Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore rattanaporn

rattanaporn

Published by rattanaporn270439, 2018-01-24 23:21:43

Description: rattanaporn

Search

Read the Text Version

การแจกแจงความถี่ของข้อมลู (frequency distribution of data) การแจกแจงความถี่ (frequencydistribution) คอื การจัดข้อมลู สถิติ (จานวนมาก)ใหเ้ ป็นหมวดหมู่ (grouped data) เพ่ือความเป็นระเบยี บเรยี บร้อยสะดวกในการวเิ คราะห์ข้อมลู และเหมาะสมในการหาค่าสถติ ิขั้นสงู ต่อไป จากข้อมูลซึ่งเป็นคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียน 20 คน ในโรงเรียนแห่งหนึ่งเป็นดงั นี้84,61,80,65,72,80,85,64,90,79,76,65,73,70,85,75,62,89,62,93จะเหน็ วา่ คะแนนดิบขา้ งบนนีย้ งั ไมส่ ะดวกในการพิจารณาค่าทางสถติ ิ เพื่อใหส้ ะดวกยงิ่ ข้ึนจึงนาขอ้ มูลเหล่าน้มี าปรับปรุงใหม่ซ่ึงกระทาได้ 2 วิธคี ือ 1. จัดเรียงข้อมูลจากมากไปหาน้อยหรือจากน้อยไปหามากทาให้เห็นความแตกต่างของคะแนนได้คือ 93,90,89,85,85,84,80,80,79,76,75,73,72,70,65,65,64,62,62,61 ซ่ึงลกั ษณะเช่นนี้เรียกว่าข้อมูลท่ีไม่ได้แจกแจงความถี่ ถ้ามีข้อมูลจานวนมาก จะทาให้เสียเวลาและการคานวณคา่ สถติ กิ ็ไม่สะดวก เพือ่ ใหส้ ะดวกจะต้องใชว้ ิธที ่ี 2 คอื 2. การสรา้ งตารางแจกแจงความถ่ี ในลกั ษณะวิชาสถิติ ตวั แปร (variable) หมายถงึลักษณะท่ัวๆไปของข้อมูลที่เราจะศึกษา โดยทั่วไปใช้ X เป็นสัญลักษณ์ เช่น ตามข้อมูลท่ียกตัวอย่างข้างต้น ตัวแปร X ใช้แทนคะแนนสอบ ซึ่งมีคะแนนเต็ม 100 คะแนนซ่ึงคะแนนสอบทเี่ ปน็ ไปได้คือ 0,1,2,3,………,100ในเชงิ วชิ าสถิติเรียกคะแนนเหลา่ น้ีว่า “ คา่ ท่เี ป็นไปได้ ” และคะแนนท่ีนักเรียนแต่ละคนทาไดด้ งั ปรากฏในตวั อยา่ งน้ีเรียกว่า “ ค่าจากการสงั เกต ”

จากตารางแจกแจงความถีต่ ่อไปน้ีต่อไปน้ี ใชป้ ระกอบคาอธิบายคาศัพทท์ ี่สาคัญอันตรภาคช้นั รอยขดี ความถี่ ขอบล่าง ขอบบน ขดี จากดั ล่าง ขีดจากดั บน จุดกึ่งกลางชน้ั61-67  6 60.5 67.5 61 67 6468-74  3 67.5 74.5 68 74 7175-81  5 74.5 81.5 75 81 78  3 81.5 88.582-88  3 88.5 95.5 82 88 8589-95 89 95 92 N=20

คาศพั ทท์ สี่ าคญั1. อันตรภาคช้ัน (class interval) คอื แตล่ ะช้นั ของคะแนน เช่น จากตารางมี5 อันตรภาคชน้ั2. รอยขดี คือคา่ จากการสังเกตในแตล่ ะอนั ตรภาคชัน้ (ไมม่ กี ็ได้)3. ความถี่ (frequency) ใชส้ ญั ลักษณ์ f คอื จานวนครง้ั ทค่ี า่ จากการสงั เกตปรากฏในขอ้ มลู(ผลรวมของรอยขดี ) ถ้าไม่มขี อ้ มูลห้ามใสเ่ ลข “0”ลงไป ให้ใชเ้ ครื่องหมาย – แทน4. ขอบล่าง (lower boundary) คือค่าก่ึงกลางระหว่างค่าทีน้อยที่สุดของชั้นนั้นกับค่าที่มาก 75 74ทส่ี ดุ ของช้นั รองลงไป เช่น ขอบลา่ งของอนั ตรภาคชั้น 75-81 คอื 2  74.55. ขอบบน (upper boundary) คือค่าก่ึงกลางระหว่างค่าที่มากที่สุดของช้ันน้ันกับค่าที่น้อย 81 82ท่สี ุดของช้นั ถัดไป เชน่ ขอบบนของอันตรภาคช้ัน 75-81 คอื 2  81.5หมายเหตุ เพ่ือความสะดวกและรวดเรว็ การหาขอบบนและขอบล่าง- ถ้าข้อมูลเป็นจานวนเต็ม เช่น อันตรภาคช้ัน 68-74 ขอบล่างจะลดลงจากค่าต่าสุด 0.5 คือ67.5 ขอบบนจะเพิ่มจากคา่ สงู สดุ 0.5 คือ 74.5- ถา้ ข้อมลู เปน็ ทศนยิ ม เชน่ อันตรภาคชัน้ 2.0 – 4.9 ขอบล่างและขอบบนจะลดและเพ่ิม 0.05จะได้ขอบล่างคอื 1.95 ขอบบนคอื 4.95

6. ขีดจากัดบน (upper limit) และขีดจากัดล่าง (lower limit) คือค่าที่สูงที่สุดและค่าต่า ท่ีสุดของอันตรภาคชั้นนั้นๆ เช่น อันตรภาคชั้น 68-74 ขีดจากัดล่างคือ 68 และขีดจากัด บนคือ 74 (*ในการคานวณสว่ นมากจะไมค่ อ่ ยได้ใช้ จะใชข้ อบบนและขอบล่างเป็นส่วนมาก)7. ขนาดของอันตรภาคช้นั (size of class interval) ใชแ้ ทนดว้ ยสญั ลักษณ์ I หรอื iคือ ความกวา้ งของอันตรภาคชน้ั หาไดจ้ าก ผลต่างของขอบบนกบั ขอบล่างของอนั ตรภาคชน้ั น้ันเช่น ขนาดของอันตรภาคช้ัน ช้ัน 82 – 88 คือ 88.5-81.5 = 7 ตารางแจกแจงความถ่ีค่าของ ขนาดของอนั ตรภาคอาจจะเท่ากันทุกช้ันหรือไม่เท่ากันก็ได้ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับลักษณะของข้อมูลแตโ่ ดยสว่ นมากจะมขี นาดของอันตรภาคชนั้ เท่ากนั ทกุ ชน้ั8. จดุ กง่ึ กลางชั้น (mid – point) คือค่าเฉล่ียระหวา่ งขอบบนและขอบล่างของชั้นน้ันๆ เชน่ 81.5 88.5จุดกึ่งกลางของขนาดอันตรภาคชั้น 82 – 88 คือ   85 หรือเป็นค่าเฉล่ียระหว่าง 2 82  88ขดี จากดั บนและขีดจากัดลา่ งของช้นั นั้นๆคอื 2  85หมายเหตุ เพื่อความสะดวกในการหาจดุ กงี่ กลางชนั้ ให้หาช้ันแรกกอ่ นแลว้ ช้นั ถดั ไปโดยการบวกดว้ ยขนาดของอนั ตรภาคช้นั (I) เข้าไป กจ็ ะไดจ้ ดุ กง่ึ กลางช้นั ของอนั ตรภาคชน้ั ท่ีถดั ไปเรอ่ื ยๆ N9. N คอื จานวนข้อมลู หรือ ผลรวมของความถี่ท้งั หมด ( fi )  i1

ตารางแจกแจงความถ่ีตารางแจกแจงความถ่ี เปน็ ตารางนาเสนอขอ้ มลู ทางสถติ ิ หรือข้อมูลดบิ เพอื่ ให้เกดิ ความสะดวกในการนาไปใช้ เม่อื ข้อมูลดบิ เป็นตัวเลขที่แสดงปริมาณ และมีจานวนข้อมลู มากๆ และไม่คอ่ ยซกนั การสรา้ งตารางแจกแจงความถ่ีควรใช้อันตรภาคช้นั ทีเ่ ปน็ ส่วนของช่วงคะแนนการสร้างตารางแจกแจงความถ่ี มีวธิ กี ารดังน้ี1. หาคา่ สูงสุด และคา่ ต่าสุดของข้อมูลดบิ2. หาพิสยั ของขอ้ มูล จาก พิสัย = คา่ สูงสดุ – ค่าต่าสดุ3. กาหนดจานวนอันตรภาคช้นั4. หาความกว้างของอันตรภาคชั้น พสิ ัยจาก ความกว้างของอนั ตรภาคช้ัน = จานวนของอนั ตรภาคช้นั5. เรียงลาดบั อันตรภาคช้นั จากคะแนนนอ้ ยไปมากหรือจากคะแนนมากไปนอ้ ย6. นาข้อมูลดิบมาใส่ตาราง โดยขีดรอยขีดของคะแนนในอันตรภาคชั้นที่มีความ กว้าง ครอบคลุมข้อมลู นั้นอยู่7. รวบรวมความถีข่ องรอยคะแนน เพือ่ นาไปแปลความหมายของข้อมูลตอ่ ไป