 เดอื น สิงหำคม 2565) 2.6 การใช้ทดี่ นิ จังหวัดชัยนำท มีพื้นท่ี 2,469.746 ตำรำงกิโลเมตร หรือประมำณ 1,543,591 ไร่ จำแนกกำร ใชป้ ระโยชนด์ ังน้ี ขอ้ มลู แสดงการจาแนกการใชป้ ระโยชนพ์ น้ื ที่ อาเภอ พืน้ ทีท่ งั้ หมด พื้นทกี่ ารเกษตร พื้นท่อี ยูอ่ าศยั ท่สี าธารณะ พน้ื ท่ีอน่ื เมอื งชัยนำท 159,610 134,422 12,958 8,200 4,030 มโนรมย์ 141,027 99,501 7,108 7,116 27,302 วดั สิงห์ 197,074 165,008 8,524 8,797 14,765 สรรพยำ 142,673 108,696 11,484 5,971 16,522 สรรคบุรี 221,748 188,004 15,477 3,390 14,877 หันคำ 330,834 238,423 21,021 4,552 66,838 หนองมะโมง 181,875 158,032 5,657 7,163 11,023 เนินขำม 168,750 134,878 7,460 581 25,831 รวม 1,543,591 1,226,964 89,689 45,770 181,188 ทม่ี ำ : สำนักงำนเกษตรจงั หวดั ชยั นำท, 2563 20 รายงานประจาปี 2565 สำนกั งำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจังหวดั ชยั นำท

2.7 พนื้ ท่ีเกษตรกรรม ในส่วนของพื้นท่ีเกษตรกรรม 1,241,279 ไร่ ซ่ึงคิดเป็นร้อยละ 80.42 ของพ้ืนท่ี จงั หวัด พ้ืนท่ีสว่ นใหญอ่ ยใู่ นเขตชลประทำน 698,592 ไร่ หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ 56.41 ของพ้ืนทีก่ ำรเกษตร กำรใช้ประโยชนพ์ ้ืนที่กำรเกษตรสำมำรถจำแนกได้ ดงั นี้ ข้อมลู แสดงการจาแนกตามการใช้พืน้ ท่ีเพอื่ การเกษตรของจังหวดั ปี 2562/2563 อาเภอ พ้ืนที่ ขา้ ว พืชไร่ ไมผ้ ล ไมด้ อก พชื ผกั เกษตร การเกษตร ไมป้ ระดับ อนื่ ๆ 652.00 เมอื งชยั นาท 134,422.00 114,688.00 4,235.00 8,246.00 126.00 620.00 6,475.00 2,699.00 128.00 114.00 9,518.25 มโนรมย์ 100,154.25 75,835.00 11,354.00 1,415.00 13.00 290.00 3,3565.00 1,837.25 23.50 784.00 8,618.00 วดั สงิ ห์ 165,008.00 98,622.00 31,279.00 6,825.00 470.00 60.00 6,242.00 3,467.00 50.00 57.00 5,773.00 สรรพยา 109,934.00 99,081.00 79.25 26.00 3,9176.00 624.00 0 2603.00 22,589.00 สรรคบรุ ี 187,800.00 170,499.00 2,980.00 919.00 13.00 131,956.25 26,032.25 823.50 หนั คา 232,672.00 162,156.00 61,166.00 หนองมะโมง 158,032.00 56,639.00 61,536.00 เนินขาม 134,878.00 24,991.00 86,340.00 รวม 122900.25 802,516.00 258,969.25 ท่ีมำ : สำนกั งำนเกษตรจังหวดั ชัยนำท, 2563 2.8 พนื้ ท่ีป่าไม้ ปี พ.ศ. 2562 จังหวัดชัยนำทมีพ้ืนที่ป่ำไม้ 40,158.27 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.564 ของพ้ืนที่จังหวัด เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2561 มีอัตรำกำรเปล่ียนแปลงพ้ืนท่ีป่ำไม้เพ่ิมข้ึนร้อยละ 0.004 โดยมปี ำ่ สงวนแหง่ ชำติ มี 2 ป่ำ คอื 2.1 ป่ำสงวนแห่งชำติป่ำเขำช่องลม และป่ำเขำหลัก ประกำศตำมกฎกระทรวง ฉบับที่ 188 (พ.ศ.2506) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติคุ้มครองและสงวนป่ำ พ.ศ. 2481 เน้ือที่ประมำณ 54.99 ตำรำงกิโลเมตร หรือ 34,368.75 ไร่ อยู่ในท้องที่ตำบลหนองมะโมง ตำบลวังตะเคียน และตำบล สะพำนหนิ อำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนำท มีลักษณะเป็นภูเขำหินปูนลกู ใหญ่ น้อย สภำพปำ่ เป็นป่ำเบญจ พรรณผสมป่ำเตง็ รงั มไี มข้ นำดเลก็ ถงึ ขนำดกลำง กำรปกคลุมเรอื นยอดไม่หนำแนน่ เนอื่ งจำกเปน็ หนำ้ ผำหิน สูงชัน และมีหน้ำดินต้ืน พรรณไม้เด่นที่พบ ได้แก่ มะค่ำโมง ตะเคียน ประดู่ แดง เขว้ำ สวอง เสลำ เต็ง รัง รกฟำ้ สะเดำ พฤกษ์ มะค่ำแต้ มะกอกป่ำ โมกมัน เพกำ เสย้ี ว และกระถินยักษ์ โดยมีจันทน์ผำ ขน้ึ อยู่ท่ัวไป บริเวณหนำ้ ผำ 2.2 ป่ำสงวนแห่งชำติป่ำเขำรำวเทียน ประกำศตำมกฎกระทรวง ฉบับที่ 406 (พ.ศ.2512) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติป่ำสงวนแห่งชำติ พ.ศ.2507 เนื้อท่ีประมำณ 70.34 ตำรำง-กิโลเมตร หรือ 43,962 ไร่ อยู่ในท้องท่ีตำบลไพรนกยูง และตำบลเด่นใหญ่ อำเภอหันคำ ตำบลเนนิ ขำม ตำบลสขุ เดอื นหำ้ และตำบลกะบกเต้ีย อำเภอเนนิ ขำม จงั หวัดชยั นำท มลี กั ษณะเปน็ เทอื กเขำ ลูกยำวต่อเนื่องกัน สภำพป่ำส่วนใหญ่เป็นป่ำเบญจพรรณ และบำงส่วนเป็นป่ำเต็งรัง พรรณไม้เด่นท่ีพบ ได้แก่ ประดู่ ชิงชัน มะค่ำแต้ เต็งรัง ตะแบก แดง สวอง มะกำ มะม่วงหัวแมงวัน กระพ้ีจั่น กระโดน มะขำมปอ้ ม เปล้ำ โมกมัน และชงโค โดยมไี มไ้ ผ่รวกขนึ้ กระจำยอยู่ทั่วไป รายงานประจาปี 2565 021 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละส่ิงแวดล้อมจงั หวดั ชัยนำท

จังหวัดชยั นำท มีพน้ื ท่ีสเี ขยี ว พน้ื ทส่ี วนสำธำรณะ หรอื พืน้ ทน่ี ันทนำกำรอน่ื ๆ ดังนี้ สวนนกชัยนาท เป็นสวนนกขนำดใหญ่สร้ำงขึ้นโดยควำมเห็นชอบของสมำชิกสภำ จังหวัดชัยนำท เริ่มสร้ำง เมื่อ พ.ศ. 2526 เป็นแหล่งท่องเท่ียวที่มีกรงนกใหญ่ที่สุดในเอเชีย ครอบคลุมพ้ืนท่ี 26 ไร่ นอกจำกน้นั ยังมกี รงนกขนำดกลำงและขนำดเล็กอีก 63 กรง โดยปลอ่ ยพนั ธนุ์ กต่ำง ๆ ให้อยูอ่ ย่ำงธรรมชำติ ทัง้ นี้ ไดม้ กี ำรแบง่ แยกนกทอี่ ยู่ดว้ ยกนั ไม่ไดอ้ ยำ่ งเป็นสดั ส่วน เช่น นกเหยี่ยว นกตะกรำม นกกลำงคืน เปน็ ตน้ ภำยในสวนนกชัยนำทยงั มีสวนหย่อม สวนงู สวนกระต่ำย สวนสตั ว์ปำ่ เชน่ ละม่ัง เลยี งผำ กวำงดำว เน้ือทรำย มีศำลำกลำงน้ำ อำคำรจำหน่ำยสินค้ำของท่ีระลึก และมีพิพิธภัณฑ์ปลำน้ำจืดเป็นปลำจำกแม่น้ำ เจ้ำพระยำ 63 ชนดิ เช่น ปลำเสอื ตอ ปลำตองลำย ปลำเสือสมุ ำตรำ ปลำกดหิน เปน็ ตน้ ซ่งึ ได้รับงบประมำณ โครงกำรพฒั นำจงั หวดั ของสว่ นรำชกำร หรือรัฐวสิ ำหกิจ ตำมขอ้ เสนอของ ส.ส. ปี 2538 และมีอำคำรแสดง ท้องฟ้ำจำลอง สวนน้ำอวกำศ พิพิธภัณฑ์ไข่ นอกจำกยังมีร้ำนจำหน่ำยส่ิงของท่ีระลึก จักรยำนน้ำ รถไฟเล็ก เป็นต้น นอกจำกน้ียังมี 3 โครงกำรใหม่ได้ปรับปรุงขึ้นเพื่อให้กำรท่องเที่ยวภำยในสวนนกคุ้มค่ำย่ิงขึ้น ได้แก่ ๑. ศูนย์ข้อมูลข่ำวสำรกำรท่องเท่ียวซ่ึงใช้ระบบเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ซึ่งผู้มำเยือนจะได้ศึกษำเรียนรู้ เกี่ยวกับด้ำนประวัติศำสตร์วิถีชีวิต เกษตรกรรม วัฒนธรรม หัตถกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด ๒.ศูนย์ผลิตภัณฑ์พ้ืนเมือง ซึ่งจัดจำหน่ำยสินค้ำ OTOP รวมถึงสินค้ำตำมฤดูกำลของชุมชน และ ๓.นำ้ ตกจำลองทส่ี รำ้ งข้นึ เพอ่ื ป้องกันดินพงั ทลำย สวนนกชัยนาท กรงนกขนาดใหญ่ ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์ทอ้ งฟา้ จาลอง อาคารแสดงพนั ธป์ุ ลา สวนนา้ อวกาศ 22 รายงานประจาปี 2565 สำนกั งำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสง่ิ แวดล้อมจงั หวดั ชัยนำท

เขื่อนเจ้าพระยา เป็นเข่ือนทดน้ำขนำดใหญ่ที่สุดที่สร้ำงข้ึนเป็นเขื่อนแรกของประเทศไทย ในโครงกำรชลประทำนใหญ่เจ้ำพระยำใหญ่ ท่ีมีแนวคิดในกำรก่อสร้ำงตั้งแต่สมัยรัชกำลที่ 5 แล้วเสร็จ ในสมัยรัชกำลท่ี 9 ลักษณะเข่ือนมีควำมยำว 237.50 เมตร มีช่องระบำยน้ำ 16 ช่อง มีประตูเรือติดกับ เขื่อนด้ำนขวำกว้ำง 14 เมตร ให้เรือขนำดใหญ่ป่ำนเข้ำออกได้ เข่ือนเจ้ำพระยำเป็นเข่ือนชลประทำน ประเภททดน้ำ - สง่ น้ำ และผลติ กระแสไฟฟำ้ ในกจิ กำรของเขื่อนเป็นสถำนทท่ี ่องเทีย่ วท่ียงั มีทิวทศั น์สวยงำม มำกเป็นเขื่อนที่นักท่องเท่ียวสำมำรถเข้ำไปชมอย่ำงใกล้ชิดได้ โดยเฉพำะในช่วงเดือนกุมภำพันธ์ของทุกปี จะมีนกเป็ดน้ำจำนวนนับหม่ืนตัวมำอำศัยอยู่บริเวณเหนือเข่ือน นอกจำกน้ียังมีตลำดเจ้ำพระยำแลนด์ สร้ำงข้นึ เพอื่ เพ่ิมขดี ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันดำ้ นกำรท่องเที่ยว ส่งเสริมอำชีพนอกภำคเกษตร เพิ่มรำยได้ ให้คนท้องถิ่น รวมไปถึงสร้ำงคุณภำพชีวิตของชำวชัยนำทให้ดีข้ึน ตอบสนองเร่ืองตลำดค้ำขำยปลำสด กำรพฒั นำดำ้ นเศรษฐกิจจำกตลำดปลำขำยปลกี เป็นตลำดปลำขำยสง่ ภำพถำ่ ยเมอื่ เขื่อนเปิดใชง้ ำน พ.ศ. 2500 ภำพเข่อื นเจำ้ พระยำในปจั จุบัน (ภำพจำก “ประวตั ศิ ำสตรช์ ยั นำท”) เขอื่ นเจา้ พระยา เข่ือนเรียงหินหน้าศาลากลางจังหวัดชัยนาท เป็นเข่ือนป้องกันน้ำเซำะตลิ่งริมแม่น้ำเจ้ำพระยำ โดยเทศบำลเมืองชัยนำทเป็นผู้ดำเนินกำรก่อสร้ำงบริเวณหน้ำศำลำกลำงจังหวัด และเป็นสถำนท่ีพักผ่อน หย่อนใจของชำวชัยนำทและนักท่องเที่ยวท่ัวไปมีควำมยำวประมำณครึ่งกิโลเมตรมีทิวทัศน์ที่สวยงำมมำก เพรำะอยูร่ ิมแม่นำ้ เจำ้ พระยำทีก่ ว้ำงใหญ่ ปลูกต้นไม้ และจัดภูมิทัศนอ์ ย่ำงสวยงำม เขอื่ นเรียงหนิ หนา้ ศาลากลางจังหวัดชัยนาท รายงานประจาปี 2565 023 สำนกั งำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสง่ิ แวดล้อมจงั หวัดชัยนำท

หนองระแหง ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ตำบลบ้ำนกล้วย อำเภอเมืองชัยนำท จังหวัดชัยนำท มีขนำดพ้ืนที่ 70 ไร่ เปน็ สวนสำธำรณะในเมอื งชัยนำท ใชเ้ ปน็ สถำนทอี่ อกกำลงั กำยและพักผ่อนหย่อนใจของชำวชยั นำท หนองระแหง บงึ กระจับใหญ่ บึงกระจับใหญ่เป็นท่กี กั เก็บน้ำเพื่อกำรใช้ทำกำรเกษตรของชำวบ้ำนในอำเภอหนั คำ และพื้นท่ีใกล้เคียง มีพ้ืนที่ทั้งหมดประมำณ 1,100 ไร่ บริเวณบนเกำะมีเน้ือที่ประมำณ 73 ไร่ มบี ้ำนเรือน ของชำวบำ้ นอยู่ 3 หลงั คำเรือน ซ่ึงไม่มีนำ้ ประปำ ไมม่ ไี ฟฟ้ำ ชำวบ้ำนใช้ชีวิตกนั อย่ำงเรียบง่ำย วธิ ีท่ีจะเข้ำถึง เกำะได้มีเพียงเส้นทำงเดียวเท่ำนั้น นั่นก็คือสะพำนลูกบวบ ซึ่งเพิ่งสร้ำงเสร็จไปไม่นำนมำน้ี มีระยะทำง ประมำณ 300 เมตร บึงกระจับใหญ่ เขาขยาย ตั้งอยู่หมู่ท่ี 4 และ ๘ ตำบลเขำท่ำพระ อำเภอเมืองชัยนำท จังหวัดชัยนำท มเี น้ือทปี่ ระมำณ 175 - 3 – 67 ไร่ มีควำมสูงประมำณ 117 เมตรจำกระดับน้ำทะเล อยู่ห่ำงจำกตัวเมือง ชัยนำทประมำณ ๖ กิโลเมตร ลักษณะเป็นภูเขำลูกโดดท่ีแห้งแล้ง เสื่อมโทรม ไม่มีไม้ยืนต้นปกคลุม ส่วนใหญ่มีไม้ไผ่รวกซ่ึงเป็นไม้เบิกน้ำขึ้นปกคลุมกระจำยอย่ทู ั่วไป มีทัศนียภำพที่ไม่สวยงำม ทั้งน้บี ริเวณรอบ เขำในอดีตมีกำรลักลอบขุดดินลูกรัง ท้ำให้เกิดเป็นสระน้ำ สำมำรถเก็บกักน้ำได้ตลอดท้ังปี จังหวัดชัยนำท จงึ จัดทำโครงกำรฟื้นฟเู ขำขยำย เขำทะเลทรำย สเู่ ขำสวรรค์ โดยกำรปลกู ต้นไม้นำนำชนิดใหเ้ ตม็ พน้ื ท่เี ขำและ บริเวณโดยรอบ พนื้ ทปี่ ระมำณ 1,000 ไร่ จดั ทำระบบสง่ น้ำดว้ ยพลังงำนแสงอำทติ ย์ (solar pump) ขึ้นไป หลอ่ เลย้ี งพ้ืนท่ีบนเขำ และขดุ คลองรอบเขำเพือ่ สรำ้ งควำมชมุ่ ชื้น ตลอดจนพฒั นำพื้นทบ่ี รเิ วณเชิงเขำให้เป็น แหลง่ เรยี นร้ดู ้ำนกำรเกษตร ตำมหลกั ปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียง และแหล่งท่องเท่ียวเชิงนเิ วศ เขาขยาย 24 รายงานประจาปี 2565 สำนกั งำนทรพั ยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดล้อมจังหวดั ชยั นำท

บึงวงฆ้อง ต้ังอยู่ที่ หมู่ที่ 10 บ้ำนห้วยงูพัฒนำ ตำบลห้วยงู อำเภอหันคำ จังหวัดชัยนำท พัฒนำ มำจำกพน้ื ทีแ่ ก้มลิงในกำรแกไ้ ขปญั หำนำ้ ทว่ ม มีกำรปลูกตน้ ไมเ้ พ่อื รกั ษำสิง่ แวดล้อม โดยบรเิ วณบงึ วงฆ้องเปน็ แหล่งนำ้ ที่มคี วำมสวยงำมตำมธรรมชำตแิ ละเหมำะสมท่ีจะเปน็ แหล่งเรยี นรทู้ ำงธรรมชำตซิ ึ่งมี นกนำ้ มำอำศัย อยู่นำนำชนิดรวมทั้งมีต้นไม้ที่ร่มรื่น เหมำะในกำรปั่นจักรยำนรอบบึง และพัฒนำเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ นอกจำกธรรมชำติแล้วยังมีวัฒนธรรมกำรบูชำขอพรจำกเจ้ำพ่อบึงวงฆ้อง รวมถึงจำกรูปแกะสลัก หลวงปศู่ ุขยืน ซึง่ แกะสลักจำกไมต้ ะเคยี นทอง และรูปจำลององคพ์ ระนเรศวรมหำรำชบรเิ วณบงึ บงึ วงฆอ้ ง บงึ หาดกองสิน เป็นโครงกำรแก้มลิงเพ่ือเป็นแหล่งน้ำเสริมสำหรับพน้ื ที่เกษตรรอบบงึ ในระยะฝนท้ิง ช่วง เก็บกกั น้ำสำรองไว้ใช้เพือ่ กำรเกษตร และอปุ โภคบริโภคของประชำชนในฤดแู ล้ง นอกจำกนี้ยงั เป็นพื้นที่ รับน้ำนองและช่วยชะลอปริมำณนำ้ เพือ่ บรรเทำปัญหำอุทกภัยในฤดูนำ้ หลำกโดยสำมำรถกักเก็บปริมำณน้ำทง้ั ในพ้นื ที่แก้มลิง 90 ไร่ และในบึงหำดกองสนิ รวมท้งั ส้ิน 2,990,000 ลูกบำศก์เมตร แกม้ ลิงบงึ หาดกองสิน วัดปากคลองมะขามเฒ่า เปน็ วัดเก่ำแก่ทมี่ ชี ่ือเสียงทำงพระเคร่ือง คือ หลวงปศู่ ุข ซงึ่ เป็นที่รจู้ ักกนั ทว่ั ประเทศ ภำยในพระอโุ บสถมภี ำพเขียนฝีพระหัตถ์ของสมเดจ็ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศกั ด์ิ สำหรบั นำมมะขำม เฒ่ำนี้มีตำนำนเล่ำว่ำแต่ก่อนมีต้นมะขำมอำยุนับร้อยปีอยู่ตรงหน้ำวัดริมฝั่ง เม่ือตลิ่งพังต้นมะขำมจึงจม หำยไป ส่ิงสำคัญอีกอย่ำงหนึ่งของวัดน้ีก็คือ มณฑปวัดปำกคลองมะขำมเฒ่ำ เป็นมณฑปแห่งเดียว ที่มี วิธีกำรสร้ำงแปลก กล่ำวคือ หลวงปู่ศุขได้ใช้วิชำอำคมขลังสร้ำงข้ึนอย่ำงถูกต้องตำมวิธีกำร เป็นสถำนที่ ศักดิ์สทิ ธ์ิซึ่งปัจจบุ ันได้รบั กำรบูรณะซ่อมแซม เปน็ สถำนทส่ี ักกำระแกล่ ูกศิษยแ์ ละประชำชนทว่ั ไป วดั ปากคลองมะขามเฒา่ 025 รายงานประจาปี 2565 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดลอ้ มจังหวดั ชยั นำท

วัดธรรมามูลวรวิหาร ต้ังอยู่บริเวณเชิงเขำธรรมำมูลริมฝ่ังแม่น้ำเจ้ำพระยำ ในเขตอำเภอเมือง จังหวัด ชัยนำท เป็นวัดเก่ำแก่วัดหนึ่งสร้ำงข้ึนตั้งแต่สมัยอยุธยำตอนต้น เป็นวัดท่ีกษัตริย์แห่งวงศ์สุโขทัย (พระรว่ ง) หรอื พระมหำธรรมรำชำเปน็ ผู้สร้ำง มีหลักฐำนคอื พระพทุ ธรูปบชู ำบรรจุอยู่ในองคพ์ ระเจดยี ์ทพี่ ังลง มำ และพระเคร่ือง (พระรว่ ง) เป็นจำนวนมำก อีกอย่ำงหน่ึงมีใบเสมำคู่ เป็นศิลปะสมัยอยุธยำเป็นหลกั ฐำน ในพระวิหำรประดิษฐำน “หลวงพ่อธรรมจักร” ที่ได้ชื่อว่ำเป็นพระพุทธรูปคู่บ้ำนคู่เมืองมำแต่โบรำณ เป็นศิลปะประยุกต์สมัยเชียงแสนตอนปลำยถึงสุโขทัยตอนต้นผสมกับสมัยอยุธยำ พุทธลักษณะเป็น พระพุทธรูปปำงห้ำมญำติ ประทับยืนบนฐำนรูปดอกบัว พระหัตถ์ขวำทรงยกข้ึนเสมอพระอุระหันพระพกั ตร์ ไปทำงทศิ เหนือ จงั หวดั ชยั นำทไดน้ ำสญั ลกั ษณพ์ ระธรรมจักรมำเป็นสญั ลกั ษณ์และตรำประจำจงั หวัดชัยนำท ซึ่งน้ำในแมน่ ้ำเจ้ำพระยำบรเิ วณหน้ำวัดธรรมำมูลถอื ว่ำเป็นนำ้ ศกั ดิน์ ำไปใช้ในพระรำชพิธีถือน้ำพพิ ัฒน์สัตยำ และเป็นวัดท่ีพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว (รัชกำลที่ 4) และพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำ เจ้ำอยู่หัว (รัชกำลท่ี 5) เคยเสด็จพระประพำส รวมทั้งพระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช (รชั กำลที่ 9) และสมเดจ็ พระบรมรำชนิ ีนำถยังได้เสดจ็ มำนมัสกำรหลวงพอ่ ธรรมจกั รทว่ี ดั แหง่ นด้ี ้วย วัดธรรมามูลวรวหิ าร วัดพระบรมธาตุวรวิหาร เดิมมีนำมว่ำ \"วดั พระธำตุ\" และมีนำมเรียกอีกนำมหนึ่งว่ำ \"วดั หัวเมือง\" สร้ำงขึ้นมำตั้งแต่สมัยขอมเรืองอำนำจอยู่แถบลุ่มแม่น้ำเจ้ำพระยำ โดยมีพระบรมสำรีริกธำตุบรรจุอยู่ใน องค์พระเจดีย์ วัดพระบรมธำตุวรวิหำร เป็นสถำนท่ีศักดิ์สิทธิ์สำหรับประกอบพิธีพุทธำภิเษก ของพระมหำกษัตริย์ทุกพระองค์ น้ำหน้ำวัดพระบรมธำตุถือว่ำเป็นน้ำศักด์ิสิทธิ์นำไปใช้ในพิธีถือ น้ำพิพัฒน์สัตยำอีกแหง่ หน่ึง ภำยในวัดยังเต็มไปดว้ ยสถำปัตยกรรมและสิ่งก่อสร้ำงน่ำสนใจตง้ั แต่สมัยกรุงศรี อยุธยำตอนต้น เช่นเจดีย์พระบรมธำตุสมัยอู่ทอง พระวิหำรเก้ำห้อง ภำยในวิหำรมีบ่อน้ำพระพุทธมนต์ ศักด์ิสิทธิ์มีน้ำออกมำตำมธรรมชำติ อำยุ 700 กว่ำปี พระอุโบสถ ภำยในมีพระประธำนเป็นพระพุทธรูป ปนู ปน้ั ขนำดใหญ่ลงรกั ปิดทองปำงมำรวิชัย เปน็ ต้น วัดพระบรมธาตวุ รวหิ าร 26 รายงานประจาปี 2565 สำนกั งำนทรัพยำกรธรรมชำติและสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดชยั นำท

หมู่บ้านวัฒนธรรมลาวคร่ังบ้านกุดจอก ชุมชนวัฒนธรรมลำวคร่ัง บ้ำนกุดจอก มีเอกลักษณ์ ท่โี ดดเด่นในดำ้ นกำรอนุรกั ษ์วัฒนธรรมประเพณีของตนเองไว้อย่ำงเหนียวแน่น อำทิ ประเพณีบำยศรีสู่ขวัญ ต้อนรับ ผู้มำเย่ียมเยือน ภำษำพูด ดนตรีพื้นเมือง อำหำรท้องถ่ิน ภูมิปัญญำเกี่ยวกับกำรทำขนมจีนโบรำณ ภูมิปัญญำพ้ืนบ้ำนในด้ำนกำรรักษำด้วยสมุนไพร กำรนวดแผนโบรำณ กำรแต่งกำยด้วยผ้ำทอพ้ืนบ้ำน กำรทอผ้ำลวดลำยท่ีมีเอกลักษณ์คือ ผ้ำขิด ผ้ำจกและผ้ำมัดหมี่ ทอทั้งผ้ำฝ้ำยและผ้ำไหม ผ้ำทอที่ใช้ใน พิธีทำงศำสนำ ผ้ำคลมุ หวั นำค ผ้ำหอ่ คัมภรี ์ ผำ้ ทอใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน ผ้ำซน่ิ ผ้ำขำวมำ้ หมอนนอ้ ย หมอนเทำ้ ถุงขนมเส้น และมีกำรจัดงำนประเพณีท้องถ่ินท่ีได้ยึดถือกันมำยำวนำน โดยเฉพำะงำนประเพณีสงกรำนต์ “ต้อนฮบั สงั ขำร บุญสงกรำนต์ ปใี หม่ไท” ซง่ึ ถือได้ว่ำเปน็ งำนประเพณที ีส่ ำคัญของจังหวดั ชัยนำท มศี นู ย์สำธติ วิถีชีวิตชุมชน ได้แก่ กำรทอผ้ำ กำรสีข้ำวและกำรตำข้ำวแบบโบรำณ กำรทำข้ำวกล้อง กำรจักสำนไม้ไผ่ และศูนย์แพทย์แผนไทย เปน็ ต้น หมู่บ้านวัฒนธรรมลาวครง่ั บา้ นกดุ จอก หมู่บ้านวัฒนธรรมลาวเวียงบ้านเนินขาม ลำวเวียงบ้ำนเนิมขำม อพยพมำจำกเวียงจันทน์ ในสมยั รัชกำลที่ 3 มีควำมรภู้ ูมิปญั ญำเรือ่ งกำรทอผ้ำ ท่ีมอี ัตลักษณ์กำรใส่เส้ือจกหม้อ “ซึ่งเพยี้ นมำจำกคำว่ำ จุกหม้อ” ลักษณะสำคัญเปน็ ผ้ำดิบ ไหล่ตก มดี ้ำยสแี ดงของชำยเสื้อ แขนเสือ้ ท่มี ีดำ้ ยสีแดงเอำดำ้ ยไวผ้ ูกห้อย ปลำด้วยผ้ำข้ำวม้ำ 5 สี และผ้ำซิ่นตีนจก ซ่ึงยังคงอนุรกั ษ์ภำษำถิ่นและกำรทอผ้ำพ้ืนเมืองท่ีเป็นเอกลักษณ์ ของคนตำบลเนนิ ขำมมำจนถงึ วันน้ี ในด้ำนกำรทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชนเชงิ วัฒนธรรม ประเพณวี ฒั นธรรมทีค่ นเนนิ ขำมสืบทอดมำจำกบรรพบุรษุ เช่น ภำษำถ่ินลำวเวียง กำรทอผำ้ ลำยดั้งเดิม คือ ผ้ำซิ่นตนี จก ผ้ำขำวม้ำ 5 สี เส้ือจกหม้อและหมอนขวำน ท่ีเป็นเอกลักษณ์ของบ้ำนเนินขำม ซึ่งลวดลำยผ้ำทอทีไ่ ด้รับกำรพัฒนำและเป็น เอกลักษณ์ของบ้ำนเนินขำม คือ “ลำยช่อมะขำม” โดยมีศูนย์เรียนรู้กำรทอผ้ำพื้นเมือง “ลำวเวียงบ้ำนเนิน ขำม” เป็นทีใ่ หป้ ระชำชนทั่วไปไดม้ ำเรียนรเู้ รื่องกำรทอผ้ำ หมูบ่ ้านวฒั นธรรมลาวเวียงบ้านเนนิ ขาม รายงานประจาปี 2565 027 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มจังหวดั ชัยนำท

ข้อมลู ด้านทรพั ยากรธรรมชาติ จงั หวัดชัยนำท มีพื้นที่ 1,566,366.39 ไร่ จำกผลกำรอ่ำนแปลและวิเครำะห์ภำพถ่ำยดำวเทียม ของ กรมปำ่ ไม้ จังหวัดชัยนำทมพี ้ืนทปี่ ำ่ ไม้ แยกเปน็ รำยปี ดงั นี้ ปี พ.ศ. ไร่ พนื้ ทป่ี า่ ไม้ อตั ราการเปลย่ี นแปลงตอ่ ปี ร้อยละของพืน้ ท่ีจังหวดั 2556 37,785.68 2.41 - 2557 37,249.21 2.38 -1.44 2558 38,906.54 2.48 +4.26 2559 39,109.13 2.50 +0.52 2560 39,648.90 2.53 +1.36 2561 40,092.50 2.56 +0.11 2562 40,158.27 2.564 +0.16 2563 40,248.75 2.57 +0.23 2564 40,166.52 2.56 -0.01 ท่ีมำ : โครงกำรจดั ทำข้อมูลสภำพพ้ืนท่ีปำ่ ไม้ ปี พ.ศ. 2564 กรมป่ำไม้, 2564 ปี พ.ศ. 2564 จังหวดั ชัยนำทมพี ื้นทปี่ ่ำไม้ 40,166.52 ไร่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.56 ของพืน้ ที่จังหวัด เม่ือเปรียบเทียบกับปี พ.ศ. 2563 มีอัตรำกำรเปลี่ยนแปลงพื้นท่ีป่ำไม้ลดลงร้อยละ 0.01 จังหวัดชัยนำท มพี ื้นทีป่ ำ่ แบ่งออกเป็นประเภทตำ่ ง ๆ ดงั น้ี 1. ปา่ สงวนแห่งชาติ จานวน 2 ปา่ ดงั นี้ - ป่ำสงวนแห่งชำติป่ำเขำช่องลม และป่ำเขำหลัก ประกำศตำมกฎกระทรวง ฉบับท่ี 188 (พ .ศ .2 5 0 6 ) ออกตำมควำมใน พ ระรำชบั ญ ญั ติคุ้มค รองและสงวน ป่ ำ พ .ศ. 2 4 8 1 เนื้อที่ ประมำณ 54.99 ตำรำงกิโลเมตร หรือ 34,368.75 ไร่ อยู่ในท้องท่ีตำบลหนองมะโมง ตำบลวังตะเคียน และตำบลสะพำนหิน อำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนำท มีลักษณะเป็นภูเขำหินปูนลูกน้อย - ใหญ่ สภำพป่ำเป็นป่ำเบญจพรรณผสมป่ำเต็งรัง มีไม้ขนำดเล็กถึงขนำดกลำง กำรปกคลุมเรือนยอดไม่หนำแน่น เน่ืองจำกเป็นหน้ำผำหินสูงชัน และมีหน้ำดินตื้น พรรณไม้เด่นท่ีพบ ได้แก่ มะค่ำโมง ตะเคียน ประดู่ แดง เขว้ำ สวอง เสลำ เต็ง รัง รกฟ้ำ สะเดำ พฤกษ์ มะค่ำแต้ มะกอกป่ำ โมกมัน เพกำ เส้ียว และกระถินยักษ์ โดยมจี ันทนผ์ ำ ขนึ้ อยทู่ วั่ ไปบรเิ วณหน้ำผำ เขาช่องลม เขาหลัก 28 รายงานประจาปี 2565 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสงิ่ แวดล้อมจังหวัดชยั นำท

- ป่ำสงวนแห่งชำติป่ำเขำรำวเทียน ประกำศตำมกฎกระทรวง ฉบับที่ 406 (พ.ศ.2512) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติป่ำสงวนแห่งชำติ พ.ศ.2507 เน้ือที่ประมำณ 70.34 ตำรำง-กิโลเมตร หรือ 43,962 ไร่ อยู่ในท้องท่ีตำบลไพรนกยูง และตำบลเด่นใหญ่ อำเภอหนั คำ ตำบลเนนิ ขำม ตำบลสุขเดือน ห้ำ และตำบลกะบกเตยี้ อำเภอเนนิ ขำม จงั หวัดชัยนำท มีลักษณะเปน็ เทือกเขำลูกยำวต่อเน่อื งกนั สภำพปำ่ สว่ น ใหญ่เป็นป่ำเบญจพรรณ และบำงส่วนเป็นป่ำเต็งรัง พรรณไม้เด่นที่พบ ได้แก่ ประดู่ ชิงชัน มะคำ่ แต้ เต็ง รัง ตะแบก แดง สวอง มะกำ มะม่วงหัวแมงวนั กระพีจ้ นั่ กระโดน มะขำมป้อม เปล้ำ โมกมนั และชงโค โดยมีไม้ ไผร่ วกข้ึนกระจำยอยทู่ ว่ั ไป เขาราวเทยี น ป่ำสงวนแห่งชำติมีกำรจำแนกเขตกำรใช้ประโยชน์ทรพั ยำกรและที่ดินป่ำไม้ ตำมมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วนั ที่ 10 และ 17 มีนำคม 2535 ดงั น้ี ลาดับ เนือ้ ท่ี (ไร่) ที่ ป่าสงวนแหง่ ชาติ ทั้งหมด เพอ่ื การอนรุ กั ษ์(C) เพอ่ื เศรษฐกิจ(E) เหมาะสมแก่ การเกษตร(A) 1 ป่ำเขำรำวเทยี น 43,962 20,587 19,000 4,375 2 ปำ่ เขำช่องลมและปำ่ เขำหลกั 34,368.75 14,007.75 13,486 6,875 รวม 78,330.75 34,594.75 32,486 11,250 ทีม่ ำ : กรมป่ำไม,้ 2564 2. ป่าตามพระราชบัญญัตปิ ่าไม้ พทุ ธศกั ราช 2484 “ปำ่ ” ตำมพระรำชบญั ญัตปิ ่ำไม้ พุทธศกั รำช 2484 หมำยควำมวำ่ ท่ีดนิ ท่ียงั มิไดม้ ีบคุ คล ได้มำตำมกฎหมำยท่ีดิน ซึ่งจังหวัดชัยนำท มีพื้นท่ีป่ำตำมพระราชบัญญัติป่ำไม้ พุทธศักรำช 2484 พื้นท่ีป่ำตำมพระรำชบญั ญัตปิ ่ำไม้ของจังหวัดชัยนำทดังน้ี ลาดบั ช่อื เขา ทีต่ ั้ง เนอ้ื ท่ี (ไร)่ ท่ี หมู่ที่ ตาบล อาเภอ 1 เขำธรรมำมูล 1,2,7 ธรรมำมลู เมอื งชัยนำท 1,050 - 3 - 1 2 เขำกระด่ี 2,10 ธรรมำมูล เมืองชัยนำท 433 - 3 - 41 3 เขำบ้ำนกลำ 5,6,8 ธรรมำมูล เมืองชยั นำท 1,834 - 1 - 17 4 เขำทำ่ พระ 3 เขำทำ่ พระ เมอื งชัยนำท 184 - 2 – 50 5 เขำพลอง 4 เขำทำ่ พระ เมอื งชัยนำท 340 - 3 - 10 6 เขำดิน 1 เขำทำ่ พระ เมืองชยั นำท 152 - 3 – 33 7 เขำขยำย 4,8 เขำทำ่ พระ เมอื งชัยนำท 175 - 3 - 67 8 เขำแหลม 5 ไร่พัฒนำ มโนรมย์ 647 - 3 - 90 รายงานประจาปี 2565 029 สำนกั งำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มจังหวัดชยั นำท

ลาดบั ช่ือเขา หม่ทู ี่ ท่ีต้ัง อาเภอ เน้อื ท่ี (ไร)่ ท่ี 2 ตาบล สรรพยำ 137 - 0 - 90 9 เขำสรรพยำ 7 วัดสิงห์ 177 - 3 - 64 7 สรรพยำ วดั สงิ ห์ 137 - 0 - 0 10 เขำหนองหลวง 7 วงั หมนั หันคำ 288 - 2 - 51 7 วังหมนั หันคำ 413 - 2 - 63 11 เขำปกั เป้ำ 10,15 บ้ำนเชีย่ น หนั คำ 858 - 2 - 88 6 บ้ำนเชย่ี น วดั สิงห์ 40 - 0 - 99 12 เขำสำรพัดดี 3,10 หนองแซง หนั คำ 100 - 1 - 17 5 วังหมนั หนั คำ 90 - 2 - 4 13 เขำหนองสอด 5,12 ไพรนกยูง หันคำ 756 - 1 - 25 7 ไพรนกยงู หนั คำ 127 - 2 – 50 14 เขำนอ้ ย 9,11 ไพรนกยูง หันคำ 893 - 2 - 29 10 ไพรนกยงู หันคำ 276 - 2 - 89 15 เขำเตำ่ เหลอื ง 10 ไพรนกยูง เนนิ ขำม 58 - 2 - 93 13 เดน่ ใหญ่ เนินขำม 130 - 1 - 28 16 เขำไร่ (หนองน้ำใส) 18 เนินขำม เนนิ ขำม 284 - 3 - 10 1 เนนิ ขำม หนองมะโมง 84 - 2 - 63 17 เขำรำบ 3,6,11 เนนิ ขำม หนองมะโมง 1,318 - 0 - 0 หนองมะโมง 18 เขำดู่ วังตะเคียน 19 เขำหนองหลวง(รำ 20 แพน) 21 เขำกลำ่ 22 เขำกระเจยี ว 23 เขำวดั 24 เขำมอยำยกำ 25 เขำรวก 26 เขำดิน เขำพนมเกนิ รวม 10,995-3-72 ทม่ี ำ : กรมป่ำไม,้ 2564 3. ป่าชมุ ชน จังหวัดชัยนำท มีป่ำชุมชนที่ได้รับกำรจัดต้ังตำมพระรำชบัญญัติป่ำชุมชน พ.ศ. 2562 จำนวน 45 แห่ง เนอ้ื ท่ี 18,954-1-73 ไร่ โดยมีปำ่ ชมุ ชนในอำเภอตำ่ ง ๆ ดงั น้ี อาเภอ จานวน (แห่ง) พืน้ ทปี่ า่ ชมุ ชน (ไร)่ เมอื งชัยนำท 7 3,107-2-270 มโนรมย์ 1 711-2-27 วดั สิงห์ 3 387-1-162 สรรพยำ 3 211-0-145 สรรคบุรี - หนั คำ 13 - หนองมะโมง 10 5,014-3-368 เนินขำม 8 3,673-3-305 5,844-2-396 รวม 45 18,954-1-73 ท่ีมำ : กรมปำ่ ไม,้ 2564 30 รายงานประจาปี 2565 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั ชัยนำท

แนวโนม้ ของสถำนกำรณป์ ่ำไม้ในจังหวดั ชยั นำทคำดวำ่ จะดีขน้ึ ตำมลำดบั เนอื่ งจำกรฐั บำลไดป้ ระกำศ ใหป้ ัญหำกำรบุกรกุ ทำลำยทรัพยำกรป่ำไม้ เป็นวำระแห่งชำติและมีแผนแม่บทแกไ้ ขปัญหำกำรบุกรุกทำลำย ทรพั ยำกรป่ำไม้ กำรบุกรุกท่ีดินของรัฐ และกำรบรหิ ำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติอย่ำงย่ังยืน ประกอบกับ จังหวัดชัยนำทมีนโยบำยในกำรปลูกป่ำและปลูกต้นไม้ตำมโครงกำรต่ำง ๆ อย่ำงต่อเนื่อง ต้ังแต่ปี 2556 จนถงึ ปจั จบุ ัน อีกทั้งปลูกจติ สำนึกให้รำษฎรทอี่ ำศัยอยูร่ อบป่ำอนุรกั ษแ์ ละหวงแหนปำ่ ไมแ้ ละมสี ว่ นร่วมในกำร บริหำรจัดกำรป่ำ ในรูปแบบของป่ำชุมชน ตลอดจนส่งเสริมให้วัด โรงเรียน และชุมชนปลูกต้นไม้เพ่ิมพื้นที่ สีเขียวและลดสภำวะโลกร้อน ขอ้ มูลด้านส่งิ แวดล้อม สถานการณค์ ุณภาพนา้ ในพื้นที่จังหวัดชยั นาท จังหวัดชัยนาทมแี มน่ า้ สายหลัก 3 สาย ดงั น้ี แม่น้าเจ้าพระยา ในช่วงจังหวัดชัยนำทไหลมำจำกจังหวัดนครสวรรค์ ผ่ำนมำยังจังหวัดอุทัยธำนี และเข้ำสู่จังหวัดชัยนำท ผ่ำนอำเภอมโนรมย์ อำเภอวัดสิงห์ อำเภอเมืองชัยนำท และอำเภอสรรพยำ ผ่ำนจังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดอ่ำงทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ กรุงเทพมหำนคร และไหลลงสู่อ่ำวไทย ท่ีจังหวดั สมุทรปรำกำร ซ่ึงจำกกำรติดตำมตรวจสอบคุณภำพน้ำแม่น้ำเจ้ำพระยำในช่วงจังหวัดนครสวรรค์ โดยสำนักงำนสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษท่ี 4 ในช่วงจังหวัดชัยนำทโดยสำนักงำนส่ิงแวดล้อมและ ควบคุมมลพิษท่ี 5 และสำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดชัยนำท พบว่ำคุณภำ พน้ำ อยู่ในเกณฑ์พอใช้ แม่น้าท่าจีน เป็นแม่น้ำที่แยกมำจำกแม่น้ำเจ้ำพระยำ ตั้งแต่ปำกคลองมะขำมเฒ่ำอำเภอวัดสิงห์ จังหวดั ชัยนำท ไหลผำ่ นอำเภอเมืองชัยนำท และอำเภอหันคำ จงั หวัดชยั นำท จนถงึ ประตูระบำยน้ำโพธิ์พระ ยำ จังหวัดสุพรรณบุรี ผ่ำนจังหวัดนครปฐม และไหลลงสู่อ่ำวไทยที่จังหวัดสมุทรสำคร ซึ่งจำกกำรติดตำม ตรวจสอบคุณภำพน้ำโดยสำนักงำนสิ่งแวดล้อมส่ิงแวดล้อมและควบคุมลพิษท่ี 5 และสำนักงำน ทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มจังหวัดชยั นำท พบวำ่ คณุ ภำพน้ำอยใู่ นเกณฑ์พอใช้ แม่น้าน้อย เป็นแม่น้ำทแ่ี ยกมำจำกแมน่ ้ำเจำ้ พระยำ บริเวณปำกแพรกเหนอื วัดบรมธำตุ อำเภอเมอื ง ชัยนำท จังหวัดชัยนำท ไหลผ่ำนอำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนำท ผ่ำนจังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดอ่ำงทอง และ ไปรวมกับแม่น้ำเจ้ำพระยำ ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ ซึ่งจำกกำรติดตำมตรวจสอบคุณภำพน้ำแม่น้ำน้อย โดยสำนักงำนสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 5 และสำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อม จงั หวดั ชัยนำท พบว่ำคุณภำพนำ้ อย่ใู นเกณฑ์ดี ปัจจุบันคุณภำพน้ำแม่น้ำสำยหลัก 3 สำย (แม่น้ำเจ้ำพระยำ และแม่น้ำท่ำจีน) ในพื้นที่จังหวัดชัยนำท มีค่ำระดับคุณภำพน้ำเฉล่ียอยู่ในระดับพอใช้ กล่ำวคือ มีค่ำค ะแนนดัชนีคุณภำพน้ำ (WQI) อยู่ในช่วง 61 - 70 คะแนน ส่วนแม่น้ำน้อย มีค่ำระดับคุณภำพน้ำเฉลี่ยอยู่ในระดับดี กล่ำวคือ มีค่ำคะแนนดัชนี คุณภำพน้ำ (WQI) อยู่ในช่วง 71 - 90 คะแนน ซ่ึงผลกำรตรวจวัดคุณภำพน้ำในปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 - 2565 มีดังนี้ รายงานประจาปี 2565 031 สำนกั งำนทรัพยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดลอ้ มจังหวดั ชยั นำท

รปู แสดงแมน่ า้ สายหลกั 3 สาย ทีไ่ หลผ่านจังหวดั ชัยนาท ตารางแสดงค่าดัชนคี ณุ ภาพแหลง่ น้าผิวดิน (WQI) ค่าดัชนคี ณุ ภาพน้าแหลง่ น้าผวิ ดนิ (WQI) ปี 2565 แม่น้า 69.06 67.96 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 72.75 เจา้ พระยา 75.75 76.50 59.75 61.50 ทา่ จีน 66.36 73.35 68.50 63.25 นอ้ ย 71.50 80.25 70.00 61.25 ทีม่ ำ : สำนักงำนส่งิ แวดล้อมและควบคมุ มลพษิ ท่ี 5, กนั ยำยน 2565 32 รายงานประจาปี 2565 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดล้อมจังหวัดชยั นำท

กราฟแสดงดชั นคี ณุ ภาพแหลง่ น้าผิวดนิ (WQI) สถานตี รวจวดั คณุ ภาพน้า สถำนีตรวจวัดคุณภำพน้ำที่กำหนดโดยกรมควบคุมลพิษ ดำเนินกำรตรวจวัดคุณภำพน้ำ เป็นรำยไตรมำส โดยสำนักงำนสิง่ แวดล้อมและควบคมุ มลพิษที่ 5 จำนวน 6 สถำนี ดังน้ี ตารางแสดงทต่ี งั้ สถานตี รวจวดั คณุ ภาพนา้ ในพน้ื ท่ีจงั หวดั ชยั นาท แม่น้า ชื่อสถานี รหสั สถานี ท่ตี ้งั ผู้รบั ผดิ ชอบ สะพำนธรรมจกั ร แหง่ ท่ี 2 CH28 ต.ในเมอื ง อ.เมอื งชยั นำท อ.เมอื ง เจา้ พระยา จ.ชยั นำท เขอ่ื นเจำ้ พระยำ อ.สรรพยำ CH27 ต.บำงหลวง อ.สรรพยำ สสภ.6 สะพำนมะขำมเฒ่ำ อ.วดั สงิ ห์ จ.ชัยนำท (นนทบรุ ี) TC28 ต.มะขำมเฒำ่ อ.วัดสงิ ห์ สสภ.5 จ.ชยั นำท (นครปฐม) ท่าจีน สะพำนสำมงำ่ มทำ่ โบสถ์ TC27 ต.สำมงำ่ มทำ่ โบสถ์ อ.หนั คำ อ.หันคำ จ.ชัยนำท สะพำนขำ้ มแม่นำ้ ทำ่ จนี TC26 ต.หันคำ อ.หันคำ จ. ชยั นำท อ.หันคำ รายงานประจาปี 2565 033 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดลอ้ มจังหวดั ชัยนำท

แมน่ ้า ชอ่ื สถานี รหัสสถานี ทต่ี ง้ั ผรู้ บั ผิดชอบ น้อย โครงกำรสง่ นำ้ และบำรงุ รักษำ NO05 ต.ชยั นำท อ.เมืองชัยนำท สสภ.6 (นนทบุร)ี บรมธำตุ อ.เมอื ง จ.ชัยนำท ทม่ี ำ : กรมควบคมุ มลพิษ (หมำยเหตุ : สคพ.5 หมำยถงึ สำนักงำนสง่ิ แวดล้อมและควบคุมมลพษิ ท่ี 5 นครปฐม) 2) สถำนีตรวจวัดคุณภำพน้ำท่ีดำเนินกำรตรวจวัดโดยสำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและส่งิ แวดล้อม จังหวัดชัยนำทเป็นรำยเดือน จำนวน 11 สถำนี โดยใช้เคร่ืองวัดคุณภำพน้ำหลำยตัวแปร ( Multi- parameter) แบบภำคสนำม เพ่ือเฝ้ำระวังคณุ ภำพนำ้ และแจ้งเตือนภัยมลพษิ ทำงน้ำ ดังน้ี ตารางแสดงสถานทีต่ ง้ั สถานีตรวจวดั คุณภาพน้า แมน่ ้าสายหลักและคลองสาขา โดยสานักงานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั ชัยนาท แม่นา้ สถานตี รวจวดั คณุ ภาพนา้ จังหวดั ชยั นาท เจา้ พระยา 1. ตลำดทำ่ ฉนวน 2. วดั ธรรมำมลู 3. หนำ้ จวน 4. ตลำด ท่าจีน (อ.มโนรมย์) วรวิหำร นอ้ ย ผูว้ ำ่ รำชกำรจังหวัด สรรพยำ (อ.เมืองชัยนำท) ชัยนำท (อ.สรรพยำ) (อ.เมอื งชัยนำท) 1.สะพำนมะขำมเฒำ่ 2.สะพำนสำมง่ำม 3.หน้ำท่วี ำ่ กำรอำเภอหันคำ (อ.วัดสิงห์) ทำ่ โบสถ์ (อ.หันคำ) (อ.หนั คำ) 1 .หนำ้ วัดหลวงพอ่ ขำว (อ.เมอื งชยั นำท) 2. ตลำดสรรคบุรี 3. สะพำนดอนกำพฒั นำ (อ.สรรคบรุ ี) (อ.สรรคบุร)ี คลอง คลองบำงตำลำย ต.หำงนำ้ สำคร อ.มโนรมย์ บางตาลาย ท่ีมำ : สำนกั งำนทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสงิ่ แวดล้อมจงั หวดั ชัยนำท 34 รายงานประจาปี 2565 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสงิ่ แวดล้อมจังหวดั ชยั นำท

3) สถำนีตรวจวัดคุณภำพน้ำอัตโนมัติที่กำหนดโดยกรมควบคุมมลพิษ และสำนักงำนส่ิงแวดล้อม และควบคุมมลพิษท่ี 5 ดำเนินกำรตรวจวัดคุณภำพน้ำแบบอัตโนมัติ ทุก 30 นำที และรำยงำนผล ทำง www.wqmonline.com จำนวน 3 สถำนี ดงั นี้ ตารางแสดงสถานตี รวจวัดคณุ ภาพนา้ อัตโนมตั ิจงั หวัดชยั นาท แม่นา้ สถานตี รวจวดั คณุ ภาพน้าอตั โนมตั ิ จังหวดั ชัยนาท หมายเหตุ ชอ่ื สถานี สถานทตี่ ้งั ผูร้ ับผิดชอบ เดินระบบปกติ เดนิ ระบบปกติ เจา้ พระยา ชัยนำท สำนกั งำนทรพั ยำกรธรรมชำติ กรมควบคุมมลพิษ เดนิ ระบบปกติ และสิ่งแวดล้อมจังหวัดชัยนำท ท่าจนี นำงลอื จดุ สูบน้ำดว้ ยพลงั งำนแสงอำทิตย์ สคพ.5 ของ ทต.นำงลือ (อ.เมืองชัยนำท) หันคำ วัดทำ่ กฤษณำ ตลำดหนั คำ กรมควบคมุ มลพิษ (อ.หันคำ) น้อย ไม่มสี ถำนีตรวจวดั คณุ ภำพน้ำอัตโนมตั ิ ท่มี ำ : กรมควบคุมมลพิษ และสำนักงำนสง่ิ แวดลอ้ มและควบคมุ มลพิษท่ี 5 ระบบบาบัดน้าเสยี ชมุ ชน ปัจจุบันจังหวัดชัยนำทมรี ะบบบำบัดน้ำเสียชุมชน จำนวน 6 แห่ง ตั้งอยู่ในพื้นทช่ี ุมชนใหญ่รมิ แมน่ ้ำ เจ้ำพระยำ และแม่น้ำท่ำจีน ส่วนในพ้ืนท่ีริมแม่น้ำน้อยยังไม่มีระ บบบำบัดน้ำเสียชุมชน อีกทั้ง ยังมไี มค่ รอบคลมุ พื้นทีช่ ุมชนใหญ่ริมแมน่ ้ำตลอดสำย ตารางแสดงขอ้ มลู ระบบบาบัดน้าเสียชุมชนในพน้ื ที่จงั หวัดชัยนาท แม่นา้ สถานทตี่ ง้ั /ขนาดพ้นื ท่ี ระบบบาบดั นา้ เสีย การจดั การ เดนิ ระบบปกติ เจา้ พระยา 1. ท่ีรำชพสั ดหุ นองมนตรี แบบบอ่ เตมิ อำกำศ ต.บำ้ นกล้วย อ.เมอื ง (Aerated Lagoon) ขนำด 50 ไร่ (ทม.ชยั นำท) แบบบ่อปรบั เสถยี ร (Stabilization Pond) (รองรบั นำ้ เสีย 4,200 ลบ.ม./วนั ) 2. หมู่ท่ี 4 ต.สรรพยำ อ.สรรพยำ แบบถังสำเรจ็ รปู (50 ลบ.ม./วนั ) เดินระบบปกติ ขนำด 1 ไร่ (ทต.สรรพยำ) แบบถงั สำเร็จรูป โดยใชพ้ ลงั งำน เดินระบบปกติ 3. หมทู่ ่ี 4 ต.สรรพยำ อ.สรรพยำ แสงอำทติ ย์ (50 ลบ.ม./วนั ) ขนำด 1 ไร่ (ทต.สรรพยำ) นำ้ ไมเ่ ขำ้ ระบบ แบบถงั สำเรจ็ รปู (80 ลบ.ม./วนั ) หยุดเดนิ ระบบ 4. ชมุ ชนบำงขุนเณร ต.โพนำงดำตก อ.สรรพยำ ขนำด 1 ไร่ ชั่วครำว (ทต.โพธ์พิ ทิ ักษ์) รายงานประจาปี 2565 035 สำนกั งำนทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อมจังหวดั ชัยนำท

แม่นา้ สถานทตี่ งั้ /ขนาดพ้ืนที่ ระบบบาบดั นา้ เสยี การจดั การ แบบถงั สำเรจ็ รูป (50 ลบ.ม./วนั ) 5. ชมุ ชนโพธเิ์ จริญ ต.โพนำงดำตก น้ำไมเ่ ขำ้ ระบบ อ.สรรพยำ ขนำด 1 ไร่ หยุดเดนิ ระบบ (ทต.โพธพิ์ ทิ ักษ)์ ชวั่ ครำว ท่าจีน 6. ปำกคลองยำยหอม ต.หันคำ แบบบอ่ ผึง่ ผสมบงึ ประดษิ ฐ์ เดนิ ระบบปกติ อ.หันคำ ขนำด 1 ไร่ (ทต.หนั คำ) (50 ลบ.ม./วัน) ทีม่ ำ : สำนกั งำนทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มจังหวัดชยั นำท, 2564 สถานการณ์ดา้ นการจัดการขยะมูลฝอย 1. ปริมาณขยะมลู ฝอย ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 จังหวัดชัยนำท มีปริมำณขยะมูลฝอยชุมชนท่ีเกิดขึ้น 326.99 ตัน/วัน มีกำรจัดกำรอย่ำงถูกต้อง 267.21 ตัน/วัน (ร้อยละ 81.72) โดยแบ่งเป็นกำรกำจัดอย่ำงถูกต้อง 61.09 ตัน/วนั (ร้อยละ 18.68) และนำกลับมำใช้ประโยชน์ 206.12 ตัน/วัน (ร้อยละ 63.04) ส่วนกำร กำจัดไม่ถูกต้อง 59.78 ตัน/วัน (ร้อยละ 18.28) ซ่ึงปริมำณขยะมูลฝอยในภำพรวมของจังหวัดใน ปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 – 2565 มีดังนี้ ตารางแสดงข้อมลู ปรมิ าณขยะมลู ฝอย ปี 2561 – 2565 ปี ขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอย กาจัดถกู ตอ้ ง นากลบั มาใช้ จัดการถกู ตอ้ ง กาจัดไม่ ตกค้าง เกดิ ข้นึ (ตัน/วนั ) ประโยชน์ (กาจัดถูกต้อง+ ถูกต้อง (ตนั ) (ตนั /วนั ) (ตนั /วนั ) ใชป้ ระโยชน์) (ตนั /วนั ) 2561 516.34 326.33 139.49 126.22 (ตัน/วนั ) 60.62 (42.74 %) (38.68 %) (18.58 %) 265.71 2562 185.48 322.49 60 210.20 (81.42 %) 52.29 (18.61 %) (65.18 %) (16.21 %) 270.20 2563 1,917 347.17 63.28 218.83 (83.79 %) 65.06 (18.23 %) (63.03 %) (18.74 %) 282.11 2564 6,159.15 332.18 82.46 193.50 (81.26 %) 56.22 (24.82%) (58.25%) (16.92%) 275.96 59.75 2565 10,072.15 326.99 60.88 206.20 (83.08%) (18.27%) (18.62%) (63.06%) 267.24 ท่มี ำ : สำนกั งำนส่ิงแวดลอ้ มและควบคมุ มลพษิ ท่ี 5, กนั ยำยน 2565 (81.73%) 36 รายงานประจาปี 2565 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำติและสงิ่ แวดลอ้ มจังหวดั ชยั นำท

2. สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยของจงั หวัดชัยนาท จังหวัดชัยนำท มีสถำนท่ีกำจัดขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จำนวน 8 แห่ง สถำนี ขนถ่ำยขยะมูลฝอย จำนวน 1 แห่ง และศูนย์รวบรวมของเสยี อนั ตรำยของจงั หวดั จำนวน 1 แหง่ ดังน้ี ข้อมลู สถานทกี่ าจัดขยะมลู ฝอยของจังหวดั ชยั นาท ที่ หน่วยงาน ประเภทระบบ สถานทตี่ งั้ /ขนาดพน้ื ที่ การจดั การ รับผดิ ชอบ 1 ทต.หนั คำ บอ่ ฝังกลบแบบถูกหลกั หมทู่ ี่ 3 บำ้ นหนองแจง จัดกำรถูกตอ้ งตำม สขุ ำภิบำล ต.เด่นใหญ่ อ.หนั คำ หลักสุขำภิบำล (Sanitary Landfill) ขนำด 74 ไร่ 2 ท ต .ห ำ ง น้ ำ บ่อฝังกลบแบบถูกหลัก หมทู่ ี่ 5 ต.อู่ตะเภำ จัดกำรไมถ่ ูกต้อง สำคร สขุ ำภบิ ำล อ.มโนรมย์ ขนำด 12 ไร่ (Sanitary Landfill) 3 ทม.ชัยนำท บ่อฝังกลบแบบถูกหลัก หมทู่ ี่ 7 บำ้ นหนองดู่ จดั กำรไม่ถูกตอ้ ง (หนองมะโมง) วชิ ำกำร ต.หนองมะโมง อ.หนองมะโมง ขนำด 71 ไร่ 4 ทต.เนนิ ขำม เทกองแบบควบคุม หมู่ที่ 7 บ้ำนหัวตอ ต.เนนิ ขำม จดั กำรถกู ต้อง (Control Dump) อ.เนนิ ขำม ขนำด 1 ไร่ 3 งำน 50 ตำรำงวำ 5 ทม.ชัยนำท แบบเทกอง ท่ีสำธำรณะประโยชน์ หมทู่ ี่ 7 จดั กำรไม่ถูกตอ้ ง (เขำพลอง) (Open Dump) ต.เขำทำ่ พระ อ.เมอื งชัยนำท ขนำด 67 ไร่ 6 ทต.ธรรมำมูล แบบเทกอง ท่สี ำธำรณะประโยชน์ หมูท่ ี่ 6 จัดกำรไมถ่ กู ตอ้ ง (Open Dump) ต.ธรรมำมูล อ.เมืองชยั นำท ขนำด 1 ไร่ 7 ทต.วดั สิงห์ แบบเทกอง หม่ทู ่ี 8 ต.มะขำมเฒำ่ จดั กำรไม่ถูกต้อง (Open Dump) อ.วัดสิงห์ ขนำด 30 ไร่ 8 ทต.โพธพ์ิ ิทกั ษ์ สถำนขี นถ่ำยขยะมลู ฝอย หมู่ที่ 2 ต.โพนำงดำตก จดั กำรถกู ต้อง อ.สรรพยำ 9 ทต.โพธ์ิพทิ กั ษ์ ศูนยร์ วบรวมของเสีย หมทู่ ่ี 2 ต.โพนำงดำตก รวบรวมไว้ท่ีศนู ยฯ์ อันตรำย อ.สรรพยำ (ยงั ไม่มีกำรสง่ (อย่ใู นพน้ื ทส่ี ถำนขี นถำ่ ย ของเสียอนั ตรำยไป ขยะมูลฝอยของ กำจัดอย่ำงถูกตอ้ ง) ทต.โพธพ์ิ ทิ กั ษ์) ที่มำ : สำนกั งำนทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มจังหวัดชยั นำทชยั นำท, 2564 รายงานประจาปี 2565 037 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อมจงั หวดั ชยั นำท

3. การจดั การขยะมูลฝอยแบบศนู ย์รวม 3.1 สถำนท่ีกำจัดขยะมูลฝอยของเท ศบำลตำบลหันคำ เป็นบ่อฝังกลบแบบ ถูกหลักสุขำภิบำล และมีกำรจัดกำรอย่ำงถูกต้อง ปัจจุบันมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดชัยนำท นำขยะมูลฝอยไปกำจัด จำนวน 28 แหง่ 3.2 สถำนท่ีกำจัดขยะมูลฝอยของเทศบำลเมืองชัยนำท (หนองมะโมง) เป็นบ่อฝังกลบ แบบถูกหลักวิชำกำร แต่ยังมีกำรจัดกำรท่ีไม่ถูกต้อง ปัจจุบันมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่นำขยะมูลฝอย ไปกำจัด จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ เทศบำลตำบลหนองมะโมง โดยยังไม่ได้เปิดให้บริกำรแก่องค์กรปกครอง สว่ นท้องถิน่ อื่น ๆ ในจงั หวดั 3.3 สถำนีขนถ่ำยขยะมูลฝอยของเทศบำลตำบลโพธิ์พิทักษ์ รองรับขยะมูลฝอยใหม่ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพ่ือขนส่งไปกำจัด ณ โรงงำนปูนซีเมนต์ ทีพีไอ จำกัด อำเภอแก่งคอย จงั หวดั สระบรุ ี ปัจจุบนั มอี งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในจงั หวดั ชยั นำทนำขยะมูลฝอยไปกำจดั จำนวน 7 แห่ง 3.4 สถำนท่ีกำจัดขยะมูลฝอยของเทศบำลตำบลหำงน้ำสำคร เป็นบ่อฝังกลบแบบ ถูกหลักสุขำภิบำล แต่ยังมีกำรจัดกำรที่ไม่ถูกต้อง ปัจจุบันมีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีนำขยะมูลฝอย ไปกำจดั จำนวน 2 แหง่ ไดแ้ ก่ เทศบำลตำบลหำงน้ำสำคร และองคก์ ำรบริหำรสว่ นตำบลอ่ตู ะเภำ 4. การจัดการของเสียอันตราย จังหวดั ชยั นำทได้จัดตง้ั ศนู ยร์ วบรวมของเสียอนั ตรำยจังหวดั ชัยนำท อยภู่ ำยในสถำนขี นถำ่ ย ขยะมูลฝอยของเทศบำลตำบลโพธ์ิพิทักษ์ เพื่อรวบรวมส่งกำจัดอย่ำงถูกต้องต่อไป ปจั จบุ ันมอี งค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถิ่นท่นี ำของเสยี อันตรำยมำรวบรวม ดังนี้ ตารางแสดงขอ้ มูลการจดั การของเสยี อนั ตราย เทศบาล/อบต. ปรมิ าณขยะอันตรายทนี่ าสง่ มารวบรวม ค่าธรรมเนยี มทเ่ี รยี กเกบ็ 1. ศนู ย์วิจัยพืชไร่ (กิโลกรมั ) (บาท/กิโลกรมั ) 30 - 2. ทต.ห้วยกรด 20 18 3. ทต.หำดอำษำ 108 18 4. ทต.ห้วยงู 15 18 5. ทต.คุ้งสำเภำ 65 18 6. ทต.หนองน้อย 55 18 7. อบต.มะขำมเฒำ่ 65 18 รวม 358 18 ที่มำ : เทศบำลตำบลโพธพิ์ ทิ กั ษ์, กนั ยำยน 2565 38 รายงานประจาปี 2565 สำนกั งำนทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสง่ิ แวดล้อมจงั หวดั ชยั นำท

แบบรายงานขอ้ มูลการจดั การของเสยี อันตรายจากชุมชน ซากผลติ ภัณฑเ์ ครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ประเภทและน้าหนักของเสียอนั ตรายจากชุมชน (กโิ ลกรมั ) ประมาณ ชอ่ื บรษิ ัท ของเสยี ที่ส่งของ ชือ่ จดุ รวบรวม วันท่ีบนั ทึก กลุ่มจาก กลุม่ กล่มุ กลุ่ม กลุ่มจาก กลุ่ม รวมนา้ หนัก อนั ตราย โทรศัพท์ ถ่าน หลอดไฟ ภาชนะ ผลิตภัณฑ์ อนื่ ๆ (กโิ ลกรมั ) จากชมุ ชน เสีย ข อ ง เ สี ย อั น ต ร ำ ย 17 พ.ย.64 มอื ถือ ไฟฉาย บรรจุ เครอ่ื งใช้ ท่ีส่งกาจัด อันตราย จ ำก ชุ ม ช น จั งห วั ด 30 พ.ย. สารเคมี ไฟฟ้าและ 30 (กิโลกรัม) ชัยนำท และ อิเล็กทรอนกิ ส์ 10 จาก (ทต.โพพิทกั ษ์) 64 แบตเตอร่ี 10 ยงั ไม่ไดส้ ง่ ชมุ ชนไป ธ.ค. 64 108 กำจดั กาจดั 31 ม.ค.65 200 เนอื่ งจำกยัง พ.ค. 65 0.1 29.90 มปี ริมำณ นอ้ ยและอยู่ - - 10 ระหวำ่ งตก ลงเรื่องรำคำ 10 รบั กำจัด 108 200 รวม 358 ทมี่ ำ : สำนกั งำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละส่ิงแวดล้อมจังหวดั ชยั นำท, กันยำยน 2564 5. การเกบ็ ขนขยะมูลฝอยในปจั จบุ นั จงั หวัดชัยนำทมอี งค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นจำนวน 59 แห่ง มีกำรเก็บขนขยะมูลฝอยดังนี้ ตารางแสดงข้อมลู การเกบ็ ขนขยะมลู ฝอยในปจั จุบัน จานวน อปท. ทม่ี บี รกิ ารเก็บขนขยะมลู ฝอยไปกาจัด (47 แหง่ ) จานวน อปท. ที่ไม่มบี รกิ าร เก็บขนขยะมูลฝอยไปกาจัด กาจดั ถกู ตอ้ ง (38 แห่ง) กาจัดไม่ถกู ตอ้ ง (9 แห่ง) ( 12 แหง่ ) 38 แห่ง 9 แหง่ (ไปบอ่ ฝังกลบของ ทต.หันคำ/ (บ่อไม่ถกู หลักวชิ ำกำร/ 12 แห่ง (ประชำชนกำจดั เองในพืน้ ท่ี) สถำนขี นถ่ำยของ ทต.โพธิพ์ ทิ ักษ)์ บอ่ เอกชนนอกจงั หวัด) รายงานประจาปี 2565 039 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละส่งิ แวดล้อมจงั หวดั ชัยนำท

สถานการณด์ ้านคุณภาพอากาศ ปจั จุบันจงั หวดั ชยั นำทประสบปญั หำมลพษิ ทำงอำกำศยังไมร่ ุนแรงนัก โดยมีสำเหตุส่วนใหญ่มำจำก กำรเผำเศษวสั ดทุ ำงกำรเกษตร ควนั จำกยำนพำหนะขนส่ง ไฟปำ่ และโรงงำนอุตสำหกรรม เนือ่ งจำกในพ้ืนท่ี จังหวัด มีกำรทำเกษตรกรรมจำนวนมำก ส่งผลให้เกิดปัญหำมลพิษทำงอำกำศในบำงพื้นที่ โดยสำนักงำน ทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อมจังหวัดชัยนำท ดำเนินกำรเฝ้ำระวังคุณภำพอำกำศของจังหวัดชัยนำท โดยกำรตรวจวัดค่ำฝุ่นละอองขนำดเล็ก (PM2.5) และค่ำดัชนีคุณภำพอำกำศ (AQI) ด้วยเคร่ืองตรวจวัด คุณภำพอำกำศแบบเคลื่อนท่ี โดยตรวจวัดตั้งแต่วันท่ี 1 ธันวำคม 2564 ถึง 31 พฤษภำคม 2565 และ เทียบเคียงค่ำคุณภำพอำกำศจำกแอพพลิเคช่ัน Air4Thai ของกรมควบคุมมลพิษ ณ สถำนีคุณภำพอำกำศ ตำบลปำกน้ำโพ อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ เพ่ือประเมินแนวโน้มสถำนกำรณ์ของจังหวัดชัยนำท และ ตรวจสอบจำนวนจดุ ควำมร้อน (Hotspot) จำกระบบติดตำมจุดควำมร้อนดว้ ยดำวเทียมของกรมป่ำไม้ ตารางแสดงขอ้ มูลคา่ เฉลย่ี ฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 เดือน คา่ เฉลย่ี ดัชนคี ุณภาพอากาศ ธนั วาคม 2564 ฝุ่นละอองขนาดเลก็ PM2.5 (AQI) (ไมโครกรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร) 102 39 มกราคม 2565 40 59 กุมภาพันธ์ 2565 33 42 มนี าคม 2565 31 41 เมษายน 2565 33 50 พฤษภาคม 2565 15 16 ที่มำ : สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดลอ้ มจังหวดั ชัยนำท (หมำยเหตุ : เปน็ คำ่ ทต่ี รวจวัดดว้ ยเคร่ืองตรวจวัดคุณภำพอำกำศแบบเคลื่อนท่ี ณ จุดตรวจ สนง.ทสจ.ชัยนำท) กราฟแสดงปรมิ าณฝุน่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 เฉลย่ี รายเดอื น 40 รายงานประจาปี 2565 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดลอ้ มจังหวดั ชยั นำท

ข้อมลู ด้านทรัพยากรนา้ สถานการณด์ ้านทรพั ยากรน้า จานวนแหล่งน้า ❖ แหลง่ นา้ ธรรมชาติ (น้าผวิ ดนิ ) แหล่งนำ้ ธรรมชำติ ไดแ้ ก่ แม่น้ำ ลำคลอง หว้ ย หนอง บงึ โดยจังหวัดชยั นำทมีแม่นำ้ สำคญั ไหล ผ่ำน 3 สำย นอกจำกนี้ ยังมี แหล่งนำ้ ธรรมชำติ ประเภท ห้วย หนอง คลอง สระ และบงึ มอี ยกู่ ระจัด กระจำยทั่วไป ซงึ่ มจี ำนวนแหล่งนำ้ ธรรมชำติ จำนวน ๖๑๘ แห่ง ดังนี้ 1. แม่น้ำเจำ้ พระยำ ไหลผำ่ น อ.มโนรมย์ อ.วดั สงิ ห์ อ.เมอื ง และ อ.สรรพยำ 2. แม่น้ำทำ่ จนี หรือแมน่ ำ้ มะขำมเฒ่ำ ไหลผ่ำน อ.วดั สงิ ห์ อ.เมอื ง และ อ.หนั คำ 3. แมน่ ำ้ น้อย ไหลผำ่ น อ.เมอื งชัยนำท และ อ.สรรคบุรี 4. ห้วย จำนวน ๗๔ แหง่ 5. หนอง จำนวน 1๓๘ แหง่ 6. คลอง จำนวน ๑๗๙ แห่ง 7. สระ/อำ่ งเกบ็ นำ้ จำนวน 1๖๗ แหง่ 8. บึง จำนวน ๕๗ แหง่ พ้ืนที่ชมุ่ นา้ ในเขตพนื้ ท่ีจังหวดั ชยั นาท พน้ื ทชี่ มุ่ นำ้ (Wetlands) หมำยถึง ทล่ี มุ่ ทร่ี ำบลุม่ ทช่ี นื้ แฉะ พรุ แหลง่ นำ้ ทง้ั ทีเ่ กิดขึ้นเองตำม ธรรมชำติและทีม่ นุษยส์ รำ้ งขนึ้ ทง้ั ทม่ี นี ้ำขัง หรือ นำ้ ทว่ มอยู่ถำวรและช่วั ครั้งชวั่ ครำว ท้ังทเี่ ปน็ แหลง่ นำ้ น่ิง และน้ำไหล ท้ังท่เี ป็นนำ้ จดื นำ้ กรอ่ ย และนำ้ เคม็ รวมไปถึงชำยฝง่ั ทะเล และทใ่ี นทะเลในบรเิ วณซง่ึ เมื่อน้ำ ลดลงต่ำสุด มคี วำมลกึ ของระดบั น้ำไมเ่ กนิ 6 เมตร พ้ืนท่ีชุ่มน้ำในเขตพื้นที่จังหวัดชัยนำท ได้ถูกกำหนดเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีควำมสำคัญระดับชำติ มี จำนวนรวมท้งั ส้ิน 3 แหง่ โดยแบง่ เป็นพืน้ ท่ชี ุม่ น้ำนอกเขตอนรุ กั ษ์ และพ้ืนที่ชุม่ นำ้ ในเขตอนุรกั ษ์ ดงั นี้ 1. พนื้ ทีช่ มุ่ นำ้ นอกเขตอนุรักษ์ จำนวน 2 แห่ง ไดแ้ ก่ ทรี่ ำบลุ่มภำคกลำงตอนลำ่ ง และแม่น้ำเจำ้ พระยำ 2. พ้นื ทชี่ ุ่มนำ้ ในเขตอนรุ กั ษ์ จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ เขตหำ้ มล่ำสตั ว์ป่ำบงึ ฉวำก 1. ท่รี าบลุ่มภาคกลางตอนล่าง ขอ้ มูล รายละเอยี ด 1. ชือ่ พน้ื ที่ชุมน้ำ 2. ภมู ภิ ำค ท่ีรำบลมุ่ ภำคกลำงตอนลำ่ ง 3. จงั หวัด ภำคกลำง และภำคตะวนั ออก กรงุ เทพมหำนคร สมทุ รปรำกำร นนทบุรี ปทุมธำนี พระนครศรีอยุธยำ 4. สถำนะควำมสำคญั อ่ำงทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนำท สระบุรี ฉะเชิงเทรำ นครนำยก 5. พนื้ ทอี่ นรุ ักษ์ สพุ รรณบรุ ี นครปฐม สมทุ รสำคร และสมุทรสงครำม พ้ืนทชี่ ุม่ นำ้ ที่มคี วำมสำคัญระดบั ชำติ พื้นทชี่ ุ่มนำ้ นอกเขตอนุรกั ษ์ รายงานประจาปี 2565 041 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำติและสงิ่ แวดล้อมจงั หวดั ชัยนำท

ขอ้ มูล รายละเอยี ด 6. ควำมสมบูรณข์ องพน้ื ที่ อยรู่ ะหว่ำงกำรประเมิน 7. ที่ตง้ั ท่ีรำบลุ่มภำคกลำงตอนล่ำงต้ังอยู่ในลุ่มน้ำเจ้ำพระยำ ซ่ึงลุ่มน้ำ เจ้ำพระยำ ต้ังอยู่ทำงตอนกลำงของประเทศไทย ครอบคลุมพ้ืนท่ี ท้ังหมด 16 จังหวัด คือ กรุงเทพมหำนคร นนทบุรี สมุทรสงครำม สมุทรสำคร สมุทรปรำกำร นครปฐม นครนำยก สระบุรี ฉะเชิงเทรำ ปทุมธำนี สพุ รรณบุรี สงิ ห์บุรี ลพบุรี ชัยนำท พระนครศรีอยุธยำ และ อ่ำงทอง มคี วำมสูงจำกระดับนำ้ ทะเลโดยเฉลยี่ 0-20 เมตร 8. พกิ ดั 14.505194, 100.434306 9. ควำมสำคัญ และคุณค่ำกำรใช้ เป็นแหล่งต้ังถิ่นฐำนเก่ำแก่ของชุมชนหลำยเช้ือชำติ มีควำมสำคัญ ประโยชน์ ทำงโบรำณคดี โดยกำรพบหลักฐำนชุมชน เป็นแหล่งน้ำ แหล่งผลิต ข้ำวทีส่ ำคัญ แหลง่ ทำกำรประมงนำ้ จืด เลย้ี งสตั ว์ เส้นทำงคมนำคม 10. ขอ้ มูลทำงกำยภำพ มีพ้ืนที่ 19,000 ตำรำงกิโลเมตร มีสภำพเป็นท่ีรำบลุ่มขนำดใหญ่มี แม่นำ้ สำยหลกั คือแมน่ ้ำเจ้ำพระยำ ลุม่ นำ้ เจ้ำพระยำ ตอนล่ำงมีสภำพ เป็นที่รำบลุ่มขนำดใหญ่ มีบึงขนำดเล็กและหนองน้ำกระจำยทั่วไป พ้นื ท่ีนีอ้ ย่ใู นเขตอิทธิพล ของลมมรสุมเขตรอ้ น 11. ขอ้ มลู ทรพั ยำกรชีวภำพ มีป่ำธรรมชำติท่ีสำคัญ คือ ป่ำดิบแล้ง ป่ำเบญจพรรณ และป่ำเต็งรัง นอกจำกนี้ยังมีชนิดป่ำไม้ท่ีมีเฉพำะถิ่น เช่น ป่ำชำยเลน และป่ำไผ่ ได้แก่ สนุ่น (Salix tetrasperma Roxb.) กระทุ่ม (Anthocephalus chinensis (Lam.) A.Rich. ex Walp.) โ ก ง ก ำ ง ใ บ ใ ห ญ่ (R.mucronata Poir.) พ บพื ชหำยำก 3 ชนิ ด ได้แก่ จิกท ะเล (Barringtonia asiatica (L.) Kurz) และสะตือ (Crudia chrysantha (Pierre) K.Schum) สตั วป์ ำ่ ท่ีได้รับกำรจัดสถำนภำพตำมกำรจดั ของสำนกั งำนนโยบำยและ แผนส่ิงแวดล้อมและทรัพยำกรธรรมชำติ (Nabhitabhata & Chan- and 2005) และ IUCN อย่ำงน้อย 10 ชนิด ได้แก่ โลมำอิรวดี (Orcaella brevirostris) ค้ำงคำวแม่ไก่ภำคกลำง (Pteropus lylei) และนกกำบบัว (Mycteria leucocephala) เปน็ ต้น 42 รายงานประจาปี 2565 สำนกั งำนทรพั ยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดล้อมจงั หวัดชัยนำท

2. แมน่ า้ เจ้าพระยา ขอ้ มลู รายละเอยี ด 1. ช่อื พื้นทช่ี มุ นำ้ แม่น้ำเจำ้ พระยำ 2. ภมู ิภำค ภำคกลำง และภำคตะวนั ออก 3. จงั หวดั สมุทรปรำกำร นนทบุรี ปทุมธำนี พระนครศรีอยุธยำ อ่ำงทอง สิงห์บุรี ชัยนำท และนครสวรรค์ 4. สถำนะควำมสำคัญ พน้ื ทช่ี ่มุ นำ้ ที่มคี วำมสำคญั ระดบั ชำติ 5. พนื้ ท่ีอนุรกั ษ์ พืน้ ทช่ี มุ่ นำ้ นอกเขตอนุรักษ์ 6. ควำมสมบูรณ์ของพนื้ ท่ี อยู่ระหวำ่ งกำรประเมิน 7. ทีต่ งั้ จงั หวัดนครสวรรค์ จงั หวัดชยั นำท จงั หวดั สิงหบ์ ุรี จังหวดั อำ่ งทอง จงั หวัด พ ระน ครศ รีอยุธยำ จังหวัดป ทุ มธำนี จังหวัดน น ท บุรี จังหวัด สมทุ รปรำกำร 8. พกิ ัด 14.718472, 100.438194 9. ควำมสำคัญ และคุณค่ำกำรใช้ เป็นแม่น้ำสำยหลักในระบบลุ่มน้ำเจ้ำพระยำ และมีควำมสำคัญอย่ำงยิ่ง ประโยชน์ ต่อเศรษฐกจิ ของประเทศ มีพนื้ ที่เพำะปลกู ผลิตข้ำว ใชน้ ำ้ เพ่ือกำรอุปโภค กำรเกษตร อุตสำหกรรม เป็นแหล่งน้ำดิบทำประปำเป็นแหล่งทำกำร ประมง เป็นแหลง่ ขยำยพันธ์ุและเพำะพันธุส์ ัตวน์ ้ำ เป็นเสน้ ทำงคมนำคม เปน็ แหล่งกำเนดิ ขนบธรรมเนียม 10. ขอ้ มูลทำงกำยภำพ มีควำมยำวรวมประมำณ 380 กิโลเมตร เป็นแม่น้ำสำยสำคัญที่สุดของ ประเทศไทย เกิดจำกกำรรวมตัวกันของแม่น้ำปิง วัง ยม และน่ำน เม่ือไหลต่อมำในเขตภำคกลำง ยังมีแม่น้ำสะแกกรัง แม่น้ำป่ำสักไหลมำ บรรจบ ตลอดสำยแม่น้ำมีควำมยำวรวมประมำณ 380 กิโลเมตร มีพนื้ ท่ี ลุ่มนำ้ ประมำณ 20,125 ตำรำงกิโลเมตร 11. ข้อมูลทรพั ยำกรชวี ภำพ พบพันธุ์ไม้น้ำน้อยมำกเพียง 24 ชนิด ชนิดที่พบมำก ได้แก่ ผักตบชวำ (Eichornia crassipes) ปลำในแมน่ ำ้ เจำ้ พระยำและลำนำ้ สำขำอย่ำงนอ้ ย 329 ชนิด ชนิดที่สูญพันธไ์ุ ปแล้ว (extinct) จำกแม่น้ำเจ้ำพระยำ ได้แก่ ปลำสำยยูหรือปลำหวีเกศ (Platytropius siamensis) ปลำเสือตอลำย ใหญ่ (Coius microlepis) พบสัตวท์ ี่อยู่ในสถำนภำพใกล้สูญพนั ธอ์ุ ยำ่ งยิ่ง (critically endangered) ในธรรมชำติ ได้แก่ จระเข้น้ำจืด (Crocodylus siamensis) รายงานประจาปี 2565 043 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมจงั หวดั ชยั นำท

3. เขตห้ามลา่ สตั วป์ ่าบึงฉวาก ขอ้ มลู รายละเอยี ด 1. ช่ือพื้นทีช่ ุมน้ำ เขตห้ำมลำ่ สัตว์ป่ำบงึ ฉวำก 2. ภมู ิภำค 3. จงั หวดั ภำคกลำง และภำคตะวนั ออก 4. สถำนะควำมสำคัญ 5. พน้ื ทีอ่ นรุ กั ษ์ ชัยนำท และสพุ รรณบรุ ี 6. ควำมสมบรู ณข์ องพนื้ ท่ี 7. ทตี่ ้งั พ้นื ทช่ี ุม่ นำ้ ที่มคี วำมสำคญั ระดบั ชำติ พื้นทช่ี ุ่มนำ้ ในเขตอนุรักษ์ อยู่ระหวำ่ งกำรประเมนิ ต้ังอยู่ หมู่ 3 และ 9 เทศบำลตำบลเดิมบำง มีพ้ืนท่ีครอบคลุม 4 ตำบล คือ ตำบลปำกน้ำ ตำบลหัวเข่ำ อำเภอ เดิมบำงนำงบวช จังหวัด สพุ รรณบรุ ี และตำบลบ้ำนเชี่ยน อำเภอหันคำ จังหวัดชัยนำท 8. พกิ ัด 14.905472, 100.056639 9. ควำมสำคัญ และคุณค่ำกำรใช้ กำรประเมินคุณค่ำทำงเศรษฐศำสตร์ของกำรใช้ประโยชน์พ้ืนที่ชุ่มน้ำ ประโยชน์ ประเภทหนองบงึ จำกผลกำรสำรวจข้อมลู กำรใช้ประโยชน์ ในดำ้ นตำ่ งๆ 10. ข้อมูลทำงกำยภำพ มีเนื้อท่ี 2,700 ไร่ เป็นบึงน้ำจดื ที่เกิดข้ึนเองตำมธรรมชำติ มีขนำดใหญ่ ควำมลึกเฉล่ียประมำณ 1 – 3 เมตร มีลกั ษณะคล้ำยเป็นสว่ นหนง่ึ ของลำ น้ำ สำมำรถเก็บน้ำได้ตลอดปี เพื่อให้เป็นที่เก็บกักน้ำไว้ใช้ในกำรอุปโภค กำรบรโิ ภค และเปน็ แหล่งเพำะพนั ธ์ปุ ลำนำ้ จดื ทส่ี ำคัญ 11. ข้อมูลทรพั ยำกรชีวภำพ พบพรรณไมร้ วม 213 ชนิด 169 สกุล 66 วงศ์ แยกเป็นพรรณไม้ทว่ั ไป 82 ชนิด และพรรณไมน้ ้ำ 131 ชนิด ซง่ึ เป็นพรรณไม้ทน่ี ำเขำ้ ไปปลกู อีก 45 ชนิด เช่น ก่มุ น้ำ (Crateva magna (Lour.) DC.) ผกั แวน่ (Marsilea crenata C.Presl) มีสัตวป์ ่ำอำศัยอยู่ในพ้ืนที่ศึกษำไม่น้อยกว่ำ 68 ชนิด สัตว์เลย้ี งลูกด้วยนม 3 ชนิด นก 46 ชนดิ สัตวเ์ ลือ้ ยคลำน 14 ชนิด และ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก 5 ชนิด ปลำ 43 ชนิด สัตว์หน้ำดินทั้งหมด 7 ชนิด ได้แก่ นกเขำใหญ่ (Streptopelia chinensis) นกเขำชวำ (Geopelia striata) เต่ ำ น ำ (Malayemys subtrijuga) กิ้ ง ก่ ำ ส ว น (Calotes mystaceus) กบนำ (Hoplobatrachus rugulosa) พงั พอนเล็ก (Herpestes javanica) ทมี่ ำ : สำนกั งำนนโยบำยและแผนทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสง่ิ แวดล้อม (สผ.) 44 รายงานประจาปี 2565 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสงิ่ แวดล้อมจงั หวัดชยั นำท

❖ แหล่งน้าบาดาล (น้าใตด้ นิ ) แหล่งน้ำใตด้ ินจำกรำยงำนและแผนที่อุทกธรณีวิทยำของจังหวัดชัยนำท ปริมำณและคุณภำพ ของน้ำในท้องที่ต่ำง ๆ ของจังหวัด คือ น้ำบำดำลระดับตื้น (Qcp) เป็นช้ันน้ำที่ระดับควำมลึกตั้งแต่ 15 – 20 เมตร บำงแห่งลึกถงึ 30 เมตร ปรมิ ำณอยู่ในอตั รำ 200 – 300 ลติ รต่อนำที พบในบรเิ วณท่ีลุ่ม น้ำหลำกทง้ั สองฝงั่ แมน่ ำ้ เจ้ำพระยำ ต้ังแต่อำเภอมโนรมย์ อำเภอเมืองชยั นำท และอำเภอสรรคบรุ ี ส่วนน้ำบำดำลระดับลึกปำนกลำง (Qcr) เป็นช้ันน้ำท่ีระดับควำมลึกตั้งแต่ 45 – 100 เมตร ปริมำณน้ำอยใู่ นอตั รำ 100 – 200 ลิตรต่อนำที พบทำงตอนกลำงของจงั หวัด สำหรับน้ำบำดำลในหินแขง็ (Pcms,D – Emm,Gr&Vc) จัดเป็นประเภทไม่เหมำะเป็นแหล่งน้ำ บำดำลท่ดี ี เนอ่ื งจำกโอกำสเก็บน้ำจะไดใ้ นชอ่ งวำ่ งท่ีเกดิ รอยหินแตกเท่ำน้ัน ปริมำณน้ำอัตรำไม่เกิน 40 ลิตร ต่อนำที พบทำงอำเภอหนองมะโมงและอำเภอเนินขำม การประกอบกิจการน้าบาดาล ตามพระราชบัญญัติน้าบาดาล พ.ศ. 2520 และแก้ไขเพ่ิมเติม โดยพระราชบญั ญตั นิ า้ บาดาล พ.ศ. 2546 กำรใช้น้ำบำดำล ไม่ว่ำจะเพ่ืออุปโภคบริโภค เพื่อกำรเกษตรหรือเพื่อใช้ในภำคอุตสำหกรรม ตำ่ ง ๆ น้นั มีกฎหมำยท่ีใช้ในกำรควบคุมกำกับ ดแู ล คือ พระรำชบัญญัติน้ำบำดำล (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยพระรำชบัญญัตินำ้ บำดำล (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2546 \"กฎหมำย กำหนดให้กรุงเทพมหำนคร และทุกจังหวัดในรำชอำณำจักรไทยเป็นเขตน้ำบำดำล และกำหนดใหน้ ้ำใต้ดินที่อยลู่ ึก จำกผิวดนิ เกนิ กว่ำ 15 เมตร เปน็ น้ำบำดำล\" ดังน้ัน หำกใครก็ตำมที่มีควำมประสงค์จะใช้น้ำบำดำลจะต้องยื่นคำขอรับใบอนุญำต เจำะน้ำบำดำลและใบอนุญำตใช้น้ำบำดำลต่อพนักงำนน้ำบำดำลประจำท้องท่ีเขตน้ำบำดำลจังหวดั ชัยนำท ให้ถูกต้อง หำกฝ่ำฝืนจะมีควำมผิดและมีบทกำหนดโทษ กล่ำวคือต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรบั ไม่เกิน 20,000 บำท หรือทั้งจำท้ังปรับและจะริเครื่องมอื เคร่อื งใช้ หรือเครื่องจักรกลใด ๆ ท่ีได้ใช้ ในกำรกระทำควำมผิด หรือได้ใชเ้ ปน็ อุปกรณ์กระทำควำมผดิ เสียก็ได้ นำ้ บำดำล หมำยถึง น้ำใต้ดินท่ีเกิดอยู่ในชั้นดิน กรวด ทรำย หรือหิน ซึ่งอยู่ลึกจำกผิวดินลงไป เกินกว่ำ ๑๕ เมตร ซงึ่ จงั หวัดชยั นำทมีบ่อน้ำบำดำลจำนวนมำก ดงั น้ี 1) บ่อน้ำบำดำล (บ่อรำชกำร) จำนวน ๑ ,796 บ่อ ที่ใช้กำรได้จริง 1,38 0 บ่อ (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 30 กนั ยำยน ๒๕๖5) 2) บ่อน้ำบำดำลที่ดำเนินกำรเจำะโดยเอกชน และได้รับอนุญำตตำมระเบียบกรมทรัพยำกร นำ้ บำดำล จำนวน 668 บ่อ (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยำยน ๒๕๖5) 3) ปริมำณน้ำบำดำลท่ีสำมำรถสูบขึ้นมำใช้ได้ ในพ้ืนท่ีจังหวัดชัยนำท 1,543,168.52 ลำ้ น ลบ.ม./ปี รายงานประจาปี 2565 045 สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจังหวัดชยั นำท

เอกสารเพอ่ื ขอรบั ใบอนุญาตเจาะและใช้นา้ บาดาล 1. คำขอรับใบอนญุ ำตเจำะน้ำบำดำลหรือใชน้ ้ำบำดำล (แนบ นบ.1) 2. บัตรประชำชนของผู้ขอ และสำเนำทะเบียนบ้ำนหรือสำเนำบัตรผู้รับมอบอำนำจ หรือผู้ให้ ควำมยินยอม 3. สำเนำหลักฐำนกำรมีกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครอง เช่น โฉนดท่ีดิน , น.ส.3 , น.ส.3 ก. ฯ หนังสอื ยินยอมใหใ้ ช้ที่ดนิ หนังสอื รับรองสิทธิท่จี ะเจำะน้ำบำดำลในท่ดี ินหรือลงชื่อรับรองว่ำเป็นผมู้ ีสทิ ธใิ นท่ีดิน น้นั 4. สำเนำหนงั สอื รับรองกำรจดทะเบยี นนิตบิ คุ คล 5. สำเนำใบอนุญำตประกอบกิจกำรโรงงำน หรือใบอนญุ ำตขยำยโรงงำน 6. แบบแปลนจัดสรร (กรณีเปน็ หมบู่ ้ำนจดั สรรหรือทด่ี นิ จัดสรร) 7. หนังสือมอบอำนำจปิดอำกรแสตมป์ 30 นำที (กรณีไม่ได้มำยื่นคำขอด้วยตนเอง ทั้งบคุ คล ธรรมดำและนิติบคุ คล) อัตราค่าธรรมเนยี มการประกอบกจิ การนา้ บาดาล 1. คำขอรับใบอนญุ ำตเจำะนำ้ บำดำลหรือใชน้ ้ำบำดำล ฉบบั ละ 10 บำท 2. ใบอนุญำตเจำะนำ้ บำดำล • บ่อนำ้ บำดำลแบบบ่อวงทที่ ่อกรุ ฉบบั ละ 100 บำท ทำด้วยซเี มนตอ์ ฐิ หิน หรอื วัสดุอน่ื • บ่อน้ำบำตำลที่มีนำดเสน้ ผำ่ ศูนยก์ ลำงฉบับละ 100 บำท ของทอ่ กรบุ ่อตอนบนสดุ นอ้ ย กว่ำ 100 มลิ ลิเมตร • บ่อน้ำบำดำลท่ีมีขนำดส้นผ่ำศูนย์กลำง ฉบับละ 500 บำท ของท่อกรุบ่อตอนบนสุด ตัง้ แต่ 100 มลิ ลเิ มตร แต่น้อยกวำ่ 200 มลิ ลเิ มตร • บ่อน้ำบำดำลที่มีขนำดเส้นผ่ำศูนยก์ ลำง ฉบับละ 1,000 บำท ของท่อกรุบ่อตอนบนสุด ต้ังแต่ 200 มลิ ลเิ มตร ขนึ้ ไป 3. ใบอนุญำตใชน้ ้ำบำดำล • บ่อน้ำบำดำลแบบบ่อวง ทีท่ อ่ กรุ ฉบับละ 100 บำท ทำดว้ ยซเี มนต์ อฐิ หนิ หรือวสั ดุอื่น • บอ่ น้ำบำลทม่ี ขี นำดเสน้ ผำ่ ศนู ย์กลำง ฉบับละ 100 บำท ของท่อกรุบอ่ ตอนบนสดุ น้อย กวำ่ 100 มิลลิเมตร • บ่อน้ำบำดำลที่มีนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำง ฉบับละ 500 บำท ของท่อกรุบ่อตอนบนสุด ตั้งแต่ 100 มิลลเิ มตร แต่น้อยกว่ำ 200 มลิ ลิเมตร • บอ่ น้ำบำดำลท่ีมขี นำดเสน้ ผ่ำศูนยก์ ลำง ฉบับละ 1,000 บำท ของท่อกรบุ ่อตอนบนสุด ตั้งแต่ 200 มลิ ลิเมตร ข้ึนไป 4. ใบอนุญำตระบำยน้ำลงบอ่ น้ำบำดำล ฉบบั ละ 2,000 บำท 5. ใบแทนใบอนุญำต ฉบบั ละกง่ึ หน่ึงของคำ่ ธรรมเนยี มใบอนญุ ำต 6. กำรตอ่ อำยใุ บอนญุ ำต ครั้งละเทำ่ กบั ค่ำธรรมเนียมในอนญุ ำตประเภทน้นั ๆ 7. กำรโอนใบอนญุ ำตครง้ั ละทำกบั ค่ำธรรมเนียม ใบอนญุ ำตประเภทนั้น ๆ 8. คำ่ วเิ ครำะห์ตัวอย่ำงน้ำ ตัวอย่ำงละ 1,200 บำท 9. คำ่ คดั สำเนำหรือถำ่ ยเอกสำร หน้ำละ 5 บำท 10. ค่ำรบั รองสำเนำ ฉบับละ 10 บำท 46 รายงานประจาปี 2565 สำนกั งำนทรัพยำกรธรรมชำติและสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดชยั นำท

แผนท่นี า้ บาดาลจงั หวัดชยั นาท (แหล่งขอ้ มูล : สำนักทรัพยำกรนำ้ บำดำล เขต 2 (สพุ รรณบรุ ี) กรมทรพั ยำกรน้ำบำดำล ขอ้ มลู ณ วันท่ี 18 พฤษภำคม 2564) (แหล่งข้อมูล : กรมทรัพยำกรนำ้ บำดำล) รายงานประจาปี 2565 047 สำนักงำนทรพั ยำกรธรรมชำติและสงิ่ แวดล้อมจงั หวัดชัยนำท


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook