รายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท๑๕๑๐๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ เร่ือง อักษรย่อนา่ ร้คู เู่ ครื่องหมายวรรคตอน ครผู ้สู อน ครชู ลภักด์ิ คงกาเนดิ ครูวาสนา โพธิวงค์
กิจกรรม ชวนคิดชวนอา่ น
คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนอา่ น ออกเสียงข่าวสั้นต่อไปนี้
คาถามชวนคดิ ๑. นกั เรยี นสังเกตเห็นอะไร ในเน้อื หาของขา่ วบา้ ง
คาถามชวนคดิ ๒. นักเรยี นคนใดสามารถอ่าน ขา่ วไดถ้ ูกต้องครบทกุ คาบ้าง
คาถามชวนคิด ๓. นกั เรียนอ่านอักษรยอ่ ได้ถูกตอ้ งหรอื ไม่ อย่างไร
อกั ษรยอ่ นา่ รู้ คู่เคร่อื งหมายวรรคตอน
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกหลักการอ่านอักษรย่อและเคร่อื งหมายวรรคตอนได้ ๒. อ่านอกั ษรย่อและเครื่องหมายวรรคตอนได้ ๓. เหน็ ความสาคัญในการอ่านอกั ษรย่อและเครอ่ื งหมายวรรคตอน
นกั เรียนทราบหรอื ไมว่ ่า อกั ษรย่อคอื อะไร
ทาไมเราจึงต้องเรยี น เร่ือง อกั ษรย่อ
“อักษรยอ่ ” มีลักษณะอย่างไร
อักษรย่อ คือ อักษรท่ีใช้แทนคาเต็ม ซึง่ มักจะเป็น คาหรือศัพท์เฉพาะที่ยาวเพ่ือการส่ือสารที่รวดเร็วและ กระชับ อาจใช้ท้ังในการพูดและการเขียน ท้ังน้ี ควรใช้ ในกลุ่มผู้รับสารท่ีเข้าใจอักษรย่อน้ัน และในการอ่าน อกั ษรยอ่ นัน้ จะตอ้ งอา่ นเต็มทุกคา
มาร่วมกันศกึ ษา เกย่ี วกับอักษรยอ่ กนั เถอะ
อกั ษรย่อ คาเต็ม อักษรย่อ คาเต็ม ถ. ถนน บ. บาท, บา้ น ต. ตาบล ร. รชั กาล ด.ช. เดก็ ชาย อ. อาเภอ น. นาย น. นาฬกิ า, คานาม จ. จงั หวดั สต. สตางค์ ด.ญ. เดก็ หญิง น.ส. นางสาว ชม. ชว่ั โมง รร. โรงเรยี น/โรงแรม (ดทู ีบ่ รบิ ทของประโยค)
หมวดเดอื นทงั้ ๑๒ เดือน อักษรย่อ คาเตม็ อักษรย่อ คาเตม็ ม.ค. มกราคม ก.ค. กรกฎาคม ก.พ. กมุ ภาพนั ธ์ ส.ค. สงิ หาคม ม.ี ค. มีนาคม ก.ย. กนั ยายน เม.ย. เมษายน ต.ค. ตลุ าคม พ.ค. พฤษภาคม พ.ย. พฤศจิกายน ม.ิ ย. มถิ นุ ายน ธ.ค. ธันวาคม
หมวดการศกึ ษา โรงเรยี น มหาวทิ ยาลัย อกั ษรยอ่ คาเต็ม อกั ษรย่อ คาเต็ม นร. นักเรยี น นศ. นักศกึ ษา อ. อาจารย์ ดร. ดอกเตอร์ ศ. ศาสตราจารย์ ผอ. ผูอ้ านวยการ รศ. รองศาสตราจารย์ รร. โรงเรยี น จนท. เจา้ หน้าที่ ม. มหาวทิ ยาลยั ป. ประถมศึกษา ม. มธั ยมศึกษา ค.บ. ครศุ าสตรบัณฑิต ศษ.บ ศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ
หมวดกระทรวงตา่ ง ๆ อกั ษรย่อ คาเต็ม อกั ษรยอ่ คาเต็ม นร สานกั นายกรฐั มนตรี อก กระทรวงอุตสาหกรรม กห กระทรวงกลาโหม พณ กระทรวงพาณิชย์ กค กระทรวงการคลัง พน กระทรวงพลังงาน กต กระทรวงการต่างประเทศ วธ กระทรวงวัฒนธรรม กก กระทรวงการท่องเท่ยี วและกฬี า รง กระทรวงแรงงาน กษ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศธ กระทรวงศึกษาธกิ าร
เกม ปรศิ นาอกั ษรยอ่
เกม ทายอกั ษรย่อ อักษรย่อ คาเต็ม อักษรย่อ คาเต็ม นร. นักเรียน กก. กิโลกรัม รตั นโกสินทรศ์ ก กันยายน ร.ศ. ก.ย. ตารวจ ซม. เซนตเิ มตร ตร. สตางค์ น.ส. นางสาว สต. โรงเรียน/โรงแรม พุทธศักราช รร. พ.ศ. นพ. นายแพทย์ ตร.ม. ตารางเมตร
นกั เรยี นทราบหรอื ไม่วา่ เครื่องหมายวรรคตอน คอื อะไร
เคร่ืองหมายวรรคตอน คือ เครื่องหมายที่ใช้ ประกอบการเขียน เมือ่ อ่านข้อความที่ใช้เคร่ืองหมาย บางชนิดต้องทาเสียงให้สอดคล้องกับข้อความท่ีอ่าน บางชนิดใชแ้ ยกสว่ น แยกตอน และบางชนดิ ตอ้ งอา่ น เครอื่ งหมายน้ัน ๆ เพ่ือใหม้ คี วามหมายที่สมบรู ณ์
ตัวอย่าง เครอื่ งหมายวรรคตอนในภาษาไทย เคร่อื งหมาย ชอ่ื เคร่ืองหมาย ชอ่ื มหพั ภาค ปรัศนี . เสมอภาค ? อศั เจรยี ์ จลุ ภาค ! ไม้ยมก =, วงเลบ็ /นขลิขติ ไปยาลนอ้ ย ยัตภิ งั ค์ ๆ ไปยาลใหญ่ () อัญประกาศ ทบั - ฯ “..” ฯลฯ /
ตัวอยา่ ง การใชเ้ ครื่องหมายวรรคตอน เคร่อื งหมาย ตัวอย่าง ๑. มหพั ภาค ๒. เสมอภาค เมอ่ื วันที่ ๑๓ ม.ค. ๒๕๖๓ ท่ผี ่านมาเกิดโรคโควิดระบาดในเมืองไทย ๓. จุลภาค ๔. นขลิขติ ๓+๓=๖ ๕. ไปยาลใหญ่ ทัศนา หมายความวา่ ด,ู เหน็ ๖. ทับ พระสนุ ทรโวหาร (ภู่) ผลไมใ้ นเมืองไทยมมี ากมาย เชน่ กล้วย มะม่วง ขนนุ ฯลฯ บ้านเลขท่ี ๕๒/๑
กิจกรรมพัฒนาทักษะ ให้นักเรยี นทากิจกรรมจบั คอู่ ักษรยอ่ และเครอ่ื งหมาย วรรคตอนให้ถูกตอ้ งสัมพนั ธก์ บั คาและประโยคทก่ี าหนดให้
คาชีแ้ จงบทบาทครปู ลายทาง คาชแ้ี จงกจิ กรรมนักเรยี น ๑) แจกใบงานที่ ๔ ๑) นกั เรยี นทาใบงานท่ี ๔ ๒) สงั เกตการทางานของนกั เรียน อกั ษรย่อนา่ รคู้ ู่เครอื่ งหมายวรรคตอน และใหค้ าแนะนาในการทางาน ๓) ตรวจใบงานท่ี ๔ และประเมิน ๒) เมือ่ นกั เรยี นทาใบงานเสร็จ ให้ส่ง ท่ีครปู ระจาช้ันหรอื ครปู ระจาวิชา การทาใบงานท่ี ๔ ๓) ใหน้ กั เรียนตรวจสอบ ความถกู ต้องของใบงาน
ใบงานท่ี ๓ อักษรยอ่ นา่ รูค้ เู่ ครื่องหมายวรรคตอน คาชแี้ จง
ใบงานท่ี ๓
ใบงานท่ี ๓
ใบงานท่ี ๓
ใบงานท่ี ๓ อกั ษรยอ่ น่ารคู้ เู่ ครื่องหมายวรรคตอน อกั ษรย่อ คือ อักษรที่ใชแ้ ทนคำเต็ม ซึ่งมกั จะเป็นคำหรือ ศัพท์เฉพำะที่ยำวเพ่ือกำรส่ือสำรท่ีรวดเร็วและกระชับ อำจใช้ ทง้ั ในกำรพดู และกำรเขียน ทั้งนี้ ควรใช้ในกลุ่มผ้รู ับสำรที่เข้ำใจ อกั ษรยอ่ น้ัน และกำรอ่ำนอักษรย่อต้องอ่ำนแบบเต็มทุกคำ
ใบงานท่ี ๓ อักษรยอ่ น่ารคู้ ูเ่ ครอ่ื งหมายวรรคตอน เคร่ืองหมายวรรคตอน คือ เคร่ืองหมำยที่ใช้ประกอบ กำรเขียน เม่ืออ่ำนข้อควำมที่ใช้เคร่ืองหมำยบำงชนิดต้อง ทำเสียงให้สอดคล้องกับข้อควำมท่ีอ่ำน บำงชนิดใช้แยกส่วน แยกตอน และบำงชนิดต้องอ่ำนเครื่องหมำยนั้น ๆ เพื่อให้มี ควำมหมำยทีส่ มบูรณ์
สรปุ การทากจิ กรรม และตรวจสอบความถูกตอ้ ง
เฉลยใบงานท่ี ๓
เฉลยใบงานท่ี ๓
เฉลยใบงานท่ี ๓
คาถามสรุปบทเรยี น นักเรียนได้รับความรู้อะไรบ้างจาก การเรียนเร่ืองอักษรย่อและเคร่ืองหมาย วรรคตอน
คาถามสรุปบทเรียน นักเรียนจะนาความรู้เรื่องอักษรย่อ และเครื่องหมายวรรคตอนไปปรับใช้ใน งานเขยี นไดอ้ ยา่ งไร
บทเรียนครั้งต่อไป เรือ่ ง การแยกขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อคิดเห็นจากเรอ่ื งทอี่ า่ น
สิ่งทต่ี ้องเตรยี ม ๑. ใบความรูท้ ่ี ๕ การแยกขอ้ เท็จจริงและข้อคดิ เห็น ๒. ใบงานท่ี ๕ การแยกข้อเท็จจริงและขอ้ คดิ เห็น จากเรอ่ื งทอี่ ่าน สามารถดาวนโ์ หลดใบความรู้และใบงานได้ท่ี www.dltv.ac.th
Search
Read the Text Version
- 1 - 41
Pages: