Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice กศนตำบลเชียงแรง

Best Practice กศนตำบลเชียงแรง

Published by panumad_40, 2022-03-28 05:04:53

Description: Best Practice กศนตำบลเชียงแรง

Keywords: Best

Search

Read the Text Version

ผลการปฏบิ ตั ิงานท่ดี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชียงแรง

ผลการปฏิบตั งิ านทด่ี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง ไตรมาส 1-2 ประจำปีงบประมาณ 2565 (ดา้ นการบริหารจดั การศึกษา) การบริหารจัดการศกึ ษาโดยใช้ภาคเี ครอื ข่าย นางสาวภาณมุ าศ ต๊ิปกรณ์ ครู กศน.ตำบล สังกัด ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอภูซาง สำนกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั พะเยา สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ผลการปฏิบตั งิ านท่ีดี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง

บนั ทกึ ข้อความ สว่ นราชการ กศน.ตำบลเชยี งแรง สงั กดั ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอภูซาง ทีศ่ ธ 0210.4707(04) / วนั ท่ี มีนาคม 2565 เรื่อง รายงานผลการปฏิบัติงานท่ีดี (Best Practice ) ตำบลเชียงแรง ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2565 เรยี น ผอู้ ำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอภูซาง เร่อื งเดมิ ตามท่ี กศน.ตำบลเชียง สังกดั กศน.อำเภอภูซาง ได้ดำเนนิ การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติงาน การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานะการศึกษาต่อเน่ือง และ การศกึ ษาตามอัธยาศยั ในพ้ืนทตี่ ำบลเชยี งแรง เปน็ ที่เรยี บร้อยแลว้ นัน้ ข้อเท็จจริง บัดนี้ ข้าพเจ้า นางสาวภาณุมาศ ติ๊ปกรณ์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล ขอส่งรายงานผล การปฏิบัติงานท่ีดี (Best Practice ) กศน. ตำบลเชียงแรง ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2565 ตามรายละเอียด ดงั แนบ จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ ( นางสาวภาณุมาศ ต๊ิปกรณ์ ) ครู กศน.ตำบล ทราบ (นางสาวศุภลกั ษณ์ เธยี รเรืองนนท์) ผู้อำนวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอภูซาง ผลการปฏบิ ตั ิงานทด่ี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง

ผลการปฏิบตั งิ านทดี่ ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง ไตรมาส 1-2 ประจำปีงบประมาณ 2565 (ดา้ นการบรหิ ารจดั การศกึ ษา) 1. ชอื่ ผลงาน การบรหิ ารจัดการศึกษาโดยใช้ภาคเี ครือข่าย 2. จดุ เด่น/ความสำเร็จทปี่ รากฏ กศน.ตำบลเชียงแรง ได้ทำงานร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายซึ่งในส่วนของการสร้างภาคีเครือข่าย มุ่งเสริมสรา้ งพลังภาคี เครือข่ายการศึกษา หวังใช้เป็นกลไกการประสานพลังขับเคล่ือนนโยบายการศกึ ษาให้มี ความรู้และ สมรรถนะในการส่งเสริมสนับสนุนความร่วมมือในด้านการจัดการศึกษาให้ประชาชนสามารถท่ี จะพึ่งตนเองได้ สามารถเสริมสร้างพลังภาคีเครือข่ายทางการศึกษาและเกิดการผสานพลังขับเคลื่อนนโยบาย ด้านการศึกษาสู่ประชาชน โดยเครือข่ายมีความสัมพันธ์ในการกระตุ้น และประสานงาน ไปยังประชาชน กลุ่มเปา้ หมายได้อย่างต่อเน่ือง โดยทภ่ี าคีเครือข่ายมีเป้าหมาย และรว่ มมอื พัฒนาการศึกษาของประชาชนให้ดี ยง่ิ ขึ้น โดยความสำเรจ็ ท่ีปรากฏ มี 3 ด้านดังนี้ ดา้ น กศน.ตำบล 1. กศน.ตำบลและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน การจัดกิจกรรมการศึกษา ขั้นพื้นฐานให้กับประชาชนร่วมกัน ได้มีความรู้ทักษะในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการประกอบอาชีพ มีระเบียบวนิ ัย มนี สิ ยั ใฝร่ ้ใู ฝ่เรียน ปลกู ฝังนิสยั รักการอา่ น มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตลอดจนสามารถนำเทคโนโลยี ทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ และเพิ่มโอกาสทางการเรียนรู้ ความเป็นพลเมือง ที่สอดคล้อง กบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอ่ื พัฒนาไปสู่ความม่ันคงและยัง่ ยืนทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และส่ิงแวดลอ้ ม และมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษาทีม่ คี วามเขม้ แขง็ 2. ครู กศน.ตำบล มีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่ดี ส่งผลทำให้เกิดการปฏิบัติงานได้อย่าง มปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งข้ึน เน่ืองจากไดร้ บั เกียรติและความไว้วางใจ ในการเขา้ ร่วมการจดั กิจกรรมต่างๆ ร่วมกับ หน่วยงานองค์กร ชุมชนและภาคีเครือข่าย ได้รับการสนับสนุนและช่วยเหลอื จากองค์กร ชุมชนภาคีเครือข่าย ในด้านอาคารสถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก การมีส่วนร่วมในการดำเนินกจิ กรรม ที่เกี่ยวขอ้ งรองรับการ ให้บรกิ ารแก่ประชาชนอยา่ งทว่ั ถึง ผลการปฏบิ ตั ิงานทดี่ ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชียงแรง

ดา้ นผู้เรียน 1. นักศึกษา ในตำบลเชียงแรง รวม 12 หมู่บ้าน ได้แก่ ผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไป ได้รับโอกาสทางการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง การศกึ ษาตามอธั ยาศยั การเขา้ ร่วมกจิ กรรม ทม่ี ีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทว่ั ถึง 2. นักศึกษามีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัย มีนิสัยรักการอ่าน มีคุณธรรม จริยธรรมตลอดจนสามารถนำเทคโนโลยที างการศึกษา เทคโนโลยดี ิจทิ ัลมาประยกุ ตใ์ ช้ และเพิ่มโอกาสทางการ เรยี นรู้ และปฏบิ ตั ติ นเปน็ คนดขี องสังคม ดา้ นชุมชน 1. ประชาชนตระหนัก และเลง็ เหน็ ความสำคัญในด้านการจัดการศึกษา การเพม่ิ โอกาสทางการเรียนรู้ การให้การสนับสนนุ ตลอดจนการมีบทบาทในการเข้ามามีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ การส่งบุตรหลาน เข้ามาใหไ้ ด้รับการศกึ ษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มากยง่ิ ขนึ้ 2. ประชาชนไดร้ ับการบรกิ ารทางด้านวิชาการ กจิ กรรมสง่ เสริมคุณภาพชวี ิต มีสขุ ภาพกายสุขภาพจิต ที่ดี มีนิสัยรักการอ่าน เข้าถึงการศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัย มีคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจน สามารถนำเทคโนโลยที างการศกึ ษา เทคโนโลยดี ิจทิ ัลมาประยกุ ตใ์ ช้ และเพิม่ โอกาสทางการเรียนรู้ 3. ประชาชนไดร้ บั ความเชื่อมั่นและความไวว้ างใจ ในดา้ นการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขัน้ พนื้ ฐานการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ การเขา้ รว่ มจัดกิจกรรมร่วมกบั องค์กร หน่วยงาน ภาคีเครือข่าย 3. วธิ ดี ำเนนิ การ การบริหารจัดการศึกษาโดยใช้ภาคีเครือข่าย โดยใช้กระบวนการวงจรคุณภาพ (PDCA Cycle) การบริหารคุณภาพเป็นการจัดระบบการทำงานเพ่ือให้ได้ผลงานเป็นท่ีพึงพอใจสร้างความประทับใจและความ มน่ั ใจแก่ผู้ใช้บรกิ ารทัง้ ภายในและภายนอก สามารถแบ่งระดับการดำเนินงานตามระดับได้ 3 ระดับ 1. การบริหารคุณภาพ หมายถึง การกำหนดทิศทาง หรือแนวทางอย่ากว้าง ๆ ในการดำเนินการ ซ่งึ เป็นภารกจิ ของผ้บู รหิ าร 2. การจัดการคุณภาพ หมายถึง การนำนโยบายคุณภาพมากำหนดให้เป็นเป้าหมาย คุณภาพจากนั้น จะต้องมีการกำหนดเป็นแผนคุณภาพ สำหรับกำหนดการดำเนินงานต่อไป ซ่ึงจะเป็นภารกิจของ ครู กศน. และภาคีเครอื ข่าย 3. การดำเนินการให้เกิดคุณภาพ หมายถึง การดำเนินการปฏิบัติการให้ผลงาน เป็นไปตามแผน คณุ ภาพซง่ึ จะตอ้ งมกี ารตรวจสอบตดิ ตาม ปรับปรุงแกไ้ ขรวมถึงการป้องกันปัญหาต่อไป ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง

การดำเนินกิจกรรมหรือการบริหารจัดการการประกันคุณภาพการศึกษาจะประสบความสำเร็จและ เป็นไปตามนโยบายและเป้าหมายท่ีตั้งไว้ ต้องมีการนำหลักการบริหารการจัดการเชิงคุณภาพแบบต่อเนื่อง ตามวงจรเดมม่งิ (Deming Cycle) หรือ PDCA 1. การวางแผน (Plan: P) หมายถึง ส่วนประกอบของวงจรที่มีความสำคัญ เนื่องจากการวางแผน เป็นจุดเริ่มต้นของงานและเป็นส่วนสำคัญท่ีจะทำให้การทำงานในส่วนอื่น เป็นไปอย่างมีประสิทธิผลการ วางแผนในวงจรเดมม่งิ เปน็ การหาองค์ประกอบของปัญหา โดยวธิ กี ารระดมความคิด การหาสาเหตุของปัญหา การหาวิธีการแก้ปัญหา การจัดทำตารางการปฏิบัติงาน การกำหนดวิธีการดำเนินการ การกำหนดวิธีการ ตรวจสอบ และประเมนิ ผลในขั้นตอนนม้ี ีการดำเนินการดังน้ี 1.1 ตระหนักและกำหนดปัญหาที่ต้องการแก้ไข หรือปรับปรุงให้ดีขึ้นโดยสมาชิกภาคีเครือข่ายใน ชุมชนร่วมมือและประสานงานกันอย่างใกล้ชิด ในการระบุปัญหาที่เกิดขึ้น ในการดำเนินงาน เพื่อที่จะร่วมกัน ทำการศกึ ษาและวิเคราะหห์ าแนวทางแก้ไขต่อไป 1.2 เกบ็ รวบรวมข้อมูล สำหรบั การวิเคราะห์และตรวจสอบการดำเนินงาน หรือหาสาเหตขุ องปญั หา เพื่อใช้ในการปรับปรุง หรือแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งควรจะวางแผนและดำเนินการ เก็บข้อมูลให้เป็นระบบ ระเบียบเข้าใจง่ายและสะดวกต่อ การใช้งาน เช่น ตารางตรวจสอบ แผนภูมิ แผนภาพ หรือแบบสอบถาม เป็นตน้ 1.3 อธิบายปัญหาและกำหนดทางเลอื ก วเิ คราะห์ปญั หา เพ่ือใช้กำหนดสาเหตุของความบกพร่อง ตลอดจนแสดงสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งนิยมใช้วิธีการเขียนและวิเคราะห์แผนภูมิหรือ แผนภาพ เช่น แผนภูมิ ก้างปลา และแผนภมู ิการควบคุม เปน็ ตน้ เพอื่ ให้สมาชิกทุกคนภาคีเครือข่ายในทีมงานคณุ ภาพเกดิ ความเข้าใจ ในสาเหตุและปัญหาอยา่ งชดั เจนแลว้ รว่ มกันระดมความคดิ (Brainstorm) ในการแก้ปัญหา โดยสรา้ งทางเลือก ต่างๆ ที่เป็นไปได้ ในการตัดสินใจแก้ปัญหา เพื่อมาทำการวิเคราะห์และตัดสินใจเลือกที่เหมาะสมที่สุดมา ดำเนินงาน ผลการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง

1.4 เลอื กวธิ ีการแกไ้ ขปัญหา หรอื ปรับปรงุ การดำเนินงาน โดยรว่ มกันวิเคราะห์ และวจิ ารณ์ทางเลอื ก ต่าง ๆ ผ่านการระดมความคิด และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของสมาชิก เพื่อตัดสินใจเลือกวิธีการแก้ไข ปญั หาที่เหมาะสมทสี่ ุดในการดำเนินงานให้สามารถบรรลตุ ามเปา้ หมายได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ซึ่งอาจจะต้อง ทำวิจัยและหาข้อมลู เพมิ่ เติมหรือกำหนดทางเลือกใหม่ที่มีความนา่ จะเปน็ ในการแกป้ ัญหาได้มากกวา่ เดมิ 2. การปฏิบัติตามแผน (Do: D) การลงมือปฏบิ ตั ิตามแผนที่กำหนดไว้ในตาราง การปฏิบัติงาน ทั้งนี้ สมาชกิ ภาคเี ครือขา่ ยในกลุ่มต้องมีความเขา้ ใจถงึ ความสำคญั และความจำเป็นในแผนน้นั ๆ ความสำเร็จของการ นำแผนมาปฏิบัติต้องอาศัยการทำงานด้วยความร่วมมือเป็นอย่างดีจากสมาชิกภาคีเครือข่าย ตลอดจนการ จัดการทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงานตามแผนนั้นๆในขั้นตอนนี้ ขณะที่ลงมือปฏิบัติจะมีการ ตรวจสอบไปด้วยหากไม่เป็นไปตามแผนอาจจะต้องมีการปรับแผนใหม่ และเม่อื แผนน้ันใช้งานได้ก็นำไปใช้เป็น แผนและถอื ปฏบิ ัติตอ่ ไป 3. การตรวจสอบ (Check: C) การตรวจสอบดูว่าเมื่อปฏิบัติงานตามแผน หรือการแก้ปัญหางาน ตามแผนแล้ว ผลลัพธ์เป็นอย่างไร สภาพปัญหาได้รับการแก้ไขตรงตาม เป้าหมายที่กลุ่มตั้งใจหรือไม่ การไม่ประสบผลสำเร็จอาจจะเกิดจากสาเหตุหลายประการ เช่น ไม่ปฏิบัติตามแผน ความไม่เหมาะสมของ แผนการเลือกใช้เทคนคิ ทีไ่ มเ่ หมาะสม เป็นต้น 4. การดำเนินการให้หมาะสม (Action : A) การกระทำภายหลังที่กระบวนการ 3 ขั้นตอน ตาม วงจรได้ดำเนินการเสร็จแล้ว ข้ันตอนน้ีเป็นการนำเอาผลจากขั้นการตรวจสอบ (C) มาดำเนินการให้เหมาะสม ต่อไป 4. ปัจจยั ป้อน/ปจั จยั สคู่ วามสำเร็จ 1. ความจริงใจของภาคีเครือข่าย ที่เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมร่วมกัน ร่วมกันคิดร่วมกันทำ ร่วมกันแก้ปญั หา ทำให้เกิดเป็นองคก์ รทม่ี ีเอกภาพ 2. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีของชุมชน สังคม เต็มใจ ใหบ้ ริการ ปฏิบัตงิ านในพ้ืนทไ่ี ด้ครอบคลมุ ตามบรบิ ทของตนเอง 3. ความเขม้ แขง็ ของผู้นำชุมชน และภาคีเครอื ขา่ ยต่างๆ ท่ีเก่ยี วข้อง ให้ารสนับสนนุ เก้ือกลู ช่วยเหลือ และร่วมจัดกจิ กรรม และพฒั นา กศน.ตำบล จนประสบผลสำเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ 4. กิจกรรมการดำเนินงานมีความชัดเจนเป็นรูปธรรม สามารถนำลงสู่การปฏิบัติที่เห็นผลเป็นเชิง ประจกั ษ์ และเปน็ ท่ยี อมรบั ผลการปฏิบตั ิงานท่ดี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง

5. บทเรียนที่ได้รับ 1. กศน.ตำบลเชียงแรง ได้ปรับพัฒนารูปแบบการบรหิ ารจัดการทีส่ ง่ ผลตอ่ การพฒั นาการจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับยุคปัจจุบัน และความเปลี่ยนแปลงทางสังคม โดยมีพลังภาคีเครือข่ายร่วมกันดำเนินการ ขบั เคล่ือน 2. การบริหารจัดการศึกษาสู่ชุมชน จะประสบความสำเร็จได้นนั้ จำเป็นต้องอาศยั ความร่วมมือจากทุก ภาคสว่ นเพอื่ ใหก้ ารดำเนินงานเปน็ ไปด้วยความราบรนื่ และเกิดปญั หาและอปุ สรรคนอ้ ยทสี่ ุด 3. การเสริมสร้างความศรัทธา ความเชื่อมั่น และความไว้วางใจกับชุมชน จะส่งผลต่อการพัฒนา การศึกษาไปในทิศทางที่ดี การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ก็จะบรรลุได้โดยง่ายลดปัญหาและอุปสรรคในการ ดำเนนิ งานการเผยแพร่ การไดร้ บั การยอมรบั ในการบริหารการจดั การศึกษา และการดำเนินงานในกิจกรรมทุก รูปแบบ ประสบความสำเร็จเป็นที่ยอมรับของชุมชน ตลอดจนองค์กร และหน่วยงานต่างๆ เพราะ ครู กศน. ตำบล ร่วมเปน็ ผ้ดู ำเนนิ งานร่วมกับภาคเี ครือข่ายเปน็ อยา่ งดี 6. ปัญหา อุปสรรค ข้อจำกดั ทีเ่ กิดขึน้ ในการปฏิบัติงาน และแนวทางการแกไ้ ขให้ประสบความสำเรจ็ ไมม่ ี 7. ข้อเสนอแนะในการปฏิบตั ิงานทีจ่ ะทำให้ดียงิ่ ขึ้น 1. มีการจัดตั้งองค์กรประสานงาน เช่น การแต่งตั้งคณะกรรมการภาคีเครือข่ายของ กศน.ตำบล เชียงแรง ที่มีประสิทธภิ าพและน่าเชอ่ื ถอื 2. มีการสร้างเครือข่ายภาคประชาชน เช่น นักวิชาการ ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในแต่ละ ดา้ น เพอ่ื เป็นแหล่งการเรียนรู้ในพนื้ ท่ีตำบลเชียงแรง ได้อยา่ งครอบคลุม 3. มีการประชาสัมพันธ์การทำงานอย่างต่อเนื่องและใช้ช่องทางการสื่อสารท่ีหลากหลาย เพื่อให้ประชาชนในพื้นท่ีเห็นความสำคัญของการทำงานเป็นเครือข่าย และเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงาน พฒั นา กศน.ตำบลเชียงแรง อย่างตอ่ เน่ืองตอ่ ไป ผลการปฏบิ ตั ิงานท่ดี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง

8. การเผยแพร่ การได้รบั การยอมรับ รางวัลท่ีไดร้ ับ 1. ชุมชนมคี วามพึงพอใจในการเข้ารับบริการใน กศน.ตำบลเชยี งแรง 2. มีการมาใช้บริการจากประชาชนในชุมชน กิจกรรมการพัฒนา กศน.ตำบลเชียงแรง ได้รับความ อนุเคราะห์จากท่านนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเชียงแรง ในการให้ใช้อาคารเป็นสถานที่เรียนของ กศน. ตำบลเชียงแรง กิจกรรมบ้านหนังสือชุมชนของที่ กศน.ตำบลเชียงแรง ได้ความร่วมมือจากนักศึกษาและ ประชาชนในพื้นที่ร่วมกันทำกิจกรรมและดูแลรักษาบ้านหนังสือชุมชน และได้รับความอนุเคราะห์จากผู้นำ ชุมชน และท่านนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเชียงแรง ให้เข้าร่วมประชุมและวางแผนเกี่ยวกับเรื่องการทำ แผนพฒั นาทอ้ งถิ่นการทำงานในปงี บประมาณ 2565 3. ครู กศน.ตำบลเชียงแรง บริหารจัดการศึกษาได้ประสบความสำเร็จเป็นที่ยอมรับของชุมชน ผู้ปกครอง ตลอดจนองค์กร และหน่วยงานต่าง ๆ ครู กศน.ตำบลเชียงแรง เป็นวิทยากรเผยแพร่ให้ความรู้ ทางด้านส่งเสริมอาชีพ ประกอบอาชีพ เช่น การทำวุ้นแฟนซี การทำกระเป๋าใส่โทรศัพท์ การตัดเย็บเสื้อผ้า เป็นตน้ 4. กศน.ตำบลเชยี งแรง เปน็ ศูนยก์ ารเรยี นรู้ต้นแบบการสง่ เสริมประชาธปิ ไตยในชุมชน ผลการปฏิบตั งิ านท่ีดี (Best Practice) กศน.ตำบลเชียงแรง

ภาคผนวก ผลการปฏิบตั ิงานทด่ี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชียงแรง

การบริหารจดั การศกึ ษาโดยใช้ภาคีเครือขา่ ยในชมุ ชน ผลการปฏิบตั งิ านทด่ี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง

การบริหารจดั การศกึ ษาโดยใช้ภาคีเครือขา่ ยในชมุ ชน ผลการปฏิบตั งิ านทด่ี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง

การบริหารจดั การศกึ ษาโดยใช้ภาคีเครือขา่ ยในชมุ ชน ผลการปฏิบตั งิ านทด่ี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง

การบริหารจดั การศกึ ษาโดยใช้ภาคีเครือขา่ ยในชมุ ชน ผลการปฏิบตั งิ านทด่ี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง

การบริหารจดั การศกึ ษาโดยใช้ภาคีเครือขา่ ยในชมุ ชน ผลการปฏิบตั งิ านทด่ี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง

การบริหารจดั การศกึ ษาโดยใช้ภาคีเครือขา่ ยในชมุ ชน ผลการปฏิบตั งิ านทด่ี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง

การบริหารจดั การศกึ ษาโดยใช้ภาคีเครือขา่ ยในชมุ ชน ผลการปฏิบตั งิ านทด่ี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง

ผลการปฏบิ ตั ิงานท่ดี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชียงแรง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook