Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore book_biomarker

book_biomarker

Published by Guset User, 2023-06-19 08:36:13

Description: book_biomarker

Search

Read the Text Version

การตรวจตวั บ่งชท้ี างชวี ภาพของสารเคมีในอตุ สาหกรรม Biomarker Testing of Industrial Chemicals พ.ศ. 2562 2019 Version มูลนิธสิ มั มาอาชวี ะ Summacheeva Foundation จดั พมิ พ์และเผยแพร่โดยมูลนธิ ิสัมมาอาชวี ะ 800/3 ถนนสขุ มุ วิท ตาํ บลแสนสขุ อาํ เภอเมืองชลบรุ ี จงั หวดั ชลบุรี 20130 เลขมาตรฐานสากลประจาํ หนงั สอื (ISBN) 978-616-91183-4-3 ขอ้ มลู บรรณานุกรม มูลนิธสิ ัมมาอาชีวะ. การตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของสารเคมใี นอตุ สาหกรรม. พมิ พค์ รั้งที่ 2. ชลบรุ :ี มูลนิธิสมั มาอาชีวะ; 2562. จาํ นวน 118 หนา้ หมวดหมหู่ นงั สอื 616.98 วันทีเ่ ผยแพร่ 5 มกราคม พ.ศ. 2562 จดั พิมพ์ขึน้ สําหรับแจกฟรีใหแ้ กผ่ ู้ทส่ี นใจ เผยแพรภ่ ายใต้สัญญาอนญุ าตครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงทมี่ า 3.0 ประเทศไทย (CC: BY 3.0 TH) อนุญาตให้นําไปใชอ้ ้างอิง ทําซํ้า ดัดแปลง และเผยแพรต่ ่อได้ โดยต้องแสดงที่มา

พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1 พ.ศ. 2561 พมิ พ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2562

คํานํา การตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพ (Biological marker หรือ Biomarker) เป็นการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ทีผ่ ูป้ ระกอบวิชาชพี ทางด้านอาชวี อนามยั นํามาใชใ้ นการประเมนิ การสมั ผสั (Exposure) ส่ิงคุกคามกลมุ่ สารเคมี ท่ีอาจก่ออันตรายต่อสุขภาพของคนทํางานในอุตสาหกรรมต่างๆ การตรวจนี้ทําได้โดยการส่งส่ิงส่งตรวจซ่ึงเป็น ตวั อยา่ งทางชีวภาพของคนทาํ งาน เชน่ เลอื ด ปัสสาวะ ไปทําการตรวจวิเคราะห์ท่ีห้องปฏิบัติการ เพ่ือหาระดับ ของตัวบ่งชี้ทางชีวภาพที่สนใจ ข้อมูลที่ได้จากการตรวจจะช่วยผู้ประกอบวิชาชีพด้านอาชีวอนามัยในการ ประเมินการสัมผัสสารเคมีของคนทํางานน้ัน หากมีแนวโน้มระดับของการสัมผัสท่ีสูง จะนําไปสู่การดําเนินการ เพื่อลดการสมั ผัส และปอ้ งกันการเกดิ โรคพษิ จากสารเคมีตอ่ ไป ในทางปฏบิ ัติของการตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพนี้ ผู้ประกอบวิชาชีพทางด้านอาชีวอนามัยจะต้องใช้การ พิจารณาอย่างถ่ีถ้วนก่อนส่ังการตรวจทุกคร้ัง เน่ืองจากเป็นการตรวจที่มีราคาสูง บางกรณีอาจทําให้คนทํางาน ต้องเจ็บตัวเพิ่ม (เช่น ถูกเจาะเลือด) อีกทั้งการตรวจนี้ ยังมีโอกาสเกิดผลบวกลวงและผลลบลวงได้จากปัจจัย ต่างๆ มากมาย ทงั้ ในขั้นตอนการเตรียมตัวของคนทํางานผู้เข้ารับการตรวจ การเก็บและการขนส่งตัวอย่างทาง ชีวภาพ ข้ันตอนการตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ และวิธีการนําผลที่ได้มาแปลผล นอกจากน้ี การตรวจตัว บง่ ชท้ี างชีวภาพนั้นไมส่ ามารถใชป้ ระเมนิ การสมั ผัสสารเคมีในอุตสาหกรรมได้ทุกชนิด โดยในความเป็นจริงแล้ว มสี ารเคมเี พยี งส่วนน้อยเท่านั้นทีส่ ามารถประเมนิ การสัมผสั ดว้ ยการตรวจตัวบ่งช้ีทางชวี ภาพได้ ในประเทศไทย ยังมีความเข้าใจผิดและการปฏิบัติท่ีไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพอยู่ ไม่น้อย ทั้งการส่ังตรวจที่มากเกินจําเป็น การสั่งตรวจผิดชนิด การส่ังตรวจในสารเคมีที่ไม่สามารถประเมินการ สัมผัสด้วยการตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพได้ การแนะนําการเตรียมตัวให้กับคนทํางานผู้เข้ารับการตรวจอย่างไม่ เหมาะสม รวมถึงความเข้าใจในการแปลผลท่คี ลาดเคลอื่ น ปจั จยั เหล่านี้ทําให้ผลการตรวจที่ได้ออกมาผิดพลาด เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่าย เกิดความวิตกกังวลต่อคนทํางานผู้เข้ารับการตรวจ และนําไปสู่การดําเนินการทางด้าน อาชวี อนามยั เพือ่ ป้องกันโรคพษิ จากสารเคมีที่มากหรือนอ้ ยกวา่ ความจําเป็น จากปัญหาหลายประการที่พบในทางปฏิบัติของการตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ มูลนิธิสัมมาอาชีวะได้ เล็งเห็นถึงความสําคัญในการให้ความรู้ความเข้าใจแก่สังคมในเรื่องนี้ จึงได้จัดทําหนังสือ “การตรวจตัวบ่งช้ีทาง ชีวภาพของสารเคมีในอุตสาหกรรม” เล่มน้ีข้ึน มุ่งหวังเพ่ือให้เป็นแนวทางอ้างอิงในการตรวจและแปลผลตัว บ่งชี้ทางชีวภาพในงานอาชีวอนามัยของประเทศไทยอย่างมีคุณภาพ หนังสือเล่มน้ีจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดย ส่วนที่ 1 เป็นเน้ือหาเกี่ยวกับค่าอ้างอิง Thai Exposure Limits (TEL) และ Thai Biological Markers (TBM) ท่ีจัดทาํ โดยมูลนิธิสัมมาอาชีวะ ส่วนในส่วนที่ 2 เป็นบทความชุด “Biomarker น่ารู้” ซ่ึงเขียนเป็นตอนๆ โดย นพ.วิวัฒน์ เอกบูรณะวัฒน์ เนือ้ หาเกีย่ วกบั ความรใู้ นการตรวจตัวบง่ ชีท้ างชีวภาพ มูลนธิ สิ มั มาอาชีวะ 5 มกราคม พ.ศ. 2562 ก

หน้าวา่ ง ข

สารบัญ 1 สว่ นท่ี 1 ค่าอ้างองิ TEL & TBM 3 4 คาํ ช้แี จง 5 รายนามคณะทาํ งาน 8 Thai Exposure Limits (TEL) 15 Thai Biological Markers (TBM) 19 สารเคมีท่ียงั ไมม่ ีคําแนะนําใหท้ ําการตรวจตัวบ่งชที้ างชีวภาพ 30 ห้องปฏิบตั กิ ารตรวจตวั บ่งชีท้ างชวี ภาพในประเทศไทย แนวทางการเตรยี มตวั อยา่ งทางชวี ภาพ 37 ส่วนที่ 2 บทความชดุ Biomarker น่ารู้ 39 48 ตอน สารหนู 53 ตอน ตรวจการสมั ผสั ฟอรม์ าลดีไฮด์ดว้ ยกรดฟอรม์ ิกได้หรือไม?่ 61 ตอน สารกันบดู ปจั จัยรบกวนท่ีสําคัญในการตรวจตัวบง่ ช้ีทางชีวภาพ 68 ตอน ตรวจการสัมผสั โลหะในเลือดหรอื ในปสั สาวะดี? 72 ตอน ไซโคลเฮกเซน 77 ตอน เมทิลเอทิลคโี ตน 85 ตอน การปนเป้ือนจากหลอดเกบ็ เลือด 95 ตอน เวลาเกบ็ ตวั อยา่ ง 99 ตอน สญั ลกั ษณพ์ เิ ศษ 104 ตอน ไซลีน ตอน หลกั การตรวจตัวบ่งชท้ี างชวี ภาพ ค

หากทา่ นมีขอ้ สงสัยหรือข้อเสนอแนะเกย่ี วกบั เน้ือหาในหนังสอื “การตรวจตวั บง่ ชี้ทางชีวภาพของสารเคมีในอตุ สาหกรรม” ฉบบั น้ี สามารถติดตอ่ สอบถามหรือใหข้ อ้ เสนอแนะมาได้ที่ นพ.ววิ ัฒน์ เอกบรู ณะวฒั น์ ทางอเี มล์ [email protected]

ส่วนท่ี 1 1

หน้าวา่ ง 2

คําชีแ้ จง วันที่เผยแพร่ 15 มกราคม 2559 ||||| ปรับปรงุ คร้ังลา่ สดุ 2 มีนาคม 2560 1. ค่าอ้างอิง Thai Exposure Limits (TEL) และ Thai Biological Markers (TBM) น้ี เป็นค่าอ้างอิงระดับ สารเคมีในอากาศและตัวบ่งช้ีทางชีวภาพสําหรับคนทํางานในประเทศไทย จัดทําโดยคณะทํางานของ มูลนิธิสัมมาอาชีวะ และเผยแพร่โดยมูลนิธิสัมมาอาชีวะมาตั้งแต่วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2559 โดยค่า อ้างองิ TEL เป็นคา่ อา้ งอิงระดบั สารเคมีอนั ตรายในอากาศภายในสถานท่ที ํางาน สว่ นค่าอ้างอิง TBM เป็น คา่ อา้ งองิ ระดบั ตัวบง่ ชี้ทางชวี ภาพทต่ี รวจไดจ้ ากตวั อย่างทางชีวภาพของคนทาํ งาน 2. วัตถปุ ระสงคใ์ นการจดั ทาํ คา่ อ้างองิ ชุดน้ี มุ่งหวงั เพ่อื ให้ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางด้านอาชีวอนามัย เช่น แพทย์ อาชีวเวชศาสตร์ พยาบาลอาชวี อนามยั นักอาชีวอนามัย นักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม และนักพิษวิทยา ได้ใช้ เป็นค่าอา้ งองิ ในการค้มุ ครองสุขภาพของคนทํางานในประเทศไทย เพื่อลดความเส่ียงต่อสุขภาพที่เกิดจาก การทํางานกับสารเคมีอันตราย 3. มูลนธิ ิสัมมาอาชีวะเปน็ องค์กรไม่แสวงผลกาํ ไร การนําคา่ อา้ งองิ ทางวชิ าการชุดน้ีไปใช้สามารถทําได้โดยไม่ เสียค่าใช้จ่ายในทุกกรณี และไม่จําเป็นต้องแจ้งแก่มูลนิธิสัมมาอาชีวะก่อนนําไปใช้ อย่างไรก็ตามจะต้อง ทําการอ้างอิงถึงแหล่งท่ีมาคือมูลนิธิสัมมาอาชีวะด้วย และจะต้องไม่มีการบิดเบือนเนื้อหาไปจากต้นฉบับ สําหรับการนําเอกสารค่าอ้างอิงชุดน้ีไปทําซ้ําหรือเผยแพร่ต่อ สามารถทําได้โดยจะต้องมีการอ้างอิง แหล่งทม่ี า และไม่มกี ารบดิ เบอื นเนื้อหาไปจากต้นฉบบั เดิม 4. ค่าอ้างอิงชุดน้ีควรใช้กับคนทํางานท่ีทํางานอยู่ในประเทศไทยเท่าน้ัน และห้ามนําไปใช้อ้างอิงในการ คมุ้ ครองความปลอดภยั ของประชาชนท่วั ไปทีส่ มั ผสั สารเคมใี นมลพิษสง่ิ แวดล้อมโดยเดด็ ขาด 5. ค่าอ้างอิงชุดน้ีเป็นค่าอ้างอิงทางวิชาการ ซ่ึงมูลนิธิสัมมาอาชีวะเสนอแนะให้แก่สังคม ไม่มีความเกี่ยวข้อง กับข้อบังคับหรือกฎหมายด้านการคุ้มครองแรงงานแต่อย่างใด ผู้ประกอบวิชาชีพทางด้านอาชีวอนามัยใน ประเทศไทยสามารถพจิ ารณานาํ ค่าอ้างองิ ชดุ นีไ้ ปใช้หรอื ไม่ใชก้ ็ได้ โดยไม่เป็นการบงั คบั 6. ความรับผิดชอบในการคุ้มครองสุขภาพของคนทํางานในประเทศไทยนั้น เป็นหน้าที่ร่วมกันของนายจ้าง ตัว คนทํางานผู้น้ันเอง และผู้ประกอบวิชาชีพทางด้านอาชีวอนามัยท่ีทําหน้าที่ดูแลคนทํางานผู้นั้น ค่าอ้างอิง TEL และ TBM นี้ เป็นแต่เพียงแหล่งข้อมูลที่จะช่วยสนับสนุนให้ผู้ประกอบวิชาชีพทางด้านอาชีวอนามัย สามารถนําไปใช้ในการคุ้มครองสุขภาพคนทํางานท่ีตนเองดูแลได้โดยสะดวกขึ้นเท่านั้น มูลนิธิสัมมาอาชีวะ คณะทํางานจัดทําทุกท่าน รวมถึงองค์กรทุกแห่งท่ีคณะทํางานสังกัดอยู่ จะไม่รับผิดชอบต่อผลเสียใดๆ ก็ ตามทเี่ กดิ ขน้ึ กับคนทํางาน จากการใชค้ ่าอา้ งองิ TEL และ TBM หรอื เนอ้ื หาส่วนหนึ่งส่วนใดในเอกสารชุด นี้ ประกอบการดแู ลคุ้มครองสุขภาพของคนทํางาน 3

รายนามคณะทํางาน วันทีเ่ ผยแพร่ 15 มกราคม 2559 ||||| ปรบั ปรุงคร้ังลา่ สดุ 2 พฤศจิกายน 2560  นางจรี นนั ท์ จะเกรง็ พยาบาลอาชีวอนามยั รพ.สมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ จ.สมุทรสงคราม  ผศ.ฌาน ปัทมะ พลยง อาจารย์ประจาํ สาขาวชิ าอาชีวอนามัยและความปลอดภยั คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.ราชภฏั บ้านสมเด็จเจ้าพระยา  น.ส.ณริ ัตนช์ นนั เช้ือเมอื งพาน นักสุขศาสตรอ์ ุตสาหกรรม ศูนย์คณุ ภาพ รพ.กรุงเทพระยอง  พญ.ดาริกา วอทอง แพทยอ์ าชวี เวชศาสตร์ ศูนย์ส่งเสรมิ สขุ ภาพและอาชีวเวชศาสตร์ รพ.กรุงเทพระยอง  นพ.ธนพงศ์ แสงส่องสิน แพทยอ์ าชีวเวชศาสตร์ รพ.พหลพลพยหุ เสนา จ.กาญจนบุรี  พญ.นวพรรณ ผลบญุ แพทย์อาชวี เวชศาสตร์ ศนู ย์อาชีวเวชศาสตร์ รพ.สมิตเิ วช ศรรี าชา  น.ส.ปิยะมาศ สังข์สัจธรรม พยาบาลอาชวี อนามัย ศูนยส์ ่งเสรมิ สุขภาพและอาชวี เวชศาสตร์ รพ.กรงุ เทพระยอง  อ.พจิ ิตรา ปฏพิ ตั ร อาจารยป์ ระจาํ ภาควิชาสุขศาสตร์อตุ สาหกรรมและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.บรู พา  ดร.วชิ ยุตม์ ทัพวงษ์ นกั พษิ วทิ ยาสงิ่ แวดล้อม ผู้อาํ นวยการธรุ กจิ หอ้ งปฏิบตั กิ าร รพ.บาํ รงุ ราษฎร์  นพ.ววิ ัฒน์ เอกบรู ณะวัฒน์ แพทยอ์ าชวี เวชศาสตร์ ศนู ย์วชิ าการอาชีวเวชศาสตร์ รพ.กรุงเทพระยอง  อ.สรรพชั ญ์ ศิริสวสั ดิ์ อาจารย์ประจําสาขาวิชาอาชีวอนามยั และความปลอดภัย คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์  นพ.สัจจพล พงษ์ภมร แพทย์อาชีวเวชศาสตร์ กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม รพ.พระนครศรีอยธุ ยา 4

Thai Exposure Limits (TEL) วนั ทีเ่ ผยแพร่ 15 มกราคม 2559 ||||| ปรบั ปรงุ คร้งั ลา่ สุด 26 พฤศจิกายน 2561 ช่อื สารเคมี (CAS number) เฉลีย่ 8 ช่ัวโมง คา่ สงู สุดทย่ี อมรบั ได้ เพดาน หมายเหตุ อา้ งองิ 250 ppm ระยะสัน้ 15 นาที - Acetone (67-64-1) 25 ppm - มตี วั บ่งชี้ทางชีวภาพ (TBM) [1] Ammonia (7664-41-7) 4 mg/m3 500 ppm - [1] Aluminium (7429-90-5) 0.01 mg/m3 35 ppm - - [2] Arsenic (7440-38-2) [1] - - มีตวั บง่ ชท้ี างชวี ภาพ (TBM) [elemental and inorganic compounds] - [1] กอ่ มะเร็ง Benzene (71-43-2) 0.5 ppm 2.5 ppm มีตวั บง่ ชีท้ างชวี ภาพ (TBM) [1] 1,3-Butadiene (106-99-0) 2 ppm - - กอ่ มะเรง็ [1] ดูดซึมทางผิวหนงั ได้ดี Cadmium (7440-43-9) 0.01 mg/m3 - - มีตัวบ่งช้ีทางชวี ภาพ (TBM) [1] [elemental] 1 ppm - - ก่อมะเร็ง [1] มตี ัวบง่ ชท้ี างชวี ภาพ (TBM) [1] Carbon disulfide (75-15-0) 25 ppm - - [1] 0.5 ppm 1 ppm - กอ่ มะเร็ง Carbon monoxide (630-08-0) 0.05 mg/m3 - มตี วั บง่ ชที้ างชีวภาพ (TBM) Chlorine (7782-50-5) - Chromium (VI) compounds 0.02 mg/m3 - ดดู ซมึ ทางผิวหนงั ได้ดี (7440-47-3) - มีตัวบง่ ชี้ทางชวี ภาพ (TBM) 50 ppm - [water-soluble chromium (VI) compounds] - มตี วั บ่งชีท้ างชวี ภาพ (TBM) 20 ppm - Cobalt (7440-48-4) 50 ppm - 20 ppm - [elemental and inorganic compounds] 1 ppm - - กอ่ มะเรง็ 1 ppm - - มตี วั บ่งชี้ทางชวี ภาพ (TBM) Cyclohexanol (108-93-0) 2 ppm 0.05 ppm - - - มีตวั บง่ ช้ที างชีวภาพ (TBM) [1] Cyclohexanone (108-94-1) 50 ppm - 2 ppm ดดู ซึมทางผิวหนงั ได้ดี [1] Ethyl benzene (100-41-4) 0.5 ppm - มีตวั บ่งชท้ี างชีวภาพ (TBM) Ethylene oxide (75-21-8) - [1] Fluorine (7782-41-4) 200 ppm 400 ppm ดูดซมึ ทางผิวหนงั ได้ดี Glutaraldehyde (111-30-8) มีตวั บง่ ช้ที างชวี ภาพ (TBM) [1] n-Hexane (110-54-3) มตี ัวบง่ ชที้ างชวี ภาพ (TBM) [1] [1] Hydrogen fluoride (7664-39-3) กอ่ มะเรง็ [1] มตี ัวบง่ ช้ที างชีวภาพ (TBM) [1] [other name: hydrofluoric acid] กอ่ ภาวะภูมิแพ้ [1] Isopropyl alcohol (67-63-0) ดดู ซึมทางผวิ หนงั ได้ดี [1] [other name: 2-propanol] มตี ัวบ่งชี้ทางชวี ภาพ (TBM) ดดู ซมึ ทางผิวหนังได้ดี มตี วั บง่ ชท้ี างชวี ภาพ (TBM) มีตวั บง่ ชที้ างชีวภาพ (TBM) 5

Thai Exposure Limits (TEL) (ต่อหน้า 2/3) ชอ่ื สารเคมี (CAS number) เฉลี่ย 8 ช่วั โมง คา่ สูงสุดทีย่ อมรบั ได้ เพดาน หมายเหตุ อ้างองิ 0.05 mg/m3 ระยะสัน้ 15 นาที - Lead (7439-92-1) มตี วั บง่ ชี้ทางชวี ภาพ (TBM) [1] - - [elemental and inorganic compounds] - 0.2 mg/m3 - มตี ัวบง่ ช้ีทางชีวภาพ (TBM) [2] Manganese (7439-96-5) 0.025 mg/m3 - - [1] Mercury (7439-97-6) ดูดซึมทางผิวหนงั ได้ดี 200 ppm 250 ppm - มตี วั บ่งชี้ทางชวี ภาพ (TBM) [1] [elemental and inorganic compounds] 5 ppm 10 ppm - ดูดซมึ ทางผวิ หนงั ได้ดี [1] Methanol (67-56-1) - มตี วั บ่งชท้ี างชีวภาพ (TBM) 350 ppm 450 ppm - [1] Methyl n-butyl ketone (591-78-6) 200 ppm 300 ppm - ดดู ซึมทางผิวหนังได้ดี [1] 20 ppm 75 ppm มีตวั บง่ ชี้ทางชีวภาพ (TBM) [1] Methyl chloroform (71-55-6) 50 ppm - [1] Methyl ethyl ketone (78-93-3) - มีตัวบง่ ชี้ทางชีวภาพ (TBM) Methyl isobutyl ketone (108-10-1) 0.3 mg/m3 - มตี ัวบ่งชี้ทางชีวภาพ (TBM) Methylene chloride (75-09-2) - - มีตวั บง่ ชีท้ างชีวภาพ (TBM) [other name: dichloromethane] มีตวั บง่ ชท้ี างชีวภาพ (TBM) - Nickel (7440-02-0) 1 ppm - - ก่อมะเร็ง [2] มตี วั บง่ ชท้ี างชีวภาพ (TBM) [insoluble inorganic compounds] 5 ppm - - [1] - ดดู ซมึ ทางผิวหนังได้ดี Nitrobenzene (98-95-3) 0.1 ppm - - มตี ัวบง่ ชีท้ างชีวภาพ (TBM) [1] 0.02 mg/m3 - - Phenol (108-95-2) ดูดซึมทางผิวหนงั ได้ดี [1] 2.5 mg/m3 - มีตัวบ่งชท้ี างชีวภาพ (TBM) [2] Phosgene (75-44-5) 20 ppm 40 ppm Selenium (7782-49-2) 20 ppm - [1] 10 ppm - [1] Sodium fluoride (7681-49-4) 25 ppm ดดู ซมึ ทางผิวหนังได้ดี [1] Styrene (100-42-5) มตี ัวบง่ ชีท้ างชวี ภาพ (TBM) [1] Toluene (108-88-3) Trichloroethylene (79-01-6) มีตัวบ่งชี้ทางชวี ภาพ (TBM) [1] [1] Vinyl chloride (75-01-4) 1 ppm - - มตี วั บ่งช้ที างชีวภาพ (TBM) 100 ppm 150 ppm - Xylene (1330-20-7) มตี วั บง่ ช้ีทางชวี ภาพ (TBM) [all isomer: o-, m-, p-] ก่อมะเรง็ กอ่ ภาวะภูมิแพ้ มีตวั บง่ ชี้ทางชวี ภาพ (TBM) กอ่ มะเรง็ มตี วั บ่งชท้ี างชีวภาพ (TBM) อธบิ ายคาํ ยอ่ CAS number = Chemical abstracts service number, ppm = part per million (สว่ นในลา้ นส่วน), มตี ัวบง่ ชี้ทางชวี ภาพ (TBM) = สารเคมีชนิดนี้มีตัวบ่งช้ีทางชีวภาพ Thai Biological Markers กําหนดไว้ สามารถทําการตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพได้, ดูดซึมทางผิวหนังได้ดี = สารเคมีชนิดน้ีสามารถดูดซึมเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังได้ดี, ก่อมะเร็ง = สารเคมีชนิดนี้เป็นสารก่อมะเร็ง, ก่อภาวะภูมิแพ้ = สารเคมีชนิดน้ีสามารถ ก่อภาวะภูมิแพ้ได้ 6

Thai Exposure Limits (TEL) (ตอ่ หน้า 3/3) เอกสารอา้ งองิ 1. American Conference of Governmental Industrial Hygienists (ACGIH). TLVs and BEIs. Cincinnati: ACGIH; 2016. 2. Deutsche Forschungsgemeinschaft (DFG). List of MAK and BAT values 2016 (Report 52 of the Permanent Senate Commission for the Investigation of Health Hazards of Chemical Compounds in the Work Area). Weinheim: Wiley-VCH; 2016. 7

Thai Biological Markers (TBM) วนั ทีเ่ ผยแพร่ 15 มกราคม 2559 ||||| ปรบั ปรุงครง้ั ลา่ สุด 26 พฤศจกิ ายน 2561 ชื่อสารเคมี ชนดิ ของ เวลาเก็บตัวอย่าง คา่ สงู สุดทยี่ อมรับได้ หมายเหตุ อ้างองิ  ช่ือตวั บง่ ชีท้ างชีวภาพ ตัวอยา่ ง 25 mg/L [1] Acetone ในปัสสาวะ หลงั เลกิ กะ ไมจ่ าํ เพาะ  Acetone พบในคนทว่ั ไป [1] ในเลอื ด ดรู ายละเอียด Acetylcholinesterase inhibiting ในตารางพิเศษที่ 1 ดรู ายละเอียด ดูรายละเอียด [2] pesticides ในปสั สาวะ ในตารางพเิ ศษที่ 1 ในตารางพเิ ศษท่ี 1 [1]  Cholinesterase activity in เวลาใดกไ็ ด้ ในปสั สาวะ 60 μg/g creatinine พบในคนทั่วไป red blood cells หลงั เลิกกะสุดท้ายของสัปดาห์ Aluminium ในปสั สาวะ 35 μg As/L พบในคนท่ัวไป  Aluminium ในปสั สาวะ หลงั เลิกกะ Arsenic, elemental and soluble ในปัสสาวะ หลงั เลิกกะ 25 μg/g creatinine พบในคนทัว่ ไป [1] inorganic compounds หลังเลิกกะ 500 μg/g creatinine พบในคนทัว่ ไป [1] ในเลือด [1]  Inorganic arsenic plus methylated ในปสั สาวะ เวลาใดก็ได้ 2.5 mg/L พบในคนทั่วไป [1] metabolites in urine ในปสั สาวะ เวลาใดก็ได้ ข้อมลู ยงั มีจาํ กัด [1] หลังเลกิ กะ [1] Benzene ในเลอื ด 5 μg/L พบในคนท่ัวไป [1]  S-phenylmercapturic acid หลังเลกิ กะ 5 μg/g creatinine พบในคนท่ัวไป  t,t-Muconic acid ในปัสสาวะ 1,3-Butadiene ในปัสสาวะ เพ่ิมข้ึนระหว่างกะ 0.5 mg/g creatinine ไมจ่ าํ เพาะ  1,2 Dihydroxy-4-(N-Acetyl ในปสั สาวะ หลงั เลิกกะสุดท้ายของสปั ดาห์ พบในคนทัว่ ไป หลงั เลกิ กะสุดท้ายของสปั ดาห์ cysteinyl)-butane 3.5 % ของปริมาณ Hb ไมจ่ าํ เพาะ Cadmium พบในคนทว่ั ไป  Cadmium  Cadmium 10 μg/L - Carbon disulfide 25 μg/L -  2-Thioxothiazolidine-4- 15 μg/L ไมจ่ าํ เพาะ carboxylic acid (TTCA) Carbon monoxide  Carboxyhemoglobin Chromium (VI)  Total chromium  Total chromium Cobalt  Cobalt 8

Thai Biological Marker (TBM) (ตอ่ หนา้ 2/7) ช่อื สารเคมี ชนดิ ของ เวลาเก็บตวั อยา่ ง คา่ สงู สุดท่ยี อมรบั ได้ หมายเหตุ อา้ งองิ  ชื่อตวั บง่ ชีท้ างชีวภาพ ตวั อย่าง หลังเลกิ กะ 20 mg/L [3] Cyclohexanol ในปสั สาวะ หลังเลกิ กะ 8 mg/L ไมจ่ ําเพาะ  Cyclohexanol หลังเลกิ กะ ขอ้ มลู ยังมีจาํ กัด [1] ในปัสสาวะ 0.15 g/g creatinine Cyclohexanone ไมจ่ าํ เพาะ [1]  Cyclohexanol ในปัสสาวะ ขอ้ มลู ยังมจี าํ กดั Ethyl benzene ไมจ่ ําเพาะ  Mandelic acid plus phenylglyoxylic acid ในปัสสาวะ กอ่ นเข้ากะ 2 mg/L ไม่จาํ เพาะ [1] Fluoride ในปสั สาวะ หลังเลิกกะ 3 mg/L พบในคนทั่วไป  Fluoride [1] ในปสั สาวะ หลังเลิกกะสดุ ท้ายของสปั ดาห์ 0.4 mg/L ไมจ่ าํ เพาะ [1]  Fluoride ในปัสสาวะ หลงั เลกิ กะสดุ ท้ายของสปั ดาห์ พบในคนทว่ั ไป n-Hexane ไม่จําเพาะ  2,5-Hexanedione Isopropyl alcohol ในเลอื ด เวลาใดก็ได้ 40 mg/L ไม่จาํ เพาะ [1] พบในคนทวั่ ไป [2] [Other name: 2-Propanol] ในเลือด หลังเลกิ กะสุดท้ายของสัปดาห์ 30 μg/100 ml [1] 15 μg/L ไม่ใช้ในหญงิ มคี รรภ์ [1]  Acetone ในปัสสาวะ กอ่ นเข้ากะ 20 μg/g creatinine ขอ้ มูลยงั มจี ํากดั [1] Lead ในปัสสาวะ หลังเลิกกะ 15 mg/L  Lead - [1] Manganese ในเลอื ด ดูรายละเอียด ดูรายละเอียด  Manganese ในตารางพเิ ศษท่ี 2 ในตารางพเิ ศษท่ี 2 ไมจ่ ําเพาะ Mercury, elemental พบในคนทั่วไป  Mercury ในปัสสาวะ หลงั เลกิ กะสดุ ท้ายของสปั ดาห์ 0.4 mg/L Methanol ดรู ายละเอยี ด  Methanol ในตารางพเิ ศษที่ 2 Methemoglobin inducers ไม่จําเพาะ  Methemoglobin Methyl n-butyl ketone  2,5-Hexanedione 9

Thai Biological Marker (TBM) (ต่อหน้า 3/7) ชอื่ สารเคมี ชนดิ ของ เวลาเกบ็ ตวั อยา่ ง ค่าสงู สุดท่ยี อมรบั ได้ หมายเหตุ อา้ งอิง  ช่อื ตัวบง่ ช้ที างชวี ภาพ ตวั อยา่ ง [1] Methyl chloroform ในปัสสาวะ หลงั เลิกกะสดุ ท้ายของสปั ดาห์ 10 mg/L ไมจ่ ําเพาะ [Other name: 1,1,1-Trichloroethane] ในปสั สาวะ หลงั เลกิ กะสดุ ท้ายของสัปดาห์ 30 mg/L ข้อมูลยงั มีจํากดั  Trichloroacetic acid ในปัสสาวะ หลงั เลกิ กะ 2 mg/L ไม่จาํ เพาะ [1] ในปัสสาวะ หลังเลิกกะ 1 mg/L ขอ้ มูลยังมจี ํากัด [1]  Trichloroethanol [1] ไมจ่ าํ เพาะ Methyl ethyl ketone  Methyl ethyl ketone - Methyl isobutyl ketone  Methyl isobutyl ketone ในปสั สาวะ หลังเลิกกะ 0.3 mg/L ขอ้ มลู ยังมีจํากัด Methylene chloride ในปสั สาวะ หลงั เลกิ กะสดุ ท้ายของสัปดาห์ 30 μg/L ข้อมูลยังมีจํากดั [2] [Other name: Dichloromethane] [1] ในปัสสาวะ หลังเลกิ กะ 250 mg/g creatinine ไมจ่ าํ เพาะ  Methylene chloride พบในคนท่ัวไป [2] Nickel [1]  Nickel ในเลือด เวลาใดกไ็ ด้ 150 μg/L - Phenol  Phenol ในปัสสาวะ หลงั เลิกกะ 400 mg/g creatinine ไม่จําเพาะ Selenium ในปสั สาวะ หลงั เลกิ กะ 0.03 mg/L - [1]  Selenium ในปสั สาวะ หลังเลกิ กะ 0.3 mg/g creatinine พบในคนทวั่ ไป Styrene [1]  Mandelic acid plus ในปัสสาวะ หลงั เลิกกะสุดท้ายของสัปดาห์ 15 mg/L ไม่จําเพาะ [1] phenylglyoxylic acid ในปัสสาวะ หลงั เลิกกะ 1.5 g/g creatinine - Toluene  Toluene  o-Cresol Trichloroethylene  Trichloroacetic acid Xylene  Methylhippuric acid อธบิ ายคํายอ่ ไม่จําเพาะ = ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพชนิดนี้ไม่จําเพาะกับการสัมผัสสารเคมีชนิดที่ระบุไว้เพียงชนิดเดียว สามารถตรวจพบได้ในคนทํางานที่สัมผัส สารเคมชี นดิ อืน่ ดว้ ย, พบในคนท่ัวไป = ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพชนิดนี้สามารถตรวจพบได้ในคนท่ัวไป ที่ไม่ได้ทํางานสัมผัสสารเคมีชนิดที่ระบุไว้, ข้อมูล ยังมีจํากัด = ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพชนิดนี้ ทําการแนะนําค่าอ้างอิงขึ้นโดยยังมีข้อมูลจากการศึกษาวิจัยที่จํากัด ควรทําการแปลผลด้วยความ ระมดั ระวงั , Hb = Hemoglobin, ไม่ใชใ้ นหญิงมีครรภ์ = ไมแ่ นะนําให้ใช้คา่ ท่รี ะบุไวใ้ นการค้มุ ครองสขุ ภาพของหญิงมีครรภ์ 10

Thai Biological Marker (TBM) (ต่อหน้า 4/7) ตารางพิเศษที่ 1 Acetylcholinesterase inhibiting pesticides รายละเอียดในการตรวจตวั บ่งช้ีทางชวี ภาพของ Acetylcholinaseterase inhibiting pesticides Acetylcholinaseterase inhibiting pesticides Acetylcholinaseterase inhibiting pesticides คือสารกําจดั ศตั รพู ชื ทม่ี คี วามสามารถในการยับยง้ั การทํางานของเอนไซม์ acetylcholinaseterase (AChE) ซ่ึงเป็นเอนไซม์ทที่ าํ หนา้ ท่เี ร่งการสลายของสาร acetylcholine ซ่ึงเปน็ สารสือ่ ประสาทสาํ คญั ในรา่ งกาย การยับยง้ั การทาํ งานของเอนไซมช์ นดิ น้ี จะทําให้เกิดภาวะ acetylcholine คงั่ เกิดอาการ ผดิ ปกติของระบบประสาท เชน่ กลา้ มเนอ้ื เป็นอมั พาต ชัก หลอดลมตีบ และหากรนุ แรงทาํ ใหต้ ายได้ สารกาํ จัดศตั รูพืชที่สามารถยบั ย้ังการทาํ งานของ AChE แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ใหญ่ ได้แก่ (1) สารกลมุ่ organophosphate ซึง่ จะยับยั้งการทํางานของเอนไซม์ AChE แบบไมก่ ลบั คืน (irreversible) และ (2) สารกลุ่ม carbamate ซ่ึงจะยับยง้ั การทํางานของ เอนไซม์ AChE แบบกลับคนื ได้ (reversible) กรณีทีใ่ ช้ตวั บง่ ชีท้ างชวี ภาพนปี้ ระเมินการสัมผัสได้ 1. การทํางานสมั ผัสสารกําจดั ศัตรพู ืชกลมุ่ organophosphate ซ่งึ ส่วนใหญถ่ ูกใช้เปน็ ยาฆ่าแมลง (insecticide) ทง้ั 6 กลุ่มยอ่ ย (phosphates, o-phosphorothioates, s- phosphorothioates, phosphorothioates, phosphonates, และ phosphoramidates) 2. การทาํ งานสมั ผัสสารกาํ จดั ศตั รูพืชกล่มุ carbamate ทีใ่ ชเ้ ป็นยาฆ่าแมลง (insecticide) และยาฆา่ หญ้า (herbicide) แตไ่ มร่ วมกลมุ่ ท่ีเป็นยาฆา่ เชือ้ รา (fungicide) สารกาํ จดั ศตั รูพชื กลุ่ม organophosphate และ carbamate ท่ีเข้าขา่ ยใน 2 กรณดี งั กลา่ วขา้ งตน้ นี้ มีสูตรและชอ่ื ทางการคา้ แตกต่างกันมากมายหลายพันชนดิ ตัวอยา่ งชอื่ สามัญ ของสารเคมกี ลมุ่ organophosphate และ carbamate ท่ีเขา้ ขา่ ยใน 2 กรณีดงั กลา่ วขา้ งต้น มีดงั นี้ [3]  Azinphos-methyl  Malathion  Carbofuran  Methomyl  Chlorpyriphos  Methyl demeton  Crufomate  Methyl parathion  Demeton  Mevinphos  Demeton-S-methyl  Monocrotophos  Diazinon  Naled  2-N-Dibutylaminoethanol  Parathion  Dibutyl phenyl phosphate  Phorate  Dichlorvos  Propoxurl  Dicrotophos  Ronnel  Dioxathion  Sulfotep  Disulfoton  Sulprofos  Ethion  Temephos  Ethyl p-nitrophenyl benzenethionophosphonate (EPN)  Terbufos  Fenamiphos  Tetraethyl pyrophosphate (TEPP)  Fensufothion  Tributyl phosphate  Fenthion  Trichlorphon  Fonofos  Triorthocresyl phosphate กรณที ่ีใชต้ วั บง่ ชที้ างชวี ภาพนป้ี ระเมนิ การสมั ผสั ไมไ่ ด้ 1. การทํางานสัมผสั สารกําจัดศัตรู กล่มุ carbamate ทใี่ ช้เปน็ ยาฆ่าเช้ือรา (fungicide) เช่น Benomyl เน่อื งจากสารเคมใี นกลุ่มนี้ ไมม่ คี วามสามารถในการยับยั้งเอนไซม์ AChE (จึงไมใ่ ชส่ ารในกลมุ่ acetylcholinesterase inhibitor) 2. การใช้สารเคมใี นกลมุ่ acetylcholinesterase inhibitor ท่เี ป็นยา เชน่ neostigmine, physostigmine, pyridostigmine เน่ืองจากไมใ่ ชก่ ารสมั ผสั สารเคมจี ากการ ทาํ งาน และยังไมม่ ขี อ้ มลู เพยี งพอ 3. การสมั ผสั สารกล่มุ organophosphate ทเ่ี ป็นอาวุธเคมี กลมุ่ สารพษิ ตอ่ ระบบประสาท (nerve agent) เช่น Tabun, Sarin, Soman, VX เน่อื งจากไม่ใชก่ ารสมั ผสั สารเคมีจากการทาํ งาน และยงั ไมม่ ีขอ้ มูลเพยี งพอ 11

Thai Biological Marker (TBM) (ต่อหนา้ 5/7) ตารางพเิ ศษที่ 1 Acetylcholinesterase inhibiting pesticides (ตอ่ ) รายละเอียดในการตรวจตวั บ่งช้ที างชวี ภาพของ Acetylcholinaseterase inhibiting pesticides ชนดิ ของตวั อยา่ ง  เก็บตวั อยา่ งจากเลอื ดของคนทาํ งาน เวลาเก็บตัวอยา่ ง  การจะแปลผลไดน้ น้ั จะต้องทําการตรวจหาคา่ พ้ืนฐาน (baseline value) ของคนทาํ งานผู้นน้ั เตรยี มเอาไว้เสยี กอ่ นทีจ่ ะมีการสมั ผัสกับสารเคมกี ลุม่ acetylcho- linesterase inhibiting pesticides สาเหตทุ จ่ี ะตอ้ งมกี ารตรวจหาคา่ พน้ื ฐานเอาไว้เปรยี บเทยี บ เน่ืองจากระดบั ปกติของเอนไซม์ AChE ในคนแตล่ ะคนน้ันมคี วาม แตกตา่ งกนั มาก การเปรียบเทยี บจงึ ตอ้ งใชก้ ารเปรยี บเทยี บกับค่าพื้นฐานของตนเองในอดีต  โดยการตรวจหาค่าพน้ื ฐาน (baseline value) ใหท้ าํ ดงั นี้ 1. จะตอ้ งทาํ การตรวจหาคา่ พ้นื ฐาน “กอ่ นท่คี นทาํ งานผ้นู ั้นจะเขา้ ทาํ งาน” คือยงั ไมไ่ ด้เรม่ิ ทาํ งานสมั ผสั กับสารกลุม่ acetylcholinesterase inhibiting pesticides เลย จะดที ส่ี ุด แตถ่ ้าเรม่ิ ทาํ งานไปแลว้ จะตอ้ งใหค้ นทํางาน “หยดุ การสมั ผสั กับสารเคมกี ลุม่ acetylcholinesterase inhibiting pesticides กอ่ น อย่างนอ้ ยเป็นเวลา 30 วนั ” จงึ จะทาํ การตรวจหาคา่ พื้นฐานได้ 2. ในการตรวจหาคา่ พนื้ ฐาน ให้ทาํ การเจาะเลอื ดตรวจระดบั เอนไซม์ AChE ในเมด็ เลือดแดง (red blood cell) เป็นจาํ นวน 2 ครง้ั (หรอื อาจ 3 ครัง้ ถ้า 2 คร้งั แรกได้คา่ แตกตา่ งกันเกนิ ไป) แต่ละครัง้ ท่ีเจาะเลอื ด จะตอ้ งทําเป็นเวลาหา่ งกนั อยา่ งนอ้ ย 3 วนั และจะตอ้ งส่งตรวจทห่ี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารเดยี วกัน ด้วยวธิ ีการตรวจ อย่างเดยี วกัน (ซงึ่ ในประเทศไทย การสํารวจล่าสุดในปี พ.ศ. 2557 โดย ยุทธนา ยานะ และคณะ [4] พบวา่ มหี อ้ งปฏิบตั ิการทีส่ ามารถทาํ การตรวจนไ้ี ด้อยู่เพยี ง แหง่ เดียว ทําการตรวจดว้ ยวธิ ี pH-meter) นําค่าระดับ AChE ในเม็ดเลือดแดง 2 คร้งั ท่ไี ด้มาพิจารณา ถ้าค่าของทง้ั 2 คร้งั แตกต่างกนั ไม่เกนิ 20 % ถือว่า ใชไ้ ด้ (คา่ ไมแ่ ตกต่างกันมากเกินไป) 3. นาํ คา่ ระดับ AChE ในเม็ดเลอื ดแดง 2 คร้งั ท่ไี ดม้ าหาคา่ เฉลี่ย คา่ เฉลยี่ ทไี่ ดค้ อื ค่าพ้ืนฐาน (baseline value) ของคนทาํ งานผู้น้ัน  เมอื่ คนทํางานผู้น้ัน เขา้ ไปทํางานสัมผสั สารเคมกี ลมุ่ acetylcholinesterase inhibiting pesticides แลว้ การตรวจตวั บ่งชท้ี างชีวภาพจะทําได้โดย เจาะเลอื ดตรวจดู ระดับ AChE ในเมด็ เลอื ดแดง โดยเวลาในการเจาะเลอื ดทเ่ี หมาะสมในแตล่ ะกรณจี ะแตกตา่ งกนั กรณที าํ งานสัมผสั organophosphate เนื่องจากสารกลมุ่ นี้ยับย้งั การ ทาํ งานของ AChE แบบไม่กลบั คนื (irreversible) การ recovery ของระดบั AChE จึงเปน็ ไปอยา่ งชา้ ๆ ต้องใชเ้ วลาหลายวนั เวลาในการเจาะเลอื ดจึงไม่ตอ้ งรบี เรง่ มาก โดยทั่วไปอาจเจาะเลือดตรวจหลงั คนทาํ งานเลกิ กะกไ็ ด้ สว่ นกรณที าํ งานสัมผสั carbamate เนือ่ งจากสารกลมุ่ นยี้ ับยั้งการทาํ งานของ AChE แบบกลับคืนได้ (reversible) การ recovery ของระดับ AChE จึงเกดิ ขน้ึ อยา่ งรวดเร็ว ภายใน 4 ชวั่ โมง เวลาในการเจาะเกบ็ ตัวอย่างเลือดจงึ ต้องทาํ ทนั ทีหลังจากคนทํางานเลกิ กะ  เมอื่ เจาะเกบ็ ตัวอยา่ งเลอื ดได้แล้ว ในการขนสง่ ตัวอย่างไปทาํ การตรวจวิเคราะห์ ควรทาํ อยา่ งเร็วท่สี ดุ เทา่ ที่จะเป็นไปได้ ขนส่งตวั อยา่ งเลอื ดแบบแช่เยน็ ท่อี ุณหภมู ิไม่ เกนิ 4 องศาเซลเซยี ส และไมก่ ระทบกระแทกรนุ แรง หากเปน็ การตรวจระดบั AChE ในกรณีสมั ผัส carbamate จะตอ้ งเรง่ ดว่ นเป็นพเิ ศษ เวลานบั จากเกบ็ ตวั อย่าง เลอื ดจากคนทํางานได้ จนถึงเรม่ิ ทาํ การตรวจวิเคราะห์ จะต้องไม่นานเกนิ 4 ชวั่ โมง ผลการตรวจทไ่ี ด้จึงจะน่าเชื่อถอื เน่ืองจากระดับ AChE สามารถ recovery ได้ใน หลอดเกบ็ ตัวอยา่ งเลอื ด (in vitro) ส่วนกรณสี ัมผสั organophosphate อาจรอได้นานกวา่ แต่กค็ วรรีบสง่ และรบี ทาํ การตรวจวิเคราะห์ให้เร็วทสี่ ดุ เทา่ ที่ทาํ ได้เชน่ กนั  เมื่อตรวจวเิ คราะหไ์ ดค้ า่ ระดบั AChE แล้ว ให้นํามาเปรยี บเทียบกับคา่ พื้นฐาน (baseline value) ของคนทาํ งานผู้น้นั โดยคาํ นวณดวู า่ คา่ ปจั จุบันทีไ่ ดค้ ิดเป็นก่ี เปอร์เซ็นตเ์ มอื่ เทยี บกับคา่ พนื้ ฐาน คา่ ตํา่ สดุ ท่ียอมรบั ได้  ระดบั AChE ในเม็ดเลอื ดแดงท่ีตรวจได้ จะตอ้ งมีค่าไมต่ ํา่ กวา่ 70 % ของค่าพน้ื ฐาน (baseline value) ของคนทํางานผนู้ นั้ 12

Thai Biological Marker (TBM) (ต่อหน้า 6/7) ตารางพิเศษที่ 2 Methemoglobin inducers รายละเอยี ดในการตรวจตัวบง่ ชีท้ างชวี ภาพของ Methemoglobin inducers Methemoglobin inducers Methemoglobin คือ oxyhemoglobin (hemoglobin ธรรมดา) ที่ถกู ทําปฏิกิรยิ า oxidation ทําใหเ้ ปลย่ี นเปน็ สฟี า้ ไมส่ ามารถทาํ หนา้ ที่ขนส่งออกซิเจนใหก้ ับร่างกายได้ หากมี ปรมิ าณสงู จะเป็นอนั ตรายต่อร่างกาย เอนไซมใ์ นรา่ งกายท่ีทําหนา้ ท่เี ปลีย่ น methemoglobin กลับมาเป็น oxyhemoglobin คอื เอนไซมท์ ่ีมชี ื่อวา่ methemoglobin reductase สว่ นสารเคมีทส่ี ามารถเปลีย่ น oxyhemoglobin ใหเ้ ป็น methemoglobin ได้ นัน้ เรียกว่า “methemoglobin inducer” รายชอ่ื สารเคมที เี่ ปน็ Methemoglobin inducer ทใ่ี ชต้ ัวบง่ ช้ีทางชวี ภาพนีป้ ระเมนิ การสัมผสั ได้ [3]  Aniline  Nitrobenzene  Anisidine  o-Nitrochlorobenzene  o-Chloroaniline  p- Nitrochlorobenzene  Cyclohexylamine  Nitrogen trifluoride (Nitrogen fluoride)  Dichloroaniline  Nitronaphthalene  Dimethylaniline  2-Nitropropane  Dinitrobenzene (DNB)  Nitrotoluene  Dinitrotoluene (DNT)  Paraquat  p-Dinitrosobenzene  n-Propyl nitrate  N-Isopropylaniline  Propylene glycol dinitrate (PGDN)  n-Methyl aniline  Tetranitromethane  4,4’-Methylene-bis-(2-chloroaniline) (MBOCA)  o-Toluidine  β-Naphthylamine  m-Toluidine  Nitric oxide  p-Toluidine  m-Nitroaniline  2,4,6-Trinitrotoluene (TNT)  p-Nitroaniline  Xylidine ชนดิ ของตัวอย่าง  เก็บตวั อยา่ งจากเลอื ดของคนทาํ งาน ใสส่ ารกันเลอื ดแข็งตัว (anti-coagulant) ไดแ้ ก่ heparin, ethylenediamine tetraacetic acid (EDTA), หรอื acid-citrate- dextrose (ACD) ชนดิ ใดชนิดหน่ึงใน 3 ชนดิ นี้ ก่อนส่งตัวอย่างไปวิเคราะห์ เวลาเกบ็ ตัวอยา่ ง  คา่ ทตี่ รวจได้จะนา่ เชอื่ ถอื กต็ ่อเมอื่ การเกบ็ ตัวอยา่ งทาํ ด้วยความรวดเร็ว การเก็บตัวอย่างเลอื ดทงิ้ ไวน้ าน อาจทาํ ให้คา่ ระดับ methemoglobin ท่ีตรวจไดส้ ูงขนึ้ หรอื ต่าํ ลงกวา่ ความเป็นจริงก็ได้ (ข้ึนกับชนดิ ของ methemoglobin inducer ชนิดน้ันๆ) เวลาในการเกบ็ ตวั อยา่ งทดี่ ที ส่ี ุดคือระหว่างกะ (During shift) ถ้าทําไมไ่ ดใ้ หเ้ กบ็ หลังเลกิ กะ (End of shift) โดยเกบ็ ทันทีหลงั เลกิ กะ การส่งตรวจวิเคราะหท์ ่ดี ีที่สดุ ตอ้ งทํา ณ สถานทเี่ กบ็ ตัวอยา่ งนน้ั เลย ถา้ ไมส่ ามารถทาํ ได้ จะตอ้ งขนส่งไปทาํ การ วเิ คราะห์ให้ได้ภายใน 1 ชว่ั โมงหลังจากท่เี กบ็ ตวั อยา่ งเลอื ด คา่ ท่ีได้จงึ จะน่าเชอื่ ถอื ค่าสงู สดุ ท่ียอมรบั ได้  ระดับ Methemoglobin ในตวั อยา่ งเลือด จะตอ้ งไมเ่ กิน 15 % of Hemoglobin หมายเหตุ  ตัวบ่งชท้ี างชวี ภาพชนดิ นไ้ี มจ่ าํ เพาะ คนทาํ งานที่สมั ผสั สารเคมกี ลมุ่ methemoglobin inducer ไมว่ ่าชนดิ ใดก็ตาม (หรือหลายชนดิ รว่ มกัน) สามารถพบระดบั ตัวบง่ ช้ี ทางชวี ภาพชนดิ นส้ี งู ขึ้นได้, ตวั บ่งชที้ างชีวภาพชนดิ นี้พบในคนท่ัวไป ทอี่ าจสมั ผสั สารเคมกี ลมุ่ methemoglobin inducer จากสารเคมีในชีวติ ประจาํ วนั (เชน่ จากยา ปุ๋ย สารเคมีในบ้าน) หรอื คนทม่ี คี วามผดิ ปกติทางพนั ธกุ รรม (เชน่ ภาวะ methemoglobin reductase deficiency, G6PD deficiency, pyruvate kinase deficiency) หรือจากสาเหตหุ ลายอยา่ งร่วมกนั ก็ได้, ขอ้ มลู การศกึ ษาวจิ ยั ของตวั บง่ ชี้ทางชวี ภาพชนดิ นีใ้ นปัจจุบันยงั มจี าํ กัด ควรทําการแปลผลด้วยความระมัดระวัง  คนทํางานท่พี บค่า methemoglobin สงู กว่าคา่ อา้ งองิ จะตอ้ งได้รบั การพจิ ารณาหาสาเหตุ ทง้ั การสัมผสั สาร methemoglobin จากสารเคมีในการทาํ งาน และจาก สารเคมีในชีวติ ประจําวนั (เชน่ จากยา ปยุ๋ สารเคมีในบ้าน) รวมถงึ อาจพิจารณาเชงิ พันธุกรรม ในกรณที ส่ี งสัยวา่ คนทาํ งานมีภาวะความผิดปกติของเอนไซม์ท่ที าํ ใหม้ ี ระดับ methemoglobin สูงขึ้น (เช่น ภาวะ methemoglobin reductase deficiency, G6PD deficiency, pyruvate kinase deficiency) ดว้ ย 13

Thai Biological Marker (TBM) (ตอ่ หน้า 7/7) เอกสารอา้ งอิง 1. American Conference of Governmental Industrial Hygienists (ACGIH). TLVs and BEIs. Cincinnati: ACGIH; 2016. 2. Deutsche Forschungsgemeinschaft (DFG). List of MAK and BAT values 2016 (Report 52 of the Permanent Senate Commission for the Investigation of Health Hazards of Chemical Compounds in the Work Area). Weinheim: Wiley-VCH; 2016. 3. American Conference of Governmental Industrial Hygienists (ACGIH). Documentation of the threshold limit values for biological exposure indices. 7th ed. Cincinnati: ACGIH; 2017. 4. ยุทธนา ยานะ, วิวัฒน์ เอกบูรณะวัฒน์, วิชยุตม์ ทัพวงษ์. การสํารวจจํานวนและความสามารถของห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ตัวบ่งช้ีทาง ชีวภาพของสารเคมที ่ีใชใ้ นอตุ สาหกรรมในประเทศไทย พ.ศ. 2557. วารสารสาธารณสขุ มหาวทิ ยาลยั บูรพา 2558:10(1);49-64. 14

สารเคมีทย่ี ังไม่มคี ําแนะนําให้ทาํ การตรวจตวั บ่งชท้ี างชวี ภาพ วนั ท่เี ผยแพร่ 25 มกราคม 2559 ||||| ปรบั ปรุงคร้งั ลา่ สดุ 15 มกราคม 2561 ตอ่ ไปนี้เป็นรายชอ่ื สารเคมีอันตรายท่ีใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม ท่ียังไม่มีคําแนะนําจากคณะทํางานให้ทํา การตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ (Biological marker) ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม ตามสาเหตุท่ียังไม่มีคําแนะนํา คือ (1) ยังไม่มีคําแนะนาํ เนอื่ งจากยงั ไม่มีหอ้ งปฏิบัติการรองรับการตรวจในประเทศไทย และ (2) ยังไม่มีคําแนะนํา เน่ืองจากยงั ไมม่ ีข้อมูลทางวิชาการสนับสนนุ เพียงพอ รายละเอียดดังน้ี 1. สารเคมีทยี่ งั ไม่มคี ําแนะนําใหท้ าํ การตรวจตัวบ่งชที้ างชวี ภาพ เน่ืองจากยังไม่มีห้องปฏบิ ตั กิ ารรองรบั ในประเทศไทย สารเคมกี ลมุ่ น้มี หี ลกั ฐานยนื ยันทางวชิ าการจากตา่ งประเทศว่าสามารถทําการตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ ได้ [1-4] แต่จากการสํารวจล่าสุดในปี พ.ศ. 2557 โดยยุทธนา ยานะ และคณะ [5] พบว่าในประเทศไทยยังไม่มี ห้องปฏิบตั กิ ารรองรับการส่งตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของสารเคมีกลุ่มนี้ ด้วยเหตุนี้คณะทํางานจึงยังไม่แนะนําให้ ทาํ การส่งตรวจตัวบง่ ชที้ างชีวภาพของสารเคมีกลุ่มน้ีในประเทศไทย สารเคมีกลุ่มน้ีมีจํานวนทั้งสิ้น 16 ชนิด ดัง แสดงรายชอ่ื ไว้ในตารางท่ี 1 ในอนาคตหากมหี ้องปฏิบัตกิ ารในประเทศไทยสามารถพฒั นาการตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพของสารเคมี กลุ่มน้ีข้ึนได้ มีความเป็นไปได้ท่ีจะนําการตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของสารเคมีกลุ่มนี้มาใช้ในประเทศไทย การ เฝ้าระวังสุขภาพของคนทํางานที่สัมผัสสารเคมีในกลุ่มน้ีในปัจจุบัน คณะทํางานแนะนําให้ผู้ประกอบวิชาชีพ ทางด้านอาชีวอนามัยใช้ข้อมูลจากแหล่งอื่นนอกเหนือจากการตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ เช่น ใช้การตรวจวัด ระดับสารเคมีในอากาศ (Environmental monitoring) ในการประเมินการสัมผัส (Exposure assessment) และใช้การซักประวัติหรือแบบสอบถาม ร่วมกับผลการตรวจร่างกายโดยแพทย์ ในการเฝ้าระวังอาการผิดปกติ ของคนทาํ งานเมือ่ ทาํ งานสมั ผสั สารเคมใี นกล่มุ นี้ สําหรับการส่งตัวอย่างทางชีวภาพไปทําการตรวจหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของสารเคมีกลุ่มน้ีที่ ห้องปฏิบัติการในต่างประเทศนั้นเป็นทางเลือกหน่ึงท่ีสามารถทําได้ แต่มีข้อจํากัดท่ีผู้ประกอบวิชาชีพทางด้าน อาชีวอนามัยควรระมัดระวังในหลายประเด็น เน่ืองจากการส่งตัวอย่างทางชีวภาพไปทําการตรวจหาตัวบ่งช้ีทาง ชีวภาพที่ห้องปฏิบัติการในต่างประเทศ มักก่อให้เกิดปัญหาต้องใช้ระยะทางและระยะเวลาในการขนส่งยาวนาน กว่าปกติ ซ่ึงอาจทําใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงทางชีวภาพในตัวอย่างทางชีวภาพ (เช่น เลือด ปัสสาวะ) ที่ส่งไป ทํา ให้ผลการตรวจท่ีได้มีโอกาสผิดพลาด อีกทั้งการส่งตัวอย่างทางชีวภาพไปยังห้องปฏิบัติการในต่างประเทศนั้น มักต้องเสียค่าใช้จ่ายในการขนส่งเพ่ิมมากขึ้นกว่าปกติด้วย ผู้ประกอบวิชาชีพทางด้านอาชีวอนามัยจึงควร พิจารณาข้อจาํ กดั ในประเดน็ ตา่ งๆ เหล่าน้ีเปน็ พเิ ศษกอ่ นตดั สนิ ใจดาํ เนนิ การ 15

ตารางท่ี 1 แสดงรายชือ่ สารเคมที ่ไี ม่มหี ้องปฏบิ ัติการรองรบั การสง่ ตรวจตัวบง่ ชท้ี างชีวภาพในประเทศไทย ชือ่ สารเคมี  Aniline  2-Butoxyethanol  Chlorobenzene  N,N-Dimethylacetamide  N,N-Dimethylformamide  2-Ethoxyethanol (EGEE) and 2-Ethoxyl acetate (EGEEA)  Furfural  2-Methoxyethanol and 2-Methoxyethyl acetate  4,4-Methylene Bis(2-Chloroaniline) (MBOCA)  N-Methyl-2-Pyrrolidone  Naphthalene  Pentachlorophenol  Polycyclic aromatic hydrocarbons (PAHs)  Tetrachloroethylene  Tetrahydrofuran  Uranium แหลง่ ที่มา ยุทธนา ยานะ และคณะ [5] 2. สารเคมที ย่ี งั ไมม่ ีคําแนะนําให้ทาํ การตรวจตัวบง่ ชท้ี างชวี ภาพ เนือ่ งจากยังไมม่ ีข้อมลู ทางวิชาการสนบั สนนุ เพยี งพอ สารเคมีกลุ่มน้ียังไม่มคี ําแนะนาํ ใหท้ าํ การตรวจตวั บง่ ช้ที างชวี ภาพ เน่ืองจากคณะทํางานเห็นว่าปัจจุบัน ยังไม่มีข้อมูลทางวิชาการยืนยันเพียงพอถึงความเช่ือมโยงของการสัมผัสสารเคมีกลุ่มนี้กับค่าที่ตรวจได้จาก ตวั อย่างทางชีวภาพ เชน่ เลือด ปสั สาวะ ของคนทํางาน [1-4] สารเคมีกลุ่มนี้มีจํานวนทั้งสิ้น 12 ชนิดสารเคมี ดัง แสดงรายชอื่ ไวใ้ นตารางท่ี 2 สารเคมีกลุ่มนี้บางส่วนเป็นธาตุโลหะท่ีมีการใช้อยู่ในอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ แต่ก็เป็นแร่ธาตุจําเป็น (Essential element) ที่พบเป็นสว่ นประกอบในรา่ งกายของคนทว่ั ไปดว้ ย เชน่ ธาตุเหล็ก (Iron) ซึ่งเป็นแร่ธาตุ จําเปน็ ในการสร้างเม็ดเลือดแดง หรือธาตทุ องแดง (Copper) และสงั กะสี (Zinc) ซงึ่ เป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ ในร่างกาย การตรวจพบระดับสารเคมีกลุ่มนี้ในตัวอย่างทางชีวภาพ จึงไม่ได้เป็นเครื่องบ่งชี้ว่าคนทํางานเกิด ความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีกลุ่มน้ีมากเกินไป สารเคมีกลุ่มนี้บางส่วนเป็นธาตุโลหะท่ีไม่มีความจําเป็นต่อ 16

ร่างกาย (Non-essential element) แต่ก็มีความเป็นพิษน้อยมาก และไม่มีข้อมูลความเช่ือมโยงระหว่างการ สัมผัสในการทํางาน (Occupational exposure) กับการเกิดพิษ จึงไม่มีคําแนะนําให้ทําการตรวจตัวบ่งชี้ทาง ชวี ภาพ เชน่ กรณีของ ดีบกุ (Tin) สารเคมกี ลุม่ น้บี างส่วนเป็นตวั ทาํ ละลาย (Solvent) ทสี่ ามารถตรวจหาระดบั สารเคมีหรือเมตาบอไลต์ของสารเคมีในตัวอย่างทางชีวภาพได้ แต่ไม่มีข้อมูลยืนยันที่เพียงพอถึงความสัมพันธ์ ของการสัมผัสสารเคมีเหล่าน้ีในการทํางาน (Occupational exposure) กับระดับของสารเคมีในตัวอย่างทาง ชีวภาพ เช่น กรณีของการสัมผัสเอทานอล (Ethanol) จากการทํางานผ่านทางการสูดดม ไม่สามารถตรวจ ระดับเอทานอลในเลือดหรือปัสสาวะเพื่อเป็นเครื่องบ่งชี้การสัมผัสเอทานอลได้ หรือการสัมผัสฟอร์มาลดีไฮด์ (Formaldehyde) จากการทํางาน ไม่สามารถตรวจระดับฟอร์มาลดีไฮด์ในเลือด หรือระดับกรดฟอร์มิก (Formic acid) ในปสั สาวะ เพ่ือเป็นเคร่ืองบ่งช้ีการสัมผัสฟอร์มาลดีไฮด์ได้ ในการเฝ้าระวังสุขภาพของคนทํางานท่ีสัมผัสสารเคมีในกลุ่มน้ี คณะทํางานแนะนําให้ผู้ประกอบ วิชาชีพทางด้านอาชีวอนามัยใช้ข้อมูลจากแหล่งอื่นนอกเหนือจากการตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพ เช่น ใช้การตรวจวัด ระดับสารเคมีในอากาศ (Environmental monitoring) ในการประเมินการสัมผัส (Exposure assessment) และใช้การซักประวัติหรือแบบสอบถาม ร่วมกับผลการตรวจร่างกายโดยแพทย์ ในการเฝ้าระวังอาการผิดปกติ ของคนทาํ งานเมือ่ ทํางานสมั ผสั สารเคมีในกลมุ่ นี้ ตารางท่ี 2 แสดงรายช่ือสารเคมีที่ไม่มีข้อมูลทางวชิ าการสนบั สนนุ ให้ทําการตรวจตวั บง่ ช้ีทางชีวภาพ ช่ือสารเคมี  Antimony (พลวง)  Copper (ทองแดง)  Chromium (III) (โครเมยี ม (III))  Ethanol (เอทานอล)  Formaldehyde (ฟอรม์ าลดีไฮด์)  Iron (เหลก็ )  Lithium (ลิเทียม)  Magnesium (แมกนีเซียม)  Molybdenum (โมลิบดนี ัม)  Thallium (ทลั เลียม)  Tin (ดีบกุ )  Zinc (สังกะสี) 17

เอกสารอา้ งองิ 1. Foa V, Alessio L, Gompertz D, Hoet P, Lauwerys RR, Ikeda M, et. al. Biological monitoring. In: Stellman JM, ed. ILO Encyclopaedia of occupational health and safety. 4th ed. Geneva: International Labour Organization (ILO); 1998. 2. Lauwerys RR, Hoet P. Industrial chemical exposure: Guidelines for biological monitoring. 3rd ed. Florida: CRC Press; 2001. 3. American Conference of Governmental Industrial Hygienists (ACGIH). Documentation of the threshold limit values for biological exposure indices. 7th ed. Cincinnati: ACGIH; 2017. 4. Deutsche Forschungsgemeinschaft (DFG). List of MAK and BAT values 2017 (Report 53 of the Permanent Senate Commission for the Investigation of Health Hazards of Chemical Compounds in the Work Area). Weinheim: Wiley-VCH; 2017. 5. ยุทธนา ยานะ, วิวัฒน์ เอกบูรณะวัฒน์, วิชยุตม์ ทัพวงษ์. การสํารวจจํานวนและความสามารถของ ห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ตัวบ่งช้ีทางชีวภาพของสารเคมีท่ีใช้ในอุตสาหกรรมในประเทศไทย พ.ศ. 2557. วารสารสาธารณสขุ มหาวิทยาลัยบรู พา 2558;10(1):49-64. 18

หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพในประเทศไทย วันท่เี ผยแพร่ 13 กุมภาพนั ธ์ 2559 ||||| ปรบั ปรุงครัง้ ลา่ สดุ 2 มนี าคม 2560 หอ้ งปฏบิ ตั ิการท่ีสามารถตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพของสารเคมีอันตรายท่ีใช้ในอุตสาหกรรมได้นั้น จะต้อง เปน็ ห้องปฏิบัติการทางด้านพิษวิทยาท่ีสามารถรับส่ิงส่งตรวจที่เป็นตัวอย่างทางชีวภาพจากคนทํางาน เช่น เลือด ปัสสาวะ มาทําการตรวจวิเคราะห์ได้ เนื่องจากห้องปฏิบัติการเหล่านี้เป็นห้องปฏิบัติการเฉพาะทางและต้องมี การลงทุนสูง ทําให้ในประเทศไทยมีจํานวนห้องปฏิบัติการตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของสารเคมีอันตรายท่ีใช้ใน อุตสาหกรรมอยู่เปน็ จํานวนไมม่ ากนกั ในอดีต เคยมีการสํารวจจํานวนและความสามารถของห้องปฏิบัตการตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพของ สารเคมีอันตรายท่ีใช้ในอุตสาหกรรมในประเทศไทยท่ีมีการบันทึกไว้ชัดเจนอยู่ 3 คร้ัง ครั้งแรกดําเนินการสํารวจ ในปี พ.ศ. 2543 [1-2] พบว่ามีห้องปฏิบัติการด้านพิษวิทยาท่ีสามารถทําการตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของ สารเคมีอันตรายท่ีใช้ในอุตสาหกรรมอยู่ในประเทศไทยเป็นจํานวนท้ังส้ิน 45 แห่ง การสํารวจในครั้งที่ 2 ทําในปี พ.ศ. 2549 [3-4] พบว่ามจี ํานวนหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารท่ีรองรบั การตรวจได้เปน็ จาํ นวน 33 แห่ง การสํารวจครั้งล่าสุดทําในปี พ.ศ. 2557 โดย ยุทธนา ยานะ และคณะ [5] การสํารวจในคร้ังน้ีพบว่า ห้องปฏิบัติการตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพของสารเคมีอันตรายท่ีใช้ในอุตสาหกรรมนั้น ทั่วประเทศไทยมีอยู่จํานวน ท้งั สน้ิ เพียง 7 แห่ง ซ่งึ จะเห็นได้ว่าจํานวนทสี่ ํารวจพบนั้นแตกต่างจากการสํารวจ 2 ครั้งแรกอย่างมาก สาเหตุท่ีมี จํานวนแตกต่างกันเน่ืองจากเกณฑ์ในการสํารวจคร้ังล่าสุดในปี พ.ศ. 2557 มีความแตกต่างจากเกณฑ์ในการ สํารวจ 2 ครั้งแรก กล่าวคือในการสํารวจครั้งล่าสุดนี้ จะนับเฉพาะห้องปฏิบัติการท่ีมีคุณสมบัติทั้ง 2 ข้อ ได้แก่ (1.) เป็นหอ้ งปฏิบัติการที่มีเครือ่ งมอื ในการตรวจวเิ คราะห์เปน็ ของตนเอง สามารถทาํ การตรวจวิเคราะห์ตัวบ่งชี้ ทางชวี ภาพของสารเคมอี ันตรายทีใ่ ช้ในอุตสาหกรรมได้จริง ไม่ใช่ห้องปฏิบัติการที่ส่งต่อตัวอย่างเพ่ือนําไปตรวจ วเิ คราะหท์ ีห่ ้องปฏบิ ัติการแห่งอื่น และ (2.) ให้บริการตรวจวิเคราะห์แก่องค์กรภายนอกและบุคคลท่ัวไปได้ [5] สาเหตุท่ีมกี ารจํากดั เกณฑ์ในการสํารวจเพิ่มข้ึนจากการสํารวจใน 2 ครั้งแรก เน่ืองจากในระหว่างการรวบรวมข้อมูล คณะผู้สํารวจพบว่ามีห้องปฏิบัติการบางแห่งไม่สามารถทําการตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของสารเคมีอันตรายที่ใช้ ในอุตสาหกรรมได้เอง แต่ให้บริการส่งต่อไปตรวจท่ีห้องปฏิบัติการแห่งอ่ืน และห้องปฏิบัติการบางแห่งมี ความสามารถในการตรวจวิเคราะห์ตัวบ่งช้ีทางชีวภาพของสารเคมีอันตรายที่ใช้ในอุตสาหกรรมได้เป็นการ ภายใน แต่ไม่รับตรวจให้กับองค์กรภายนอกและบุคคลท่ัวไป ซึ่งท้ัง 2 กรณีที่พบนี้ จัดว่ามีประโยชน์ต่อการ ดําเนนิ งานดา้ นอาชีวอนามยั ในภาพรวมของประเทศค่อนข้างนอ้ ย การสํารวจในคร้ังลา่ สดุ จงึ จํากดั เกณฑ์ในการ สํารวจ และไม่ได้รวบรวมข้อมูลของห้องปฏิบัติการท่ีมีลักษณะดังกล่าวเข้ามาด้วย ข้อมูลท่ีได้จากการสํารวจใน ปี พ.ศ. 2557 จงึ มคี วามนา่ เชื่อถือสูง และสามารถนํามาใช้อ้างอิงในทางปฏิบตั ิไดด้ ี [5] ตารางที่ 1 แสดงวิธีการตรวจวิเคราะห์ ราคา และระยะเวลาท่ีใช้ในการตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพซ่ึง สามารถทําการส่งตรวจได้ในประเทศไทย ซึ่งอ้างอิงมาจากการสํารวจในปี พ.ศ. 2557 [5] ผลการสํารวจพบว่า 19

หอ้ งปฏิบัตกิ ารตรวจตวั บง่ ชที้ างชวี ภาพของสารเคมีทใ่ี ชใ้ นอตุ สาหกรรมในประเทศไทยท้ัง 7 แห่ง (เรียกแทนด้วย สญั ลักษณ์ A – G) น้ัน เป็นห้องปฏิบัติการภาครัฐ 4 แห่ง (ห้องปฏิบัติการในโรงพยาบาล 2 แห่งคือห้องปฎิบัติ การ A และ G, นอกโรงพยาบาล 2 แหง่ คือหอ้ งปฎบิ ตั กิ าร E และ F) เปน็ หอ้ งปฏบิ ตั ิการเอกชน 3 แห่ง (เป็นห้อง ปฏบิ ัติการนอกโรงพยาบาลท้ัง 3 แห่ง คือหอ้ งปฎิบัตกิ าร B, C, และ D) สถานท่ีตง้ั อยู่ในกรุงเทพมหานคร 4 แห่ง (ห้องปฏิบัติการ A, B, C, และ D) ระยอง 2 แห่ง (ห้องปฏิบัติการ F และ G) และนนทบุรี 1 แห่ง (ห้องปฏิบัติการ E) รวมจํานวนความสามารถของหอ้ งปฏิบัติการทง้ั 7 แหง่ ในการตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของสารเคมีอันตราย ที่ใช้ในอุตสาหกรรม พบว่าสามารถทําการตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของสารเคมีอันตรายที่ใช้ในอุตสาหกรรมได้ รวมทงั้ ส้ิน 32 ชนิดสารเคมี (รายละเอียดดงั แสดงในตารางท่ี 1) ในด้านคุณภาพของห้องปฏิบัติการ เม่ือทําการตรวจสอบกับฐานข้อมูลของสํานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูลวันท่ี 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 [6] พบว่าห้องปฏิบัติการ ตรวจวิเคราะห์ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของสารเคมีอันตรายท่ีใช้ในอุตสาหกรรมในประเทศไทยทั้ง 7 แห่งนั้น มีผ่าน มาตรฐาน ISO 15189 (มาตรฐานคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์) เป็นจํานวน 1 แห่ง (ห้องปฏิบัติการ B) โดยจาํ นวนรายการตรวจทผ่ี ่านมาตรฐานมที งั้ หมด 13 รายการ (รายละเอียดดังในตารางที่ 1) และผ่านมาตรฐาน ISO/IEC 17025 (มาตรฐานคุณภาพหอ้ งปฏบิ ตั ิการทดสอบและสอบเทยี บ) เป็นจาํ นวน 1 แห่ง (ห้องปฏิบัตกิ าร E) โดยจาํ นวนรายการตรวจท่ผี า่ นมาตรฐานมที ง้ั หมด 1 รายการ (รายละเอียดดงั ในตารางท่ี 1) ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลรายละเอียดการตรวจวิเคราะห์ตัวบ่งช้ีทางชีวภาพของสารเคมีอันตรายท่ีใช้ใน อุตสาหกรรมท่ีสามารถตรวจได้ในประเทศไทย (ดัดแปลงจาก ยทุ ธนา ยานะ และคณะ [5]) ชอื่ สารเคมี สถานที่ วธิ กี ารตรวจ Turn-around time ราคา ชือ่ ตัวบ่งชที้ างชีวภาพ ตรวจ (วัน) (บาท) เฉลี่ย (ตํ่าสุด-สูงสดุ ) 1. Acetone เฉลี่ย (ตา่ํ สุด-สูงสดุ ) Acetone in urine 300 A HS-GC 2 400 2. Acetylcholinesterase inhibiting B HS-GC/MS 3 180 pesticides C HS-GC 14 165 D HS-GC 10 400 Cholinesterase activity E HS-GC 15 400 in red blood cells F HS-GC 15 307.5 (165-400) 9.8 (2-15) 220 A pH-meter 2 220.0 (-) 2.0 (-) 20

ชือ่ สารเคมี สถานท่ี วิธีการตรวจ Turn-around time ราคา ชื่อตัวบ่งช้ีทางชวี ภาพ ตรวจ (วนั ) (บาท) เฉลย่ี (ตา่ํ สุด-สงู สุด) 3. Arsenic, elemental and soluble A Q-Analysis เฉลยี่ (ตํา่ สุด-สงู สดุ ) inorganic compounds B* ICP-MS 350 C AAS 3 600 Total arsenic in urine D AAS 10 180 E AAS 7 150 Inorganic arsenic plus methylated F AAS 10 300 metabolites in urine 15 300 4. Benzene B HPLC/ICP-MS 15 313.3 (150-600) S-phenylmercapturic acid E HPLC/ICP-MS 10.0 (3-15) 2,400 15 2,000 t,t-Muconic acid in urine A GC/MS 15 2,200.0 (2,000-2,400) B LC-MS/MS 15.0 (-) 5. 1,3-Butadiene 1,050 1,2 Dihydroxy-4-(N-Acetylcys- A HPLC-DAD 10 2,525 teinyl)-butane in urine B* HPLC 8 1,787.5 (1,050-2,525) C HPLC 9.0 (8-10) 280 D HPLC 4 450 E HPLC 7 200 F HPLC 14 310 G HPLC 10 500 15 500 F LC-MS/MS 15 500 14 391.4 (200-500) 11.3 (4-15) 2,000 15 2,000.0 (-) 15.0 (-) 21

ชอื่ สารเคมี สถานท่ี วธิ ีการตรวจ Turn-around time ราคา ช่อื ตัวบง่ ช้ที างชีวภาพ ตรวจ (วนั ) (บาท) เฉลย่ี (ต่ําสดุ -สงู สุด) 6. Cadmium and inorganic เฉล่ีย (ตํ่าสุด-สูงสดุ ) compounds 380 B* ICP-MS 10 120 Cadmium in urine C AAS 7 135 D AAS 10 300 Cadmium in blood E AAS 15 300 F AAS 15 247.0 (120-380) 7. Carbon disulfide 11.4 (7-15) 280 2-thiothiazolidine-4-carboxylic A AAS 3 430 acid (TTCA) in urine B* ICP-MS 10 120 C AAS 7 135 8. Carbon monoxide D AAS 10 241.3 (120-430) Carboxyhemoglobin in blood 7.5 (3-10) C HPLC 250 9. Chromium (VI) 14 250.0 (-) Total chromium in urine C Spectro 14.0 (-) 150 10. Cobalt B* ICP-MS 14 150.0 (-) Cobalt in urine C AAS 14.0 (-) D AAS 380 Cobalt in blood E AAS 10 120 7 135 B* ICP-MS 10 300 C AAS 15 233.8 (120-380) D AAS 10.5 (7-15) 440 B* ICP-MS 10 120 7 200 10 253.3 (120-440) 9.0 (7-10) 500 10 500.0 (-) 10.0 (-) 22

ชือ่ สารเคมี สถานท่ี วิธีการตรวจ Turn-around time ราคา ช่อื ตวั บง่ ช้ที างชีวภาพ ตรวจ (วนั ) (บาท) GC เฉลย่ี (ตาํ่ สุด-สูงสดุ ) 11. Cyclohexanol C HS-GC เฉล่ีย (ตํา่ สดุ -สงู สุด) Cyclohexanol in urine D 180 GC 14 165 12. Cyclohexanone C HS-GC 10 172.5 (165-180) Cyclohexanol in urine D 12.0 (10-14) HS-GC/MS 180 13. Dichloromethane (Methylene B GC 14 165 chloride) E GC 10 172.5 (165-180) F 12.0 (10-14) Dichloromethane in urine HPLC-DAD 500 HPLC 3 400 14. Ethyl benzene A HPLC 15 400 Sum of mandelic acid and phenyl- B HPLC 15 433.3 (400-500) glyoxelic acid in urine F 11.0 (3-15) G HPLC-DAD 300 HPLC 3 600 Mandelic acid in urine A HPLC 7 500 B HPLC 15 400 C HPLC 14 450.0 (300-600) D HPLC 9.8 (3-14) 320 E 3 380 F ISE 7 200 ISE 14 310 15. Fluoride A ISE 10 400 Fluoride in urine C ISE 15 400 D 15 335.0 (200-400) E 10.7 (3-15) 180 2 180 14 200 10 300 15 215.0 (180-300) 10.3 (2-15) 23

ชื่อสารเคมี สถานท่ี วิธกี ารตรวจ Turn-around time ราคา ช่อื ตวั บ่งชีท้ างชีวภาพ ตรวจ (วนั ) (บาท) เฉล่ีย (ตํ่าสุด-สงู สุด) 16. n-Hexane เฉลี่ย (ตํ่าสุด-สงู สดุ ) 2,5-Hexanedione in urine 500 B HS-GC/MS 7 200 17. Lead C GC 14 250 Lead in blood D HS-GC 10 400 E GC 15 337.5 (200-500) 18. Mercury (elemental) 11.5 (7-15) Mercury in urine 300 A AAS 3 400 19. Methanol B* ICP-MS 10 650 Methanol in urine B* ICP-MS(STAT) 5 100 C AAS 7 90 20. Methemoglobin inducers D AAS 10 300 Methemoglobin in blood E** AAS 15 300 F AAS 15 305.7 (90-650) 9.3 (3-15) 350 A AAS 3 600 B* ICP-MS 10 180 C AAS 7 150 D D-Analyze 10 500 E ICP-MS 15 356.0 (150-600) 9.0 (3-15) 300 A HS-GC 2 400 B HS-GC/MS 3 180 C HS-GC 14 165 D HS-GC 10 400 E HS-GC 15 289.0 (165-400) 8.8 (2-15) 180 C Spectro 14 180.0 (-) 14.0 (-) 24

ชอื่ สารเคมี สถานที่ วิธกี ารตรวจ Turn-around time ราคา ชื่อตัวบ่งชท้ี างชีวภาพ ตรวจ (วนั ) (บาท) เฉลี่ย (ต่ําสุด-สงู สดุ ) เฉล่ยี (ตํา่ สดุ -สูงสุด) 500 21. Methyl n-Butyl Ketone 200 250 2,5-Hexanedione in urine B HS-GC/MS 7 400 337.5 (200-500) C GC 14 250 D HS-GC 10 180 165 E GC 15 400 248.8 (165-400) 11.5 (7-15) 200 200.0 (-) 22. Methyl chloroform 350 Trichloroacetic acid in urine A HS-GC 2 500 180 C Spectro 14 165 400 D UV-VIS 10 400 332.5 (165-500) E HPLC 15 180 10.3 (2-15) 165 400 Trichloroethanol in urine C Spectro 14 400 286.3 (165-400) 14.0 (-) 180 23. Methyl Ethyl Ketone 180.0 (-) Methyl Ethyl Ketone in urine A HS-GC 3 B HS-GC/MS 3 C HS-GC 14 D HS-GC 10 E HS-GC 15 F HS-GC 15 10.0 (3-15) 24. Methyl Isobutyl Ketone Methyl Isobuthyl Ketone in urine C HS-GC 14 D HS-GC 10 E HS-GC 15 F HS-GC 15 13.5 (10-15) 25. Nitrobenzene Methemoglobin in blood C Spectro 14 14.0 (-) 25

ชอ่ื สารเคมี สถานที่ วธิ ีการตรวจ Turn-around time ราคา ชือ่ ตวั บง่ ชที้ างชวี ภาพ ตรวจ (วนั ) (บาท) เฉล่ีย (ตํา่ สุด-สูงสุด) 26. Parathion A pH-meter เฉล่ีย (ตา่ํ สุด-สงู สุด) Cholinesterase activity 220 in red blood cells C HPLC 2 220.0 (-) D HPLC 2.0 (-) 27. Phenol E GC 150 Phenol in urine 14 165 A HS-GC 10 400 28. 2-Propanol (Isopropyl alcohol) B HS-GC/MS 15 238.3 (150-400) Acetone in urine C HS-GC 13.0 (10-15) D HS-GC 300 29. Styrene E HS-GC 2 400 Mandelic acid plus F HS-GC 3 180 phenylglyoxylic acid in urine 14 165 A HPLC-DAD 10 400 Mandelic acid in urine B HPLC 15 400 F HPLC 15 307.5 (165-400) G HPLC 9.8 (2-15) 300 A HPLC-DAD 3 600 B* HPLC 7 500 C HPLC 15 400 D HPLC 14 450.0 (300-600) E HPLC 9.8 (3-15) 320 F HPLC 3 380 7 200 14 310 10 400 15 400 15 335.0 (200-400) 10.7 (3-15) 26

ชือ่ สารเคมี สถานที่ วธิ ีการตรวจ Turn-around time ราคา ช่อื ตัวบ่งชท้ี างชวี ภาพ ตรวจ (วนั ) (บาท) เฉลยี่ (ต่ําสุด-สงู สุด) 30. Toluene เฉลย่ี (ตา่ํ สุด-สูงสดุ ) Toluene in blood 550 B HS-GC/MS 3 400 Toluene in urine E HS-GC 15 400 o-Cresol in urine F HS-GC 15 450.0 (400-550) Hippuric acid in urine 11.0 (3-15) 550 B HS-GC/MS 3 550.0 (-) 31. Trichloroethylene 3.0 (-) 350 Trichloroacetic acid in urine A HPLC-DAD 4 350.0 (-) 4.0 (-) 250 32. Xylene A HPLC-DAD 3 400 Methylhippuric acid in urine B* HPLC 7 180 C HPLC 14 310 D HPLC 10 110 D UV-VIS 10 400 E HPLC 15 400 F HPLC 15 400 G HPLC 14 306.3 (110-400) 11.0 (3-15) 250 A HS-GC 2 180 C Spectro 14 165 D UV-VIS 10 400 E HPLC 15 248.8 (165-400) 10.3 (2-15) 250 A HPLC 3 400 B* HPLC 7 200 C HPLC 14 220 D HPLC 10 400 E HPLC 15 400 F HPLC 15 400 G HPLC 14 324.3 (200-400) 11.1 (3-15) 27

หมายเหตุ HS-GC = Headspace gas chromatography, HS-GC/MS = Headspace gas chromatography/mass spectrometry, Q-Analysis = Direct quantitative analysis of arsenic, ICP-MS = Inductive coupled plasma mass spectrometry, AAS = Atomic absorption spectrometry, HPLC/ICP-MS = High-performance liquid chromatography/inductive coupled plasma mass spectrometry, GC/MS = Gas chromatography/mass spectrometry, LC-MS/MS = Liquid chromatography-tandem mass spectrometry, HPLC-DAD = High- performance liquid chromatography with diode-array detection, HPLC = High-performance liquid chromatography, Spectro = Spectrophotometry, GC = Gas chromatography, ISE = Ion-selective electrode analysis, STAT = Immediately, D-Analysis = Direct mercury analysis, UV-VIS = Ultraviolet-visible spectroscopy, * = รายการตรวจท่ีผ่านมาตรฐาน ISO 15189, ** = รายการตรวจที่ผ่านมาตรฐาน ISO/IEC 17025, Turn- around time = ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการตรวจ นับตง้ั แตห่ อ้ งปฏบิ ตั กิ ารไดร้ ับตวั อยา่ งทางชีวภาพจนถึงส่งผลกลบั กล่าวโดยสรุปคือ ห้องปฏิบัติการตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของสารเคมีอันตรายท่ีใช้ในอุตสาหกรรมใน ประเทศไทยยังมีจํานวนไม่มากนัก เนื่องจากเป็นห้องปฏิบัติการเฉพาะทางที่ต้องใช้การลงทุนสูง การสํารวจ จํานวนของห้องปฏิบัติการในปี พ.ศ. 2557 [5] พบว่ามีห้องปฏิบัติการท่ีมีเครื่องมือตรวจวิเคราะห์เป็นของตนเอง คือสามารถทําการตรวจวิเคราะห์ได้จริงโดยไม่ต้องส่งต่อตัวอย่างทางชีวภาพไปตรวจวิเคราะห์ท่ีห้องปฏิบัติการ แหง่ อนื่ และสามารถให้บริการตรวจวิเคราะห์แก่องค์กรภายนอกและบุคคลทั่วไปได้ จํานวนทั้งสิ้น 7 แห่ง ซึ่งห้อง ปฏิบัติการท้ัง 7 แห่งนี้ สามารถตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของสารเคมีอันตรายที่ใช้ในอุตสาหกรรมได้รวมทั้งส้ิน 32 ชนดิ สารเคมี โดยมวี ิธีการตรวจวเิ คราะห์ ราคา และระยะเวลาทใี่ ช้ในการตรวจแตกตา่ งกันไป เอกสารอา้ งอิง 1. สวรรยา จนั ทูตานนท์. สถานการณก์ ารรับรองคณุ ภาพหอ้ งปฏิบตั ิการดา้ นอาชวี อนามัย และส่ิงแวดล้อมใน ประเทศไทย พ.ศ. 2543 [วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพมหานคร: จฬุ าลงกรณ์มหา- วทิ ยาลัย; 2543. 2. พรชัย สิทธิศรัณย์กุล, รัชนา ศานติยานนท์, จงดี ว่องพินัยรัตน์, ปนัดดา ซิลวา, พิณนภา โรจนจิราภา, สุพัฒน์ หวังวงศ์วัฒนา, และคณะ. การตรวจสอบและรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการ: วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน ของการตรวจสอบและรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานกองทุนสนับสนนุ งานวจิ ยั (สกว.); 2544. สัญญาเลขท่ี RDG3/24/2543. 3. อญั ชลี อร่ามเธยี รธํารง, จิระพล ถิรวิรยิ พล, นันทวนั กลงึ เทศ, กรองทอง ภวู่ โรดม, ดาวรุ่ง รักงาม, ธนรัตน์ แก้วสว่าง. ข้อมูลห้องปฏิบัติการพิษวิทยาในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ ; 2549. 4. อัญชลี อรา่ มเธยี รธาํ รง, จริ ะพล ถิรวริ ิยพล, นนั ทวัน กลงึ เทศ, กรองทอง ภู่วโรดม, ดาวรุ่ง รักงาม, ธนรัตน์ แก้วสว่าง. ข้อมูลห้องปฏิบัติการพิษวิทยาในกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร: โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2549. 28

5. ยุทธนา ยานะ, วิวัฒน์ เอกบูรณะวัฒน์, วิชยุตม์ ทัพวงษ์. การสํารวจจํานวนและความสามารถของ ห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ตัวบ่งช้ีทางชีวภาพของสารเคมีที่ใช้ในอุตสาหกรรมในประเทศไทย พ.ศ. 2557. วารสารสาธารณสุขมหาวทิ ยาลัยบรู พา 2558;10(1):49-64. 6. สาํ นกั มาตรฐานห้องปฏบิ ัติการ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. รายช่ือหน่วยงานที่ผ่าน การรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO 15189 และ ISO/IEC 17025 [อินเตอร์เน็ต]. 2557 [เข้าถงึ เมอื่ 13 ก.พ. 2559]. เข้าถงึ ได้จาก http://blqs.dmsc.moph.go.th/. 29

แนวทางการเตรียมตวั อย่างทางชวี ภาพ วันที่เผยแพร่ 8 ตุลาคม 2559 ||||| ปรับปรงุ คร้ังลา่ สุด 15 มกราคม 2561 การเตรียมตัวอย่างทางชีวภาพ (เลือดและปัสสาวะ) เป็นข้ันตอนที่มีความสําคัญในกระบวนการตรวจตัว บ่งช้ีทางชีวภาพของสารเคมี เนื่องจากหากมีการเตรียมตัวอย่างทางชีวภาพอย่างไม่ถูกต้องแล้ว มีโอกาสที่ผลการ ตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพท่ีได้จะมีค่าคลาดเคล่ือนไป [1-2] สําหรับแนวทางการเตรียมตัวอย่างทางชีวภาพสําหรับ การตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพในประเทศไทยน้นั คณะทํางานมีคาํ แนะนาํ ดังน้ี 1. แนวทางการเตรียมตวั อยา่ งเลือด เลือด (Blood) เป็นตัวอย่างทางชีวภาพ (Specimen) ท่ีนิยมนํามาใช้ในการตรวจหาระดับสารเคมีใน ร่างกาย เน่ืองจากเลือดทําหน้าท่ีเป็นพาหนะขนส่งสารเคมีไปที่ส่วนต่างๆ จึงทําให้เราสามารถทําการตรวจ ระดับสารเคมีท่ีสนใจในเลือดได้ ข้อดีของการใช้เลือดเป็นตัวอย่างทางชีวภาพคือมีโอกาสในการปนเปื้อน ระหว่างการเก็บนอ้ ยกว่าปัสสาวะ แตข่ ้อเสยี คือเป็นวิธีการท่ีคนทํางานต้องเจ็บตัว และการเจาะเลือดจะต้องทํา โดยบุคลากรทางการแพทยเ์ ท่าน้นั แนวทางในการเตรียมตัวอยา่ งเลอื ด มีดังนี้ [2]  ผู้ท่ีทําการเจาะเลือดเพื่อเก็บตัวอย่างเลือดจากคนทํางาน จะต้องเป็นบุคลากรทางการแพทย์ท่ี ได้รับอนุญาตตามกฎหมายให้ทําการเจาะเลือดไดเ้ ท่านั้น เช่น แพทย์ พยาบาล นักเทคนคิ การแพทย์  หากไม่ได้ระบุไว้เป็นอย่างอื่น ตัวอย่างเลือดที่นํามาใช้ในการตรวจหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพตามค่า อ้างอิง Thai Biological Markers (TBM) ให้หมายถึงตัวอย่างเลือดท่ีเจาะจากหลอดเลือดดํา (Venous blood) เทา่ นน้ั ไมใ่ ช้ตัวอย่างเลือดจากหลอดเลอื ดแดง (Arterial blood) และหลอดเลือดฝอย (Capillary blood)  โดยท่ัวไปให้ถือว่าการกระจายตัวของสารเคมีในเลือดของคนทํางานนั้นมีความเข้มข้นเท่ากันทุก ส่วน การเจาะเลือดเพื่อเก็บตัวอย่างเลือดไม่ว่าเก็บจากเส้นเลือดดําที่ตําแหน่งใดก็ตาม ให้ถือว่าสามารถนํามาใช้ วิเคราะห์ผลได้ (ข้อควรระวังมีในกรณีที่การสัมผัสสารเคมีในคนทํางานน้ันเป็นการสัมผัสทางผิวหนังท่ีบริเวณ แขนในปริมาณสูง ระดับสารเคมีที่ตรวจได้จากตัวอย่างเลือดท่ีเจาะมาจากหลอดเลือดบริเวณแขนอาจสูงกว่า ตวั อย่างเลอื ดทเี่ จาะมาจากหลอดเลือดบรเิ วณอืน่ ของร่างกายได้ [2])  การจะเกบ็ ตวั อยา่ งเลอื ดทเี่ จาะไดไ้ ว้ในรปู เลอื ดครบส่วน (Whole blood), พลาสมา (Plasma), หรือ ซีรมั (Serum) ให้ปฏบิ ัตติ ามคําแนะนําของห้องปฏิบัติการที่จะส่งตัวอย่างไปตรวจ การพิจารณาว่าตัวอย่างเลือด สามารถทําให้เม็ดเลือดแตกตัว (Hemolysis) ได้หรือไม่ ให้ปฏิบัติตามคําแนะนําของห้องปฏิบัติการท่ีจะส่ง ตวั อย่างไปตรวจเช่นกัน  หากต้องมีการใช้สารต้านการแข็งตัวของเลือด (Anticoagulant) ในการเตรียมตัวอย่าง การเลือกใช้ สารต้านการแข็งตัวของเลือดว่าเป็นสารชนิดใด ในปริมาณเท่าใด ให้ปฏิบัติตามคําแนะนําของห้องปฏิบัติการท่ี 30

จะส่งตัวอย่างไปตรวจ การใช้หลอดเก็บเลือดที่มีสารต้านการแข็งตัวของเลือดฉาบไว้ภายในแบบสําเร็จรูป สามารถใชใ้ นการเตรยี มตวั อยา่ งเลือดได้  ก่อนเจาะเลือดจะต้องมีการเช็ดทําความสะอาดผิวหนังบริเวณท่ีจะเจาะเลือดเสียก่อน ผู้ทําการ เจาะเลือดจะต้องทําความสะอาดผิวหนังจนไม่มีฝุ่นหรือคราบสารเคมีติดอยู่ท่ีผิวหนังของคนทํางานในบริเวณที่ จะเจาะเลือด เน่ืองจากหากมีฝุ่นหรือคราบสารเคมีติดอยู่ที่ผิวหนัง อาจทําให้เกิดการปนเป้ือนไปกับตัวอย่างเลือด ที่จะเก็บได้ การทาํ ความสะอาดผิวหนังมกั ทําการเชด็ ดว้ ยนํา้ ยาฆ่าเชือ้ เชน่ เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) หรือไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์ (Isopropyl alcohol) ส่ิงสําคัญในการเลือกน้ํายาฆ่าเชื้อคือ ในน้ํายาฆ่าเช้ือที่ใช้นั้น จะตอ้ งไม่มีสว่ นผสมของสารเคมีทเี่ ป็นตวั บ่งชที้ างชีวภาพทจ่ี ะทาํ การตรวจผสมอยดู่ ว้ ย  พึงระลึกไว้เสมอเม่ือทําการตรวจระดับโลหะในเลือดว่า ระดับโลหะบางชนิดในเลือดนั้น ปกติมี ความเข้มข้นในปริมาณท่ีน้อยมาก เช่น มีความเข้มข้นในระดับไมโครกรัมต่อลิตร การปนเปื้อนเพียงเล็กน้อย อาจทําให้ผลการตรวจวิเคราะห์ท่ีได้ผิดไปมากได้ แหล่งของการปนเปื้อนสามารถมาได้จากทั้งการเก็บตัวอย่าง เลือดมาจากผิวหนังท่ีไม่สะอาด (มีฝุ่นโลหะชนิดน้ันปนเปื้อนอยู่) และการปนเป้ือนจากหลอดเก็บเลือดท่ีมีธาตุ โลหะชนิดนั้นปนเปื้อนอยู่ (ปนเปื้อนมาต้ังแต่ในข้ันตอนการผลิต) การปฏิบัติตามข้ันตอนต่างๆ ท่ีช่วยลดการ ปนเปื้อนได้ ควรทาํ อย่างเคร่งครัด  คณะทํางานสนับสนุนให้ใช้หลอดเก็บเลือดชนิดที่ไม่มีส่วนผสมของโลหะ (ที่เรียกว่า Trace element blood collection tube หรือบางแห่งอาจเรียกว่า Metal-free container [2] ก็ได้) ซ่ึงมีลักษณะฝาหลอดเป็น สีนํ้าเงินเข้ม (Royal blue top) ในการเก็บตัวอย่างเลือดสาํ หรับส่งตรวจวิเคราะห์หาระดับโลหะในเลือดของ คนทํางาน [3] ควรนําหลอดชนดิ น้ีมาใชท้ กุ ครง้ั ถ้าสามารถทาํ ได้  เม่ือทําการเจาะเลือดใส่ในหลอดเก็บเลือดแล้ว ให้ทําการผสมเลือดกับสารป้องกันการแข็งตัวของ เลือดโดยการตะแคงหลอดไปมาอย่างนุ่มนวล ห้ามทําการเขย่าหลอดเก็บเลือดเด็ดขาด โดยเฉพาะในกรณีท่ีไม่ ต้องการให้เกิดภาวะเมด็ เลอื ดแตกตวั (Hemolysis)  ถ้าทําการตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพท่ีเป็นสารอินทรีย์ระเหยง่าย (Volatile organic compound) จะต้องใช้จกุ ยางอุดปิดหลอดเก็บเลือดเอาไว้ตลอดเวลาเพ่ือป้องกันการระเหย ห้ามเปิดฝาหลอดเก็บเลือดท้ิงไว้ เนื่องจากสารอนิ ทรีย์ระเหยง่ายจะสามารถระเหยออกไปจากตวั อยา่ งเลอื ดได้  พึงระลึกไว้เสมอวา่ หลอดเก็บเลือด (Blood collection tube) และจุกยาง (Rubber stopper) นั้น เป็นปัจจัยท่ีสามารถทําให้ค่าการตรวจวิเคราะห์ผิดไปจากความเป็นจริงได้ หลอดเก็บเลือดและจุกยางที่มีธาตุ โลหะปนเปอ้ื น อาจทาํ ให้ตรวจระดับโลหะในตวั อย่างเลอื ดออกมาได้สงู กวา่ ความเป็นจริง (แก้ไขได้โดยใช้หลอด เก็บเลือดชนิดท่ีไม่มีส่วนผสมของโลหะ) ส่วนจุกยางท่ีดูดซับสารเคมีไว้ได้ดีเกินไป อาจทําให้ตรวจระดับตัวบ่งชี้ ทางชวี ภาพออกมาไดต้ ่าํ กว่าความเป็นจรงิ (แก้ไขได้โดยใช้หลอดเก็บเลือดสําเรจ็ รปู ที่มีจกุ ยางในตัว)  ควรส่งตัวอย่างเลือดท่ีเก็บได้ ไปที่ห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ให้เร็วท่ีสุดเท่าที่จะทําได้ เช่น ภายใน 24 ชั่วโมงหลังจากเก็บตัวอย่างเลือดมาแล้ว ถ้าต้องมีการขนส่ง ควรจัดหีบห่อในการขนส่งด้วยความ 31

ระมดั ระวังเพ่ือไมใ่ หห้ ลอดเก็บเลือดเกิดการเสียหาย หลอดเก็บเลือดควรวางตัวอยู่ในแนวตั้งเสมอ และควบคุม อณุ หภูมใิ นระหว่างการขนส่งไวท้ ่ี 4 องศาเซลเซยี สโดยประมาณ  ในการเก็บตัวอย่างเลือดไว้เพ่ือรอการตรวจวิเคราะห์ โดยเฉพาะในกรณีที่ต้องมีการเก็บตัวอย่าง เลือดไวข้ ้ามคืน จะต้องเกบ็ ตวั อยา่ งเลอื ดนัน้ ไว้ที่อุณหภมู ิ 4 องศาเซลเซียสโดยประมาณ 2. แนวทางการเตรยี มตัวอยา่ งปสั สาวะ ปัสสาวะ (Urine) เป็นตัวอย่างทางชีวภาพอีกชนิดหนึ่งที่นิยมนํามาใช้ในการตรวจหาตัวบ่งช้ีทางชีวภาพ ของสารเคมีอันตราย ปัสสาวะเป็นของเหลวที่เกิดจากการขับของเสียออกจากร่างกายผ่านทางไตและระบบ ทางเดินปัสสาวะ ข้อดีของการตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพจากปัสสาวะคือเป็นวิธีการที่คนทํางานไม่ต้องเจ็บตัว และการเก็บตัวอย่างปัสสาวะทําได้ง่าย ส่วนข้อเสียคือมีโอกาสเกิดการปนเป้ือนในระหว่างการเก็บตัวอย่างได้ มากกวา่ เมอื่ เทียบกับการเจาะเลอื ด แนวทางในการเตรียมตวั อย่างปสั สาวะ มดี งั นี้ [2]  ในการเก็บตัวอย่างปัสสาวะน้นั จะใหค้ นทาํ งานเป็นผู้เก็บตัวอยา่ งปัสสาวะดว้ ยตนเอง  คนทํางานจะต้องล้างมือให้สะอาดก่อนเก็บตัวอย่างปัสสาวะทุกคร้ัง เน่ืองจากหากมีฝุ่นหรือคราบ สารเคมีปนเป้ือนที่มือของคนทํางาน อาจทําให้เกิดการปนเป้ือนลงในตัวอย่างปัสสาวะได้ (เช่น ในระหว่างท่ี คนทํางานเปิดและปิดฝากระปุกเก็บปัสสาวะ) โดยเฉพาะในกรณีท่ีทําการตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพท่ีเป็นโลหะ หนัก ซึ่งบางชนิดโดยปกติมีระดับความเข้มข้นในปัสสาวะอยู่ในระดับตํ่ามาก (เช่น ในระดับไมโครกรัมต่อลิตร) การปนเปื้อนฝุ่นโลหะจากส่ิงแวดล้อมภายนอกเพียงเล็กน้อย อาจทําให้ค่าตัวบ่งช้ีทางชีวภาพท่ีตรวจได้ผิดไป จากความเปน็ จริง  หากสามารถทําได้ การให้คนทํางานที่มีฝุ่นโลหะหรือคราบสารเคมีติดตามร่างกายและเสื้อผ้าอยู่ จํานวนมาก ทําการอาบนํ้าและเปลี่ยนเสื้อผ้าก่อนท่ีจะเก็บตัวอย่างปัสสาวะได้จะเป็นการปฏิบัติท่ีดีท่ีสุด [2] อยา่ งไรก็ตามในทางปฏบิ ตั ิจรงิ อาจทําไดค้ ่อนขา้ งยากลาํ บาก  ในการให้คนทํางานเป็นผู้เก็บตัวอย่างปัสสาวะเองนั้น พึงระลึกไว้ด้วยเสมอว่ามีโอกาสที่ตัวอย่าง ปัสสาวะท่ีได้จะมีความผิดพลาดทั้งโดยจงใจหรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ คนทํางานอาจใส่น้ําประปาหรือของเหลว อื่นๆ ผสมลงในตัวอย่างปัสสาวะเพ่ือให้มีปริมาณที่เพียงพอ (ห้องปฏิบัติการจะพอทราบได้ถ้าพบว่าระดับความ เข้มข้นของตัวอย่างปัสสาวะที่รับมาน้ันเจือจางมาก คือมีค่าความเข้มข้นของสารครีเอตินีนและค่าความถ่วง จําเพาะต่ํามาก) คนทํางานอาจใส่ปัสสาวะของเพื่อนร่วมงานมาแทนปัสสาวะของตนเอง (ด้วยความจงใจหรือ ถูกแกล้ง) เหล่านี้เป็นต้น ควรให้คําแนะนําคนทํางานเพื่อให้เกิดความใส่ใจในการเก็บตัวอย่างปัสสาวะอย่างถูก วิธที ุกคร้งั และหาหนทางป้องกันหากพบวา่ มคี วามผิดพลาดในการเกบ็ ตัวอยา่ งปัสสาวะเกิดขนึ้  การเกบ็ ปัสสาวะเพ่ือทําการตรวจหาระดับตัวบ่งช้ีทางชีวภาพน้ัน โดยส่วนใหญ่ในทางปฏิบัติจะทํา การเก็บแบบ ณ จุดเวลา (Spot urine) คือการเก็บปัสสาวะครั้งเดียวในเวลาท่ีกําหนด การเก็บแบบนี้จะแสดง ขอ้ มูลของปสั สาวะท่รี ่างกายผลิตออกมาไดใ้ นช่วง 2 – 4 ช่ัวโมงก่อนทําการเก็บ ข้อสําคัญของการเก็บปัสสาวะ แบบ ณ จุดเวลาก็คือ จะต้องให้คนทํางานเก็บปัสสาวะในเวลาท่ีกําหนดไว้ เช่น หากกําหนดให้เก็บหลังเลิกกะ 32

(End of shift) ก็ตอ้ งทาํ การเก็บในเวลาท่ีกําหนดนั้นจริงๆ โดยอาจต้องให้คนทํางานงดปัสสาวะอย่างน้อย 2 – 4 ชั่วโมงก่อนทําการเกบ็ ดว้ ย เพือ่ ให้มีปรมิ าณปัสสาวะเพยี งพอต่อการวิเคราะห์  การเก็บปัสสาวะให้เก็บใส่กระปุก โดยกระปุกใส่ปัสสาวะควรมีปริมาตรตั้งแต่ 50 มิลลิลิตรขึ้นไป และมีฝาที่ปิดได้สนิท ในระหว่างการเก็บปัสสาวะคนทํางานจะต้องระมัดระวังการปนเปื้อนฝุ่นหรือคราบ สารเคมีจากมือ ร่างกาย หรือเส้ือผ้าของตนเอง ไม่ให้ลงไปปนเปื้อนในกระปุกปัสสาวะ การเก็บสามารถถ่าย ปสั สาวะทง้ั หมดลงในกระปุกจนเต็มได้เลย ไมจ่ าํ เปน็ ตอ้ งเก็บแต่ปัสสาวะช่วงกลาง (Midstream urine) แบบเวลา ที่ทําการตรวจวิเคราะหป์ ัสสาวะ (Urine analysis)  เมอ่ื คนทาํ งานถา่ ยปสั สาวะลงในกระปกุ เกบ็ ปัสสาวะจนได้ปริมาณท่ีเพียงพอ (คือเต็มกระปุกพอดี) แล้ว ให้ทําการปิดฝากระปุกเก็บปัสสาวะโดยเร็ว ไม่ควรให้คนทํางานเปิดฝากระปุกใส่ปัสสาวะท้ิงไว้เป็น เวลานาน โดยเฉพาะในกรณีท่ีทําการตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพที่เป็นสารอินทรีย์ระเหยง่าย (Volatile organic compound) เน่ืองจากสารกลุ่มน้ีสามารถระเหยออกจากปัสสาวะได้ตลอดเวลา หากเปิดฝากระปุกเก็บ ปัสสาวะท้ิงไว้นานๆ อาจทําให้ค่าที่ตรวจวิเคราะห์ได้ตํ่ากว่าความเป็นจริง และในการเก็บปัสสาวะควรให้ ปัสสาวะมีปริมาณเต็มพอดีหรือเกือบพอดีกระปุก เนื่องจากหากเก็บปริมาณน้อยจนเหลือพ้ืนที่ที่เป็นอากาศ (Head space) ภายในกระปุกมากๆ แล้ว สารอนิ ทรียร์ ะเหยง่ายจะระเหยออกมาจากปัสสาวะ มาอยู่ในพื้นที่ท่ี เปน็ อากาศภายในกระปุกได้ ทําให้ค่าทีต่ รวจวิเคราะห์ได้อาจต่ํากว่าความเป็นจริง เมื่อคนทํางานนํากระปุกเก็บ ปัสสาวะมามอบให้เจ้าหน้าท่ีแล้ว อาจให้เจ้าหน้าท่ีทําการซีลฝากระปุกเก็บปัสสาวะด้วยสติ๊กเกอร์หรือเทปใส อกี ชน้ั หนงึ่ เพอ่ื ชว่ ยป้องกนั การระเหยของสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยง่ายออกสู่อากาศภายนอก  เมื่อได้รับตัวอย่างปัสสาวะมาแล้ว ควรนําตัวอย่างปัสสาวะท่ีได้ส่งไปท่ีห้องปฏิบัติการตรวจ วเิ คราะหโ์ ดยเร็วท่สี ดุ เทา่ ที่สามารถทาํ ได้ หากตอ้ งมกี ารขนส่งเป็นระยะทางไกล ควบคุมอณุ หภมู ิในระหวา่ งการ ขนส่งไว้ท่ี 4 องศาเซลเซียสโดยประมาณ ควรทําการจัดหีบห่อในการขนส่งด้วยความระมัดระวังเพื่อไม่ให้ กระปกุ เกบ็ ปัสสาวะตกและปสั สาวะหกรวั่ ไหล  ความเข้มข้นของตัวอย่างปัสสาวะมีผลต่อการตรวจวิเคราะห์ระดับตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ หาก ตัวอย่างปัสสาวะมีความเจือจางหรือเข้มข้นมากเกินไป จะไม่สามารถนํามาใช้ตรวจวิเคราะห์หาระดับตัวบ่งช้ี ทางชีวภาพอย่างน่าเชื่อถือได้ ระดับความเข้มข้นของตัวอย่างปัสสาวะที่ยอมรับให้นํามาใช้ตรวจวิเคราะห์ได้ จะต้องมคี วามเขม้ ข้นของสารครีเอตินีน (Creatinine concentration) อยู่ในช่วงระหว่าง 0.3 – 3.0 g/L หรือ มคี วามถว่ งจําเพาะ (Specific gravity) อยูใ่ นชว่ งระหว่าง 1.010 – 1.030 หากระดับความเข้มข้นของตัวอย่าง ปัสสาวะไม่อยู่ในช่วงดังกล่าวนี้ ห้องปฏิบัติการควรระงับการตรวจวิเคราะห์ แล้วให้คนทํางานเก็บตัวอย่าง ปัสสาวะมาใหม่ หากเก็บตัวอย่างปัสสาวะซํ้าแล้วยังไม่ได้ความเข้มข้นของตัวอย่างปัสสาวะอยู่ในช่วงดังกล่าว อาจเกดิ ปญั หาจากพยาธิสภาพในร่างกายของคนทาํ งาน (เช่น เป็นโรคเบาจืด) หรือเกิดปัญหาจากกระบวนการ เก็บตัวอย่างที่ผิดพลาด (เช่น คนทํางานเติมน้ําประปาเพ่ิมลงในตัวอย่างปัสสาวะเพื่อให้ได้ปริมาณเพียงพอโดย รู้เทา่ ไมถ่ ึงการณ์) ควรส่งตวั คนทํางานทา่ นนน้ั ไปพบแพทย์อาชีวเวชศาสตร์เพือ่ ประเมนิ หาสาเหตุ 33

 ในการเก็บตัวอย่างปัสสาวะไว้เพ่ือรอการตรวจวิเคราะห์ โดยเฉพาะในกรณีท่ีต้องเก็บไว้ข้ามคืน ควรเก็บตัวอย่างปัสสาวะน้ันไว้ท่ีอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสโดยประมาณ และหากต้องเก็บไว้นานมากกว่า 5 วัน จะตอ้ งเกบ็ แบบแชแ่ ข็ง (Frozen urine) เอกสารอา้ งอิง 1. Lauwerys RR, Hoet P. Industrial chemical exposure: Guidelines for biological monitoring 3rd ed. Florida: CRC Press; 2001. 2. American Conference of Governmental Industrial Hygienists (ACGIH). Documentation of the threshold limit values for biological exposure indices, 7th ed. Cincinnati: ACGIH; 2017. 3. Wechphanich S, Thammarat P. A survey of metal contamination in blood collection tubes on toxicology assays. The Bangkok Medical Journal 2017;13(2):5-10. 34

ภาพท่ี 1 แสดงแนวทางการเตรียมตัวอย่างเลือด ภาพ A. = ไม่ควรเจาะเลือดหากแขนคนทํางานเปรอะเป้ือน, ภาพ B. = ควรแนะนําใหค้ นทํางานล้างแขนบรเิ วณท่จี ะทําการเจาะเลือดให้สะอาด, ภาพ C. = ก่อนทําการเจาะ เลือด บุคลากรทางการแพทย์จะต้องเช็ดผิวหนังบริเวณท่ีจะทําการเจาะเลือดให้สะอาดและปลอดเช้ือเสียก่อน, ภาพ D. = ภาพหลอดเก็บเลือดชนิดฝาสีม่วงลาเวนเดอร์ (Lavender top) ในด้านซ้าย เปรียบเทียบกับฝาสีน้ํา เงินเข้ม (Royal blue top) ในด้านขวา แนะนําให้ใช้หลอดเก็บเลือดฝาสีน้ําเงินเข้มในการเก็บตัวอย่างเลือดเพ่ือ ส่งวเิ คราะหห์ าระดบั โลหะในเลือดทุกครั้ง หากสามารถทาํ ได้ 35

ภาพท่ี 2 แสดงแนวทางการเตรียมตัวอย่างปัสสาวะ ภาพ A. = หากมีฝุ่นหรือคราบสารเคมีปนเปื้อนที่มือของ คนทาํ งาน อาจทาํ ให้เกดิ การปนเปอื้ นลงในตัวอย่างปสั สาวะได้ เช่น ในระหว่างที่คนทํางานเปิดและปิดฝากระปุก เก็บปัสสาวะ, ภาพ B. = มือของคนทํางานที่สะอาด ช่วยลดโอกาสในการปนเป้ือน, ภาพ C. = คนทํางานต้อง ล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังเก็บตัวอย่างปัสสาวะทุกครั้ง, ภาพ D. = ถ่ายปัสสาวะลงในกระปุกเก็บปัสสาวะ ใหป้ รมิ าณเพยี งพอ (เต็มกระปกุ พอด)ี แล้วปดิ ฝาใหส้ นิท หา้ มเปิดฝากระปกุ เกบ็ ปสั สาวะตง้ั ทิ้งไว้นานๆ 36

สว่ นท่ี 2 37

หนา้ วา่ ง 38

ตอน สารหนู (Arsenic) เรยี บเรยี งโดย นพ.ววิ ัฒน์ เอกบูรณะวฒั น์ ผอู้ าํ นวยการศนู ย์วิชาการอาชีวเวชศาสตร์ รพ.กรงุ เทพระยอง และแพทยท์ ่ปี รึกษาด้านอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และพิษวทิ ยา บรษิ ทั National Healthcare Systems, Co. Ltd. (N Health) วันท่เี ผยแพร่ 15 มิถนุ ายน 2560 ารหนู (Arsenic) เป็นธาตุกึ่งโลหะชนิดหน่ึงที่พบได้ท่ัวไปในเปลือกโลก โดยเราอาจพบสารหนูในรูป ธาตุบริสุทธิ์ (Elemental form) หรือในรูปสารประกอบ (Arsenic compound) ทั้งสารประกอบ อินทรีย์ของสารหนู (Organic arsenic compound) และสารประกอบอนินทรีย์ของสารหนู (Inorganic arsenic compound) สารหนูและสารประกอบของสารหนูส่วนใหญ่นั้นมีพิษร้ายแรง ก่อให้เกิด อาการต่อระบบร่างกายแทบทุกระบบ เช่น ระบบทางเดินอาหาร ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบประสาท ระบบเลือด ระบบผิวหนัง หากได้รับสารหนูในปริมาณสูงแบบเฉียบพลันสามารถทําให้เสียชีวิตได้ นอกจากนี้ สารหนูในรูปธาตุบริสุทธ์ิและสารประกอบอนินทรีย์ยังเป็นสารท่ีมีฤทธิ์ก่อมะเร็งปอด มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ และมะเรง็ ผิวหนังในมนุษย์ไดอ้ กี ด้วย [1] หากกล่าวโดยทั่วไปแล้ว สารประกอบอนินทรีย์ของสารหนูจะมีความเป็นพิษมากกว่าสารประกอบอินทรีย์ของ สารหนู แต่ก็มีข้อยกเว้นสําหรับสารประกอบอินทรีย์ของสารหนูบางชนิด เช่น สาร Lewisite ซ่ึงใช้เป็นอาวุธ ทางเคมี แม้ว่าเป็นสารประกอบอินทรีย์ของสารหนูแต่ก็มีพิษที่ร้ายแรงเช่นกัน อะตอมของสารหนูที่อยู่ใน สารประกอบตา่ งๆ น้นั จะพบได้อยู่สองวาเลนซี (Valencies) คือแบบไตรวาเลนต์ (Trivalent หรือ 3-Valent) ซึ่งจะเรียกสารประกอบสารหนูพวกน้ีว่าอาร์เซไนต์ (Arsenite) สัญลักษณ์คือ As (III) กับแบบเพนตาวาเลนต์ (Pentavalent หรือ 5-Valent) ซ่ึงจะเรียกสารประกอบสารหนูพวกนี้ว่าอาร์เซเนต (Arsenate) สัญลักษณ์คือ As (V) [2] สารประกอบของสารหนใู นรปู As (III) มกั จะพษิ มากกว่าในรูป As (V) เราสามารถพบสารหนูปนเป้ือนอยู่ได้ทั่วไปในส่ิงแวดล้อม [1-3] เช่น อยู่ในช้ันหินและดิน ปนเปื้อนอยู่ในน้ําดื่ม น้ําจากบอ่ บาดาล นาํ้ เสยี จากเหมอื งแรด่ บี กุ [4] และเหมืองทอง [5] ในประเทศไทยเคยมีกรณกี ารปนเป้ือนของ สารหนูในสิ่งแวดลอ้ มท่ี อ.รอ่ นพิบูลย์ จ.นครศรธี รรมราช ซึ่งเป็นพืน้ ที่ทมี่ กี ารทาํ เหมอื งดบี กุ มายาวนานกวา่ รอ้ ย ปี ทาํ ให้ประชาชนในพ้ืนที่เป็นมะเร็งผิวหนัง และเด็กมีระดับสติปัญญาตํ่า [4] สารหนูสามารถปนเปื้อนอยู่ใน 39

อาหาร เช่น ข้าว โดยเฉพาะที่ปลูกอยู่ใกล้แหล่งท่ีปนเป้ือน [6] และยังพบสารหนูปนเป้ือนได้ในบุหรี่ [7] ยาหม้อ ยาลูกกลอน และยาสมุนไพรโบราณที่ไม่ได้มาตรฐาน [8] การปนเปื้อนในอากาศของสารหนูสามารถเกิดขึ้นได้ หากมีการเผาไหม้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมหรือถ่านหินจากแหล่งที่มีสารหนูปนเป้ือนอยู่ สารหนูอาจถูกใช้เป็นยา พิษสาํ หรับฆาตกรรม สว่ นในวงการแพทย์ก็มีการนําสารหนูมาใช้เป็นยา เช่น ยา Melarsoprol ใช้ในการรักษา โรค Trypanosomiasis กับ Arsenic trioxide ใช้เป็นยาต้านมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด Acute promyelocytic leukemia [9] ในวงการทหารมีการใช้เป็นอาวุธเคมี เช่น สาร Lewisite ส่วนในอุตสาหกรรมเล้ียงสัตว์ มีการ นําสารประกอบของสารหนูมาใช้ผสมในอาหารเลี้ยงสัตว์พวกหมูและไก่ เพ่ือป้องกันโรคลําไส้และเร่งโต [10] ในทางการเกษตร มีการใช้สารประกอบของสารหนู เช่น Cocadylic acid, Monosodium methanearsonate (MSMA), Disodium methanearsonate (DSMA) มาผสมในยาฆ่าแมลงและยาปราบศัตรูพืชบางสูตร ใน อุตสาหกรรมเหมืองแร่ ถลุงแร่ หลอมแร่ หากแร่น้ันมีสารประกอบของสารหนูปนเป้ือนอยู่ด้วย คนทํางานก็มี โอกาสได้รับสัมผัสสารหนูได้ สารหนูถูกใช้ผสมกับตะกั่วในปริมาณเล็กน้อย เพื่อให้ได้โลหะอัลลอย (Alloy) ท่ีมี ความแข็งแกร่ง ใช้ทําแบตเตอรี่รถยนต์และกระสุน สารหนูถูกใช้ผสมกับทองแดงและดีบุก เพื่อทําโลหะผสม ชอื่ Arsenical bronze ในอดีตสารประกอบของสารหนูใช้เป็นรงควัตถุสีเขียว ท่ีมีช่ือว่า Paris green (Emerald green) และ Scheele’s green สารประกอบของสารหนูในรูปแก๊ส คือ Arsine ถูกนํามาใช้ผลิตสาร Gallium arsenide ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตสารกึ่งตัวนํา (Semiconductor) สารประกอบของสารหนูชื่อ Chromated copper arsenate (CCA) นาํ มาใช้เปน็ ส่วนผสมของน้าํ ยารกั ษาเน้อื ไม้ (ใช้อาบนํ้ายาในท่อนซุงท่ี ตัดออกมา ก่อนที่จะนําไม้น้ันไปใช้ทําส่วนประกอบของอาคาร ระเบียง ร้ัว สะพาน เสาไฟฟ้า เครื่องเล่นสนาม เป็นต้น) สาร CCA [CAS number: 37337-13-6] น้ี เปน็ สารหา้ มใชใ้ นประเทศสหรัฐอเมริกาต้ังแต่ปี ค.ศ. 2003 [11] แต่ยังอนุญาตให้ใช้ได้ในบางประเทศ ในประเทศไทยสารเคมีนี้ยังไม่อยู่ในบัญชีรายชื่อวัตถุอันตรายฉบับปี พ.ศ. 2556 [12] สารประกอบของสารหนู ยังถูกใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตกระจกบางชนิด ใช้ในกระบวนการ รกั ษาสภาพขนและหนงั สตั ว์สตาฟฟ์ (Taxidermy) ในอาหารท่ัวไปนั้นสามารถมีสารหนูปนเป้ือนอยู่ได้ในระดับ ตํา่ ๆ ทั้งปนเป้ือนจากในเน้ืออาหารเองอย่างกลุ่มอาหารทะเล (Seafood) หรือจากกระบวนการเตรียมอาหาร เช่น การใช้นา้ํ ที่ปนเปื้อนสารหนูเตรียมอาหาร [7] หากกล่าวถึงในอาหารท่ัวๆ ไป อาหารกลุ่มอาหารทะเลจะ เป็นกลุ่มที่มีสารประกอบของสารหนูปนเป้ือนอยู่มากท่ีสุด โดยอาจปนเปื้อนอยู่ในรูปสารประกอบอินทรีย์หรือ สารประกอบอนินทรีย์ก็ได้ [3] องค์กร International Agency for Research on Cancer (IARC) ประมาณ การไว้ว่า สารประกอบของสารหนูที่ปนเป้ือนอยู่ในเน้ืออาหารโดยท่ัวไปนั้น จะอยู่ในรูปสารประกอบอนินทรีย์ ประมาณ 25 % [1] สําหรบั การตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพ (Biomarker) ของการรับสัมผัสสารหนูจากการทํางาน องค์กร American Conference of Governmental Industrial Hygienists (ACGIH) กําหนดค่า Biological Exposure Indices (BEI) ฉบับปี ค.ศ. 2017 ให้ทําการตรวจตัวบ่งช้ีทางชีวภาพของการสัมผัส Arsenic, elemental and soluble inorganic compounds (excludes gallium arsenide & arsine) ด้วยการตรวจ Inorganic arsenic plus 40

methylated metabolites in urine เม่ือจบสัปดาห์การทํางาน (End of workweek) ค่าท่ีกําหนดคือไม่เกิน 35 μg As/L [13] เนื่องจากสารหนูเป็นสารท่ีไม่มีบทบาททางชีวภาพในร่างกายของมนุษย์ [14] คือจัดว่าเป็นสารแปลกปลอมใน รา่ งกาย เราจึงสามารถนําการตรวจระดับสารหนูในร่างกายมาใช้เป็นการตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของการทํางาน สัมผัสสารหนูได้ โดยองค์กร ACGIH แนะนําให้ทําการตรวจระดับสารหนูในปัสสาวะ (Urine) แต่ไม่แนะนําให้ทํา การตรวจระดับสารหนูในเลือด (Blood) สาเหตุเน่ืองจากปกติแล้วสารหนูจะดูดซึมเข้าสู่ร่างกายและถูกกําจัด ออกไปอย่างรวดเร็ว ทําให้ระดับสารหนูในเลือดมักจะลดลงอย่างรวดเร็วหลังจากสารหนูดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย ค่าที่ ตรวจไดจ้ ึงมักมคี วามแปรปรวนสูง [3] องคก์ ร ACGIH ไมแ่ นะนาํ ใหท้ ําการตรวจระดบั สารหนูในผม (Hair) และ เลบ็ (Fingernail) เพอ่ื การเฝา้ ระวงั ทางดา้ นสขุ ภาพเช่นกัน [3] แมว้ า่ การตรวจน้ีจะถกู นาํ มาใชใ้ นระดับงานวิจัย เน่ืองจากข้อมูลในปัจจุบันยังมีน้อย และมีโอกาสท่ีตัวอย่างจะมีการปนเป้ือนสูง [3] เช่น การมีผงฝุ่นท่ีเป็น สารประกอบของสารหนูติดอยู่ที่เส้นผมที่เก็บตัวอย่าง ซึ่งหากเกิดขึ้นจะยากมากที่ผู้เก็บตัวอย่างส่งตรวจจะ ทราบได้ [15] นอกจากนยี้ ังเคยมกี ารศึกษาพบว่าค่าที่ตรวจได้มักมีความแปรปรวนสูงมาก คือหากแบ่งเส้นผมเส้น เดียวกันไปส่งตรวจท่ีห้องปฏิบัติการหลายๆ แห่ง ค่าท่ีตรวจได้จากแต่ละแห่งอาจแตกต่างกันมากเป็น 10 เท่า ไดเ้ ลยทีเดยี ว [16] การตรวจระดับสารหนูในปัสสาวะจึงเป็นการตรวจท่ีองค์กร ACGIH แนะนํามากที่สุด โดยการตรวจระดับสาร หนูในปัสสาวะนั้นก็ยังแบ่งเป็นอีก 2 แบบ แบบแรกคือการตรวจระดับสารหนูรวมในปัสสาวะ (Total arsenic in urine) การตรวจแบบน้ี เป็นการตรวจระดับสารหนูในรูปสารประกอบอินทรีย์และอนินทรีย์ท้ังหมดทุกชนิด ในปัสสาวะของคนทํางาน ซ่ึงเป็นการตรวจที่องค์กร ACGIH ไม่แนะนําให้ตรวจ [3] เน่ืองจากมีโอกาสพบผลสูง ลวงได้มาก จากการตรวจพบสาร Arsenobetaine ซึ่งเป็นสารประกอบอินทรีย์ของสารหนูที่ไม่มีข้อมูลว่ามี ความเปน็ พิษ [1] รวมถึงสารประกอบอนิ ทรยี ์ของสารหนูกลุ่มอ่ืนๆ อย่าง Arsenocholine และ Arsenosugar ด้วย [3] ซ่ึงสารประกอบอินทรีย์ของสารหนูเหล่าน้ีพบได้อยู่ในเนื้อปลา (Fish) กุ้ง ปู (Shellfish) หอย (Mollusk) สาหร่ายทะเล (Seaweed) และซูชิ (Sushi) การศึกษาขนาดใหญ่การศึกษาหนึ่งพบว่า หากกินอาหารทะเล เหล่านี้เขา้ ไป จะทําให้ระดบั สารหนูรวมในปสั สาวะมรี ะดบั สูงข้ึนไดแ้ น่นอน [17] การศกึ ษาทบทวนขอ้ มูลผู้ป่วย 12 ราย ซึ่งทุกรายมีประวัติกินอาหารทะเลในช่วง 2 – 3 วันก่อนตรวจปัสสาวะ ทําให้พบระดับสารหนูรวมใน ปัสสาวะมีค่าสูงเฉล่ียถึง 291 μg/L (พิสัย 44 – 907 μg/L) แต่เม่ือนําตัวอย่างปัสสาวะเดียวกันของผู้ป่วยแต่ละ ราย ไปตรวจหาแยกเฉพาะระดับสารหนอู นินทรยี ์ ปรากฎวา่ ตรวจหาสารหนูอนนิ ทรยี ์ไมพ่ บเลย (Non-detected) ในผู้ปว่ ยทุกราย [18] การตรวจหาระดับสารหนูในปัสสาวะแบบที่ 2 ก็คือการตรวจระดับสารหนูอนินทรีย์และ Methylated metabolites (Inorganic arsenic plus methylated metabolites) ซึ่งเป็นการตรวจที่องค์กร ACGIH 41

แนะนําให้ใชเ้ ป็นตัวบ่งชท้ี างชวี ภาพในการเฝ้าระวงั สขุ ภาพคนทาํ งานสัมผัสสารหนู [3] การตรวจนี้คือการตรวจ แยกดูเฉพาะระดับสารหนูในรูปสารประกอบอนินทรีย์ท้ังหมด กับสารหนูในรูปสารประกอบอินทรีย์อีก 2 ชนิด ได้แก่ Monomethylarsonic acid (MMA) และ Dimethylarsinic acid (DMA) ซึ่งเป็นสารที่เกิดขึ้นจาก กระบวนการเมตาบอไลซส์ ารหนูอนนิ ทรยี ใ์ นร่างกายของมนุษย์ การตรวจน้ีมีราคาสูงกว่าการตรวจสารหนูรวมใน ปัสสาวะ [19] อาจหาห้องปฏิบัติการส่งตรวจได้ยาก แต่ปัจจุบันก็มีห้องปฏิบัติการที่สามารถทําการตรวจได้แล้ว ในประเทศไทย [19] การตรวจแบบน้ีจะช่วยลดปัญหาการเกิดผลสูงลวง เนื่องจากการได้รับสารประกอบอินทรีย์ ของสารหนกู ลุม่ Arsenobetaine ในอาหารทะเลได้ ในกระบวนการเมตาบอลสิ มข์ องสารประกอบอนนิ ทรยี ข์ องสารหนูในร่างกายมนุษย์น้ัน สารประกอบในรูป As (V) จะสามารถเปล่ียนแปลงแบบกลับไปมาเป็นสารประกอบในรูป As (III) ได้ [3, 15] สารประกอบในรูป As (III) จะถูกเปล่ียนแปลงด้วยปฏิกิริยา Methylation เป็นสาร MMA และจากนั้นสาร MMA จะเปล่ียนแปลงเป็นสาร DMA เปน็ ลําดับสดุ ท้าย [3, 15] ซ่ึงสารเหล่าน้ีทุกชนิดจะถูกขับออกจากร่างกายให้ตรวจพบได้ในปัสสาวะ โดย จะขับออกมาในรูปสาร DMA มากที่สุด [20-21] เน่ืองจากกลไกการเมตาบอลิสม์ของสารประกอบอนินทรีย์ของ สารหนูเป็นดังแบบท่ีกล่าวมา ทาํ ให้ในการประเมนิ การสมั ผสั สารประกอบอนินทรีย์ของสารหนูทั้งในรูป As (III) และ As (V) จึงต้องทําการตรวจวัดท้ังระดับสารประกอบอนินทรีย์ของสารหนู (Inorganic arsenic compound) บวกกับระดับสาร MMA และ DMA ด้วย จึงจะสามารถประเมินได้อย่างครบถ้วน [3, 15] สําหรับตัวสาร Methylated metabolites ของสารประกอบอนินทรีย์ของสารหนู คือสาร MMA และ DMA เองนั้น มีข้อมูล ว่ามคี วามเปน็ พิษตอ่ รา่ งกายของมนุษยเ์ ชน่ กนั และอาจจะเป็นสารกอ่ มะเร็งในมนษุ ยด์ ว้ ย [1] การตรวจปัสสาวะหาระดับสารหนูอนินทรีย์ (Inorganic arsenic) และ Methylated metabolites (ได้แก่ สาร MMA และ DMA) ในปัสสาวะนั้น จึงเป็นการตรวจประเมินการสัมผัสสารหนูในรูปธาตุบริสุทธิ์ (Elemental form) หรือในรูปสารประกอบอนินทรีย์ที่ละลายนํ้าได้ (Soluble inorganic compound) จากการทํางานที่ องค์กร ACGIH แนะนําให้ใช้ [13] อย่างไรก็ตามมีสารประกอบของสารหนู 2 ชนิดท่ีองค์กร ACGIH ไม่แนะนํา ให้ใช้การตรวจนี้เป็นตัวบ่งชี้ทางชีวภาพเพื่อประเมินการสัมผัส [13] คือสาร Gallium arsenide เน่ืองจากสาร น้ีละลายนํ้าได้น้อยมาก [3] และแก๊ส Arsine เนื่องจากสารนี้ก่อพิษแบบเฉียบพลัน คือทําให้เม็ดเลือดแดงแตก และไมม่ ีรายงานชดั เจนถึงการก่อพิษแบบเรื้อรัง [2] จึงไม่มีประโยชน์ท่ีจะตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพเพ่ือประเมิน การสัมผสั เพ่ือดูความผิดปกตใิ นระยะยาว [3] ในการเก็บปัสสาวะเพื่อตรวจ Inorganic arsenic plus methylated metabolites นั้น องค์กร ACGIH แนะนําให้ทาํ การเก็บหลังการทํางานในวันสุดท้ายของสัปดาห์ (End of workweek) [3] สาเหตุที่แนะนําให้ ต้องเก็บปัสสาวะหลังการทํางานในวันสุดท้ายของสัปดาห์ เนื่องจากข้อมูลที่มีในปัจจุบันบ่งชี้ว่าการขับสารหนู 42

ออกจากร่างกายทางปัสสาวะน้ัน มีการสะสมเพิ่มขึ้นในระหว่างสัปดาห์การทํางาน [22-23] การตรวจในวัน สดุ ทา้ ยของสปั ดาหก์ ารทํางานจงึ ใหค้ ่าทีถ่ กู ต้องที่สุด สาํ หรบั ค่ามาตรฐานท่อี งค์กร ACGIH กําหนดไว้ท่ีไม่เกิน 35 μg As/L น้ัน [3] เป็นการกําหนดโดยพิจารณาอ้างอิง มาจาก 2 เหตุผลหลัก [3] เหตุผลแรกคือมีการศึกษาวิจัยจํานวนมาก ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของการสัมผัส สารหนูอนินทรีย์ในการทํางาน กับปริมาณการขับสารหนูอนินทรีย์ออกจากร่างกายทางปัสสาวะ ที่พบว่าจะ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน [23-26] จึงเช่ือได้ว่าการตรวจระดับสารหนูอนินทรีย์ในปัสสาวะ จะนํามาใช้เป็นตัว บ่งชี้ทางชีวภาพเพื่อประเมินการสัมผัสสารประกอบอนินทรีย์ของสารหนูได้ เหตุผลที่ 2 มาจากงานศึกษาวิจัย ขนาดใหญ่ [27] ทว่ี ิเคราะห์ข้อมูลในคนทํางานโรงหลอมทองแดง (Copper smelter) ท่ีมีการทาํ งานสัมผัสสาร หนูจํานวน 2,802 คน ซึ่งพบความสัมพันธ์แบบ Linear correlation ของระดับสารหนูอนินทรีย์ในปัสสาวะ คนทํางานกับ Standard mortality ratio (SMR) จากโรคมะเร็งปอด (Lung cancer) ซึ่งหากระดับสาร หนูอนินทรีย์ในปัสสาวะมีค่าเท่ากับ 35 μg As/L แล้ว ค่า SMR จากโรคมะเร็งปอดจะเท่ากับ 1.06 [3, 27] (ค่า SMR เทา่ กับ 1.00 หมายถงึ จาํ นวนการตายจากโรคมะเร็งปอดในคนทํางานกลุ่มที่ศึกษานั้นเท่ากับจํานวน การตายจากโรคมะเรง็ ปอดในคนทว่ั ไป) ซ่ึงพออนมุ านไดว้ า่ ถ้ากาํ หนดใหร้ ะดบั สารหนูอนนิ ทรยี ์ในปัสสาวะมีค่า ไม่เกิน 35 μg As/L แล้ว อัตราการตายจากโรคมะเร็งปอดในคนทํางานท่ีสัมผัสสารหนูอนินทรีย์จะไม่มากกว่า อัตราการตายจากโรคมะเรง็ ปอดในคนทั่วไป [3] จากทก่ี ลา่ วมา แม้จะดเู หมอื นว่าการตรวจ Inorganic arsenic plus methylated metabolites ในปัสสาวะ นั้น เป็นการตรวจทด่ี ีมาก แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม การตรวจนกี้ ็ยงั มีข้อจาํ กดั อยู่เช่นกัน คือการตรวจน้ียังมีโอกาสพบผลสูง ลวงได้ เนื่องจากไม่สามารถแยกการสัมผัสสารหนูอนินทรีย์จากสิ่งแวดล้อม (Environmental exposure) ออก จากการสัมผัสสารหนูอนินทรีย์จากการทํางาน (Occupational exposure) ในการตรวจ Inorganic arsenic plus methylated metabolites เพ่อื ใชเ้ ป็นตวั บ่งชีท้ างชีวภาพในคนทาํ งานทสี่ มั ผสั สารหนแู ละสารประกอบอนินทรีย์ ของสารหนูจากการทาํ งานนั้น จึงยงั จําเปน็ ต้องซักประวตั กิ ารสัมผสั สารหนจู ากแหล่งต่างๆ ในสิ่งแวดล้อม และ ประวัติการกินอาหารทะเลในช่วง 2 – 3 วันก่อนทําการเก็บปัสสาวะด้วยเช่นเดียวกับการตรวจสารหนูรวมใน ปัสสาวะ แหล่งต่างๆ ในสิ่งแวดล้อมที่อาจทําให้เกิดการสัมผัสสารหนูอนินทรีย์ได้ เช่น การดื่มน้ําจากแหล่งที่ ปนเปื้อน [4] การกินข้าวจากแหล่งที่ปนเปื้อน [6] การสูบบุหรี่ [7] การกินยาหม้อ ยาลูกกลอน ยาสมุนไพร โบราณ [8] รวมถึงการกินอาหารทะเล [3, 15] เน่ืองจากในอาหารทะเลโดยทั่วไปน้ัน นอกจากจะมีสารประกอบ อินทรีย์ของสารหนู เช่น Arsenobetaine อยู่แล้ว ก็ยังมีสารประกอบอนินทรีย์ของสารหนูปนเปื้อนอยู่ด้วย เช่นกัน [1, 3] ตัวอย่างของอาหารทะเลที่มีสารหนูอนินทรีย์ปนเปื้อนอยู่สูง เช่น สาหร่ายทะเลญี่ปุ่นสีน้ําตาล (Hijiki seaweed) [28-29] อีกตัวอย่างหนึ่งคือ มีการศึกษาพบว่า การกินหอยแมลงภู่ (Mussel) นั้น สามารถ เพ่ิมการขับสาร DMA ออกทางปัสสาวะได้ [30-31] การซักประวัติข้อมูลการสัมผัสสารหนูอนินทรีย์จากแหล่ง ทางส่งิ แวดลอ้ มทอี่ าจเปน็ ไปได้เหล่านี้ ลว้ นแตม่ คี วามสาํ คัญท่จี ะสง่ ผลต่อการแปลผลการตรวจทง้ั ส้ิน 43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook