บันทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรียนบา้ นระโนต(ธญั เจรญิ ) จงั หวัดสงขลา . ที่ /2563 วนั ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2564 . เร่ือง รายงานผลประเมินพัฒนาการนักเรียนท่ีจบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ระดับชั้นอนบุ าล 3/1 ปีการศกึ ษา 2563 . _______________________________________________________________________________ เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นระโนต(ธัญเจริญ) ส่ิงท่ีส่งมาด้วย รายงานผลประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ระดบั ช้ันอนุบาล 3/1 ปกี ารศึกษา 2563 ข้าพเจ้า นางขวัญชนก อุปนันท์ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ ได้รับมอบหมาย ให้ปฏิบัติหน้าที่ครูประจำชั้นอนุบาลปีท่ี 3/1 ประจำปีการศึกษา 2563 ได้พัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย ท่ีรับผิดชอบโดยการจัดการศึกษาปฐมวัยให้ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้านและสอดคล้องกับมาตรฐาน คุณลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ องหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560 นนั้ บัดน้ี ได้ดำเนินการประเมินพัฒ นาการนักเรียน ที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560 ระดบั ชนั้ อนบุ าล 3/1 ปกี ารศึกษา 2563 รายละเอยี ดดงั เอกสารที่แนบมาพรอ้ มน้ี จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบและพิจารณา ลงช่อื (นางขวัญชนก อุปนนั ท์) ตำแหนง่ ครวู ทิ ยฐานะชำนาญการ ความคดิ เหน็ ของผบู้ ังคบั บญั ชา ............................................................................................................................. ............................................ ...................................................................................... ................................................................................... ลงชื่อ (นางเกษร ขุนราช) รองผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านระโนต(ธัญเจรญิ ) ความคิดเหน็ ของผบู้ ังคบั บัญชา ............................................................................................................................. ............................................ ......................................................................................................................................................................... ลงชอื่ (ดร.ทวนทนง มากศรี) ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นระโนต(ธัญเจรญิ )
รายงานผลการประเมนิ พัฒนาการนักเรยี น ชัน้ อนบุ าลปีที่ 3/1 ปกี ารศกึ ษา 2563 รายงานผลการประเมินพัฒนาการนักเรยี น ข้าพเจ้า นางขวัญชนก อุปนันท์ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ ได้รับ มอบหมายให้ปฏิบัติหน้าท่ีครูประจำชั้นอนุบาลปีท่ี 3/1 ประจำปีการศึกษา 2563 โดยได้จัด กจิ กรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โดยยึดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมสำหรับการศึกษา ในระดับช้ันอนุบาลปีท่ี 3/1 โดยใช้รูปแบบ เทคนิค และวิธีการท่ีเน้นการปฏิบัติ ดังปรากฏ หลักฐานร่องรอยในแผนการจัดประสบการณ์ นอกจากนี้ยังมีความหลากหลายในการใช้ส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลพัฒนาการนักเรียน ตามแผนการจัดประสบการณ์ ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของปฐมวัย ตัวบ่งชี้ จุดประสงค์การเรียนรู้ และสอดคล้องกับธรรมชาติของผู้เรียนระดับปฐมวัย โรงเรียนบ้านระโนต(ธัญเจริญ) และทุกสาระการเรียนรู้ การเรียนการสอนในยุคโลกาภิวัฒน์ ครูผู้สอนต้องศึกษาค้นคว้าหาวิธีการสอนที่ทันสมัย เพ่ือให้ทันต่อเหตุการณ์ของโลก สามารถจัด กจิ กรรมการเรยี นการสอนไปส่เู ปา้ หมายของหลกั สูตร บนั ทึกหลกั ฐานรอ่ งรอยขอ้ มลู /สารสนเทศ/หลักฐานทีส่ ะท้อนความรคู้ วามสามารถ ข้ า พ เจ้ า ได้ ศึ ก ษ า แ ล ะ ห า วิ ธี ก า ร ส อ น แ บ บ ให ม่ ๆ ม า ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ และประสบการณ์ให้นักเรียนได้เข้าใจง่ายย่ิงขึ้นจากการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ และส่อื การสอนท่ีเตรียมไว้นำมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้แกน่ ักเรียน ไดป้ ฏิบัติ ดังนี้ 1. ศกึ ษาแผนการจดั ประสบการณ์กอ่ นนำมาจัดกจิ กรรมทกุ ครงั้ 2. นำเข้าสูบ่ ทเรียนด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลายแตกตา่ งกนั ไป เชน่ การสนทนา การซักถาม การสงั เกตภาพ การร้องเพลง เปน็ ตน้ เพอ่ื เร้าความสนใจให้นกั เรยี นอยากเขา้ รว่ ม กิจกรรม 3. แจง้ จุดประสงค์ใหน้ กั เรยี นทราบ 4. ใชว้ ธิ ีการสอนท่ีเหมาะสมกบั เนอื้ หาและวัยของผูเ้ รียน โดยเนน้ กระบวนการ กลมุ่ และเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนไดใ้ ชว้ ิธกี ารหลายๆวธิ ี เชน่ - ทำกิจกรรมนอกสถานที่ หรือนอกหอ้ งเรียน - รว่ มกันคดิ วิเคราะห์ปัญหา
- ร่วมกนั ตัง้ คำถาม - อาสานกั เรียนทสี่ มัครใจ - แบง่ กลุ่มตามความสมัครใจ - คน้ คว้าจากแหลง่ เรียนรู้ต่างๆ - สนทนาซักถามและตอบปัญหา - การให้นักเรียนมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็น - ศึกษาจากเอกสารประกอบการเรยี น - ใหน้ ักเรยี นร่วมกันสรปุ สาระสำคัญ เพ่ือทบทวนให้นักเรยี นเข้าใจอีกครง้ั - วัดผลและประเมินพฒั นาการตามเกณฑ์ทก่ี ำหนดไว้ ผลท่ไี ดจ้ ากการถา่ ยทอดความรู้ 1. นกั เรยี นสามารถทำงานรว่ มกับผอู้ ื่นได้ ร้จู ักช่วยเหลือซึง่ กันและกัน 2. นกั เรียนรูจ้ กั บทบาทหนา้ ที่ของตนเองในการเป็นผ้นู ำและผตู้ าม 3. นกั เรียนมีความรคู้ วามเข้าใจในเนือ้ หาท่เี รียน สามารถนำความรูไ้ ปใช้ใน ชีวติ ประจำวนั ได้ 4. นกั เรียนมีทศั นคตทิ ดี่ ตี อ่ การเรียน 5. นกั เรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินพัฒนาการ และมีผลการประเมนิ พฒั นาการท่ี สงู ข้นึ 6. นกั เรยี นชอบเข้ารว่ มกจิ กรรมทกุ กิจกรรม และมคี วามสุขในการทำกจิ กรรม การเรียนรู้มากขน้ึ 7. นักเรียนได้แสดงออก และร่วมกิจกรรม เช่น การอภิปรายประเดน็ คำถาม การแสดงความคิดเห็น เป็นต้น 8. การนำเทคนิควธิ ีการสอน และนวตั กรรมต่างๆ มาใช้ ช่วยแกป้ ัญหาในการเรียนรู้ ทีแ่ ตกตา่ งกันของนักเรียน คุณภาพผู้เรยี น ผลการประเมินพัฒนาการของผู้เรียน ข้าพเจ้า นางขวัญชนก อุปนันท์ ได้จัดกิจกรรม การเรียนรู้/จัดประสบการณ์ สำหรับผู้เรียนในทุกกิจกรรมตามตารางกิจกรรมประจำวัน และ ตามตารางการจัดประสบการณ์ชั้นอนุบาลปีท่ี 3/1 โดยยึดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ดังน้ี กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ กิจกรรมเล่นตามมุม/เสรี กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเกมการศึกษา ทุกหน่วยการเรียนรู้ ตลอดปกี ารศึกษา
ข้าพเจ้าได้ทำการวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ไดจ้ ัดทำหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรียนบ้านระโนต(ธัญเจรญิ ) จดั ทำมาตรฐานคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษาทุกมาตรฐาน และนำมาวิเคราะห์และกำหนดตัวบ่งชี้และ สภาพท่ีพึงประสงค์ในแต่ละชั้นปี ให้เห็นภาพชัดเจน ดังตัวอย่างที่ปรากฏร่องรอยหลักฐาน กำหนดหน่วยการจดั ประสบการณ/์ เวลา ข้าพเจ้าเขียนแผนการจัดประสบการณ์ระดับช้ันอนุบาลปีท่ี 3/1 ตามโครงสร้างของ หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรียนบ้านระโนต(ธัญเจริญ) การสอนในระดับปฐมวัยน้ันไม่สอน เป็นรายวิชา แต่จัดในรูปแบบกิจกรรมบูรณาการให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการเล่น ดังน้ันการจัด ประสบการณ์ให้เด็กได้พัฒนาครบทุกด้านบรรลุ จุดหมายตามหลักสูตรนั้น ข้าพเจ้าได้วาง แผนการจัดประสบการณ์และมีหลกั การเขยี นแผนการจัดประสบการณ์ เพื่อเป็นแนวในการปฏิบัติ จริงได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จดุ ประสงคข์ องการเขียนแผนการจดั ประสบการณ์ 1. เพื่อให้ข้าพเจ้าได้วางแผนล่วงหน้าในการจัดกิจกรรมร่วมกับเด็กได้อย่าง เหมาะสมกบั วยั และสอดคลอ้ งกับหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบ้านระโนต(ธัญเจริญ) 2. เพ่ือให้ข้าพเจ้านำแผนการจัดประสบการณ์ไปใช้ในการจัดกิจกรรมประจำวัน ให้บรรลุผลตามจุดหมายทก่ี ำหนดไว้ การจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ ขา้ พเจ้าจัดทำแผนการจดั ประสบการณ์ระดับชัน้ อนุบาลปที ี่ 3/1 ให้บรรลุจดุ หมายของ หลกั สูตร โดยดำเนินการตามขนั้ ตอน ดังน้ี 1. ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 หลักสูตร สถานศึกษาปฐมวัยโรงเรียนบ้านระโนต(ธญั เจริญ) และเอกสารอ่ืนๆทีเ่ ก่ียวข้อง ข้าพเจ้าได้ศกึ ษา หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างละเอียด จนเกิดความเข้าใจว่าจะพัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพ อย่างไร เพื่อให้บรรลุตามจุดหมายท่ีหลักสูตรกำหนดไว้ นอกจากน้ียังได้ศึกษาเอกสารท่ี เก่ยี วข้องเพมิ่ เติมเพ่อื ใหม้ ีความเขา้ ใจยิ่งขึน้ เช่น คู่มอื หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั ขอ้ มูลพัฒนาการ เด็กอายุ 3-6 ปี เป็นตน้ 2. วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรียนบ้านระโนต(ธัญเจริญ) ความสัมพันธ์ของมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (จุดหมาย) ตัวบ่งชี้ สภาพท่ีพึงประสงค์ ของเด็กอายุ 3 – 6 ปี ข้าพเจ้าได้ทำการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐานคุณลักษณะ ท่ีพึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพท่ีพึงประสงค์ของเด็กอายุ 3 –6 ปี เพ่ือนำไปพิจารณาสาระ การเรยี นรู้
3. ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์สาระการเรียนรู้ช่วงช้ันการศึกษาระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3/1 และศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรียนบ้านระโนต(ธัญเจริญ) ในส่วนท่ีเป็นสาระการ เรียนรู้ซ่ึงกำหนดไว้ 2 ส่วน คือ ส่วนท่ีเป็นประสบการณ์สำคัญและส่วนท่ีเป็นสาระท่ีควรเรียนรู้ โดยวิเคราะหแ์ ละเลอื กนำมากำหนดหนว่ ยการจดั ประสบการณ์ ตามโครงสรา้ งของหลกั สูตร 4. กำหนดรูปแบบการจัดประสบการณ์ ข้าพเจ้าได้กำหนดรูปแบบการจัด ประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ รวมท้ังศึกษาแนวคิดจากนวัตกรรมที่ ข้าพเจ้าต้องการใช้สอดแทรกลงในการจัดประสบการณ์ สำหรับรูปแบบท่ีข้าพเจ้าใช้จัด ประสบการณ์ในระดับชั้นอนุบาลปีท่ี 3/1 คือ หน่วยการจัดประสบการณ์ ที่สามารถกำหนด หน่วยการจัดประสบการณ์เป็นรายสัปดาห์ และบางสัปดาห์อาจใช้หน่วยตามความสนใจของเด็ก โดยพิจารณาข้อมูลหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรียนบ้านระโนต(ธัญเจริญ) ตัวเด็ก สภาพแวดล้อม สังคม-วัฒนธรรม ประกอบ ท้ังนี้สามารถยืดหยุ่นตามความเหมาะสมกับบริบท ของโรงเรียนบ้านระโนต(ธญั เจรญิ ) สำหรับการจัดประสบการณ์แบบหน่วย ข้าพเจ้าได้กำหนดหัวเรื่องโดยใช้เป็น แกนกลางในการจดั ประสบการณ์ใหก้ บั เด็ก การกำหนดหวั เรือ่ งมีรปู แบบและวิธีการ 3 วิธี ดังน้ี วธิ ที ี่ 1 เดก็ เปน็ ผกู้ ำหนด วิธีน้ีครูผู้สอนจะเปิดโอกาสให้เด็กเป็นผู้กำหนดหัวเรื่องได้ตามความสนใจของเด็ก เช่น ขณะที่เดินสำรวจบริเวณของที่มีอยู่รอบ ๆ โรงเรียนบ้านระโนต(ธัญเจริญ) เด็ก ๆ แสดง ความสนใจหนังสือในห้องสมุดของโรงเรียน และเด็ก ๆ ต้องการที่จะเรียนรู้เรื่องหนังสือ ดงั นน้ั ครผู ูส้ อนจงึ นำเรอ่ื งหนงั สือมาเปน็ หวั เร่ือง ในการจดั ทำหน่วยการจดั ประสบการณ์ วิธที ี่ 2 ครผู สู้ อนและเด็กรว่ มกันกำหนด วิธีน้ีเป็นวิธีที่กำหนดร่วมกันระหว่างครูผู้สอนกับเด็ก โดยครูผู้สอนกระตุ้นให้เด็ก แสดงความคิดเห็น แล้วนำเร่ืองที่สนใจมากำหนดเป็นหน่วยการจัดประสบการณ์ เช่น ครูผู้สอน อ่านนิทานเก่ียวกับ “ช้าง” ให้เด็กฟัง และมีการสนทนา อภิปรายเกี่ยวกับเรื่องช้าง ในท่ีสุด ครผู ูส้ อนกบั เดก็ จึงตดั สินใจร่วมกนั กำหนดเร่อื ง “ชา้ ง”เป็นหนว่ ยการจัดประสบการณ์ วิธที ี่ 3 ครูผู้สอนเปน็ ผกู้ ำหนด วิธีนี้ครูผู้สอนจะเป็นผู้วางแผนกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์และสาระการ เรียนรู้ในแต่ละหน่วยไว้ล่วงหน้าโดยพิจารณาจากโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โรงเรียน บ้านระโนต(ธัญเจริญ) ที่จัดทำไว้ หน่วยการจัดประสบการณ์นี้สามารถปรับและยืดหยุ่น ได้ตามความสนใจของเด็ก เชน่ ครูผู้สอนกำหนดหวั เร่ือง“ยุง” ไว้ล่วงหน้าแล้ว แต่ปรากฏว่าเด็ก อยากรู้เร่ือง “ผีเส้ือ” ผู้สอนสามารถยืดหยุ่นเปล่ียนเรื่องน้ันมาเป็นผีเส้ือได้และนำเรื่อง “ยุง” ไปจดั ประสบการณใ์ นโอกาส/วนั เวลาตอ่ ไป
การกำหนดหวั เรอ่ื งหนว่ ยการจัดประสบการณ์ ขา้ พเจ้าได้จัดทำมีลกั ษณะ ดงั นี้ เหมาะสมกับวัยและพฒั นาการของเดก็ ระดับชนั้ อนุบาลปีที่ 3/1 ตรงตามความตอ้ งการและความสนใจของเดก็ สอดคล้องกับสภาพและการดำเนินชีวิตประจำวนั ของเด็ก ผนวกคณุ ธรรมและจริยธรรมเข้าไปได้อยา่ งผสมกลมกลนื 5. เขียนแผนการจัดประสบการณ์ ข้าพเจ้าได้พิจารณาเขียนแผนการจัด ประสบการณ์ ที่สามรถนำไปใช้ได้จริงและเกิดประโยชน์ต่อเด็กระดับชั้นอนุบาลปีท่ี 3/1 ท่ขี ้าพเจ้าได้รบั มอบหมายใหร้ บั ผิดชอบ ดงั น้ี แผนการจัดประสบการณ์มคี วามสอดคล้องกับหลกั การจดั การศึกษาปฐมวัย 5.1 นำหนว่ ยการจัดประสบการณ์มากำหนดรายละเอยี ดสาระการเรียนรู้ เมื่อได้หน่วยการจัดประสบการณ์แล้ว กำหนดรายละเอียดสาระการเรียนรู้ ให้เข้ากับหวั เรอ่ื งหน่วยการจัดประสบการณ์ สาระการเรยี นรู้ประกอบด้วยประสบการณส์ ำคัญและ สาระที่ควรเรียนรู้ ซ่ึงสาระที่ควรเรียนรู้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 นั้นเป็นสาระท่ีไม่ได้กำหนดรายละเอียดของเน้ือหาให้ ท้ังนี้เพ่ือประสงค์ให้สามารถยืดหยุ่น ได้โดยงา่ ย สะดวกต่อการปรับให้เหมาะสมกบั ความสนใจและสง่ิ แวดลอ้ มในชวี ติ จรงิ ของเด็ก 5.2 สังเกตหรอื ระดมความคดิ จากเดก็ ข้าพเจ้าสนทนากับเด็ก เพื่อจะได้ทราบว่าเด็กมีประสบการณ์เดิมในหัวเร่ืองน้ัน มากนอ้ ยเพียงใด เด็กอยากทราบอะไรเพิม่ เติม และขา้ พเจ้าไดต้ รวจสอบหลักสูตรเพอื่ เพ่ิมเติมส่ิงที่ เดก็ ควรเรยี นรู้ในหน่วยหรือหวั เรอ่ื งนน้ั ๆ อย่างไร ***********************
ผลการประเมนิ พัฒนาการนกั เรียน ชั้นอนบุ าล 3/1 ปีการศึกษา 2563 มนี ักเรยี นทงั้ ส้ินจำนวน 28 คน ดังนี้ (ชาย 16 คน หญงิ 12 คน) พฒั นาการด้านรา่ งกาย มาตรฐานท่ี 1 ร่างกายเจรญิ เตบิ โตตามวยั และมีสขุ นสิ ัยท่ดี ี ตวั บง่ ชี้ที่ 1.1 นำ้ หนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ 1.1.1 น้ำหนกั และสว่ นสงู ตามเกณฑข์ องกรมอนามยั จำนวนคน พัฒนาการ เกณฑ์ ชาย หญงิ คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ นำ้ หนกั เกนิ เกณฑ์ 1 6.25 - - เทยี บกบั อายุ ปกติ ต่ำกว่าเกณฑ์ 15 93.75 10 83.33 ส่วนสูง เกินเกณฑ์ เทียบกับอายุ ปกติ - - 1 8.33 ต่ำกวา่ เกณฑ์ - --- - --- - --- ตวั บง่ ชที้ ่ี 1.2 มีสขุ ภาพอนามยั สุขนิสยั ที่ดี สภาพที่พงึ ประสงค์ 1.2.1 รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และดมื่ นำ้ สะอาดได้ด้วยตนเอง สภาพท่ีพึงประสงค์ 1.2.2 ลา้ งมอื ก่อนรบั ประทานอาหาร และหลังใชห้ อ้ งนำ้ ห้องส้วมดว้ ยตนเอง สภาพที่พงึ ประสงค์ 1.2.3 นอนพักผอ่ นเป็นเวลา สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ 1.2.4 ออกกำลังกายเปน็ เวลา ระดับคุณภาพ ท่ี รายการ ระดับ 3 ระดับ 2 ระดบั 1 คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ คน ร้อยละ 1.2.1 รับประทานอาหารที่มปี ระโยชน์ได้บางชนิดและดื่มน้ำ 26 92.86 2 7.14 - - สะอาดไดด้ ว้ ยตนเอง 1.2.2 ลา้ งมือก่อนรบั ประทานอาหารและหลงั จากใช้ห้องนำ้ 26 92.86 2 7.14 - - ห้องส้วมดว้ ยตนเอง 26 92.86 2 7.14 - - 1.2.3 นอนพักผ่อนเป็นเวลา 26 92.86 2 7.14 - - 1.2.4 ออกกำลงั กายเป็นเวลา
ตวั บง่ ช้ี 1.3 รกั ษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อนื่ สภาพท่พี ึงประสงค์ 1.3.1 เล่น ทำกิจกรรมและปฏิบตั ติ ่อผู้อน่ื อย่างปลอดภยั ระดบั คณุ ภาพ ท่ี รายการ ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ -- 1.3.1 เลน่ ทำกิจกรรมและปฏิบตั ติ ่อผูอ้ ่นื อยา่ งปลอดภยั 26 92.86 2 7.14 มาตรฐานที่ 2 กล้ามเน้ือใหญ่และกล้ามเน้ือเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและ ประสานสมั พนั ธก์ นั ตวั บง่ ช้ที ่ี 2. 1 เคลื่อนไหวร่างกายอยา่ งคล่องแคล่วประสานสมั พันธแ์ ละทรงตัวได้ (กล้ามเนอื้ ใหญ่) สภาพทพ่ี ึงประสงค์ 2.1.1 เดินต่อเท้าถอยหลังเป็นเสน้ ตรงได้โดยไม่ต้องกางแขน สภาพท่ีพึงประสงค์ 2.1.2 กระโดดขาเดียวไปขา้ งหน้าได้อยา่ งตอ่ เนื่องโดยไมเ่ สียการทรงตัว สภาพท่พี งึ ประสงค์ 2.1.3 วิ่งหลบหลีก ส่งิ กีดขวางได้อย่างคล่องแคลว่ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ 2.1.4 รับลูกบอลท่ีกระดอนข้ึนจากพื้นได้ ระดับคณุ ภาพ ที่ รายการ ระดบั 3 ระดับ 2 ระดับ 1 คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ คน ร้อยละ 2.1.1 เดนิ ตอ่ เทา้ ถอยหลังเป็นเสน้ ตรงไดโ้ ดยไม่ต้องกางแขน 26 92.86 2 7.14 - - 2.1.2 กระโดดขาเดยี วไปขา้ งหน้าได้อย่างต่อเนือ่ งโดยไม่ 26 92.86 2 7.14 - - เสยี การทรงตัว 2.1.3 วิง่ หลบหลกี สิ่งกดี ขวางได้อย่างคล่องแคลว่ 26 92.86 2 7.14 - - 2.1.4 รบั ลูกบอลที่กระดอนขึน้ จากพื้นได้ 26 92.86 2 7.14 - - ตัวบง่ ช้ีท่ี 2.2 ใช้มือ – ตา ประสานสมั พนั ธก์ นั (กลา้ มเน้อื เล็ก) สภาพที่พึงประสงค์ 2.2.1 ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนวเสน้ โคง้ ได้ สภาพที่พึงประสงค์ 2.2.2 เขียนรูปสามเหลย่ี มตามแบบได้มมี ุมอยา่ งชดั เจน สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ 2.2.3 ร้อยวสั ดทุ ี่มรี ูขนาดเสน้ ผา่ ศูนย์กลาง 0.25 เซนตเิ มตรได้ ระดับคุณภาพ ท่ี รายการ ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 คน รอ้ ยละ คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ -- -- 2.2.1 ใชก้ รรไกรตดั กระดาษตามแนวเสน้ โค้งได้ 26 92.86 2 7.14 -- 2.2.2 เขยี นรูปสามเหล่ียมตามแบบได้มมี ุมอยา่ งชดั เจน 26 92.86 2 7.14 2.2.3 รอ้ ยวสั ดุทมี่ ีรขู นาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลาง 0.25 26 92.86 2 7.14 เซนติเมตรได้
พฒั นาการดา้ นอารมณ์ - จิตใจ มาตรฐานท่ี 3 มสี ขุ ภาพจติ ดี และมีความสุข ตวั บง่ ชี้ที่ 3.1 แสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม สภาพที่พึงประสงค์ 3.1.1 แสดงอารมณ์ ความรสู้ ึกได้สอดคล้องกับสถานการณอ์ ย่างเหมาะสม ระดบั คณุ ภาพ ท่ี รายการ ระดบั 3 ระดบั 2 ระดบั 1 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ 3.1.1 แสดงอารมณ์ ความรสู้ กึ ได้สอดคล้องกับ 26 92.86 2 7.14 - - สถานการณ์อย่างเหมาะสม ตวั บง่ ช้ีท่ี 3.2 มีความรู้สกึ ท่ีดีต่อตนเองและผู้อนื่ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ 3.2.1 กล้าพดู กลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์ สภาพที่พงึ ประสงค์ 3.2.2 แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเองและผอู้ ่นื ระดับคุณภาพ ที่ รายการ ระดับ 3 ระดบั 2 ระดบั 1 3.2.1 กล้าพูดกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ 3.2.2 แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเอง 26 92.86 2 7.14 - - และผู้อน่ื 26 92.86 2 7.14 - - มาตรฐานท่ี 4 ชนื่ ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่อื นไหว ตัวบง่ ช้ที ่ี 4.1 สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผ่านงานศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอื่ นไหว สภาพที่พงึ ประสงค์ 4.1.1 สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออกผ่านงานศลิ ปะ สภาพที่พึงประสงค์ 4.1.2 สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผา่ นเสียงเพลง ดนตรี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ 4.1.3 สนใจ มีความสุข และแสดงท่าทาง/เคลือ่ นไหวประกอบเพลง จงั หวะ และดนตรี ระดับคุณภาพ ท่ี รายการ ระดับ 3 ระดบั 2 ระดบั 1 คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ 4.1.1 สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ 26 92.86 2 7.14 - - 4.1.2 สนใจ มคี วามสุข และแสดงออกผ่านเสียงเพลง ดนตรี 26 92.86 2 7.14 - - 4.1.3 สนใจ มีความสขุ และแสดงท่าทาง/เคล่ือนไหว 26 92.86 2 7.14 - - ประกอบเพลง จงั หวะ และดนตรี
มาตรฐานที่ 5 มคี ุณธรรม จริยธรรม และมจี ิตใจท่ดี ีงาม ตวั บง่ ชที้ ่ี 5.1 ซื่อสัตยส์ จุ รติ สภาพที่พงึ ประสงค์ 5.1.1 ขออนุญาตหรือรอคอย เม่ือต้องการสิ่งของของผู้อน่ื ดว้ ยตนเอง ระดับคณุ ภาพ ที่ รายการ ระดบั 3 ระดบั 2 ระดบั 1 คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ 5.1 ขออนุญาตหรือรอคอย เม่ือต้องการส่งิ ของ 26 92.86 2 7.14 - - ของผู้อื่นดว้ ยตนเอง ตวั บ่งชี้ท่ี 5.2 มีความเมตตากรุณา มนี ำ้ ใจ และชว่ ยเหลือแบ่งปนั สภาพทพ่ี ึงประสงค์ 5.2.1 แสดงความรกั เพ่อื นและมเี มตตาสัตว์เลยี้ ง สภาพท่ีพึงประสงค์ 5.2.2 ชว่ ยเหลอื และแบง่ ปันผู้อน่ื ได้ด้วยตนเอง ระดบั คณุ ภาพ ที่ รายการ ระดบั 3 ระดับ 2 ระดบั 1 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ -- -- 5.2.1 แสดงความรกั เพ่ือน และมีเมตตาสตั วเ์ ลี้ยง 26 92.86 2 7.14 5.2.2 ชว่ ยเหลอื และแบ่งปันผอู้ ืน่ ได้ด้วยตนเอง 26 92.86 2 7.14 ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีความเห็นอกเหน็ ใจผ้อู ื่น สภาพท่พี งึ ประสงค์ 5.3.1 แสดงสหี นา้ และทา่ ทางรับรคู้ วามรสู้ กึ ผู้อ่ืนอย่างสอดคล้องกบั สถานการณ์ ระดับคุณภาพ ท่ี รายการ ระดับ 3 ระดบั 2 ระดับ 1 คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ 5.3.1 แสดงสีหนา้ และทา่ ทางรับรคู้ วามร้สู กึ ผู้อนื่ อย่าง 26 92.86 2 7.14 - - สอดคล้องกบั สถานการณ์ ตวั บง่ ชท้ี ี่ 5.4 มีความรับผิดชอบ สภาพท่พี งึ ประสงค์ 5.4.1 ทำงานท่ีได้รับมอบหมายจนสำเร็จดว้ ยตนเอง ระดบั คณุ ภาพ ท่ี รายการ ระดบั 3 ระดับ 2 ระดับ 1 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ -- 5.4.1 ทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเรจ็ ด้วยตนเอง 26 92.86 2 7.14
พัฒนาการดา้ นสังคม มาตรฐานที่ 6 มที ักษะชวี ิตและปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตวั บง่ ช้ที ี่ 6.1 ช่วยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ตั กิ จิ วัตรประจำวนั สภาพทีพ่ ึงประสงค์ 6.1.1 แต่งตัวด้วยตนเองไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ สภาพที่พงึ ประสงค์ 6.1.2 รับประทานอาหารด้วยตนเองอย่างถกู วธิ ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ 6.1.3 ใช้และทำความสะอาดหลกั งใช้หอ้ งนำ้ ห้องส้วมดว้ ยตนเอง ระดบั คุณภาพ ท่ี รายการ ระดบั 3 ระดับ 2 ระดบั 1 คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ 6.1.1 แตง่ ตวั ด้วยตนเองได้อย่างคล่องแคล่ว 26 92.86 2 7.14 - - 6.1.2 รับประทานอาหารด้วยตนเองอย่างถูกวิธี 26 92.86 2 7.14 - - 6.1.3 ใช้และทำความสะอาดหลกั งใชห้ อ้ งนำ้ ห้องสว้ ม 26 92.86 2 7.14 - - ด้วยตนเอง ตัวบง่ ช้ที ี่ 6.2 มวี ินัยในตนเอง สภาพที่พงึ ประสงค์ 6.2.1 เกบ็ ของเล่นของใชเ้ ขา้ ที่อยา่ งเรียบร้อยด้วยตนเอง สภาพทพ่ี ึงประสงค์ 6.2.2 เขา้ แถวตามลำดบั ก่อนหลงั ได้ด้วยตนเอง ระดับคุณภาพ ที่ รายการ ระดบั 3 ระดับ 2 ระดับ 1 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ 6.2.1 เก็บของเลน่ ของใช้เข้าท่ีอย่างเรยี บรอ้ ยด้วยตนเอง 26 92.86 2 7.14 - - 6.2.2 เข้าแถวตามลำดับ ก่อนหลังไดด้ ว้ ยตนเอง 26 92.86 2 7.14 - - ตัวบ่งชี้ท่ี 6.3 ประหยัดและพอเพียง สภาพท่พี ึงประสงค์ 6.3.1 ใช้สิ่งของเคร่ืองใช้อยา่ งประหยัดและพอเพยี งด้วยตนเอง ที่ รายการ ระดับคุณภาพ ระดบั 3 ระดับ 2 ระดับ 1 6.3.1 ใชส้ ่ิงของเคร่ืองใช้อยา่ งประหยัดและพอเพยี งดว้ ย คน รอ้ ยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ ตนเอง 26 92.86 2 7.14 - -
มาตรฐานที่ 7 รักธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม วฒั นธรรมและความเป็นไทย ตวั บง่ ชี้ที่ 7.1 ดูแลรกั ษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาพทพ่ี ึงประสงค์ 7.1.1 ดูแลรกั ษาธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มดว้ ยตนเอง สภาพทพ่ี ึงประสงค์ 7.1.2 ท้ิงขยะให้ถูกที่ ท่ี รายการ ระดับคุณภาพ ระดับ 1 ระดับ 3 ระดับ 2 คน ร้อยละ 7.1.1 ดูแลรักษาธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มดว้ ยตนเอง คน ร้อยละ คน ร้อยละ -- 7.1.2 ทิ้งขยะให้ถูกที่ 26 92.86 2 7.14 -- 26 92.86 2 7.14 ตวั บง่ ชท้ี ่ี 7.2 มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย และรกั ความเปน็ ไทย สภาพที่พงึ ประสงค์ 7.2.1 ปฏบิ ตั ิตนตามมารยาทไทยได้ตามกาลเทศะ สภาพท่ีพึงประสงค์ 7.2.2 กลา่ วคำขอบคุณและขอโทษด้วยตนเอง สภาพที่พงึ ประสงค์ 7.2.3 ยืนตรงและรว่ มรอ้ งเพลงชาติไทย และเพลงสรรเสรญิ พระบารมี ระดบั คุณภาพ ท่ี รายการ ระดบั 3 ระดบั 2 ระดบั 1 7.2.1 ปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทไทยได้ตามกาลเทศะ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ 7.2.2 กล่าวคำขอบคุณและขอโทษด้วยตนเอง 7.2.3 ยืนตรงและรว่ มร้องเพลงชาติไทย และเพลงสรรเสรญิ 26 92.86 2 7.14 - - พระบารมี 26 92.86 2 7.14 - - 26 92.86 2 7.14 - - มาตรฐานท่ี 8 อยรู่ ่วมกบั ผ้อู ืน่ ไดอ้ ย่างมีความสขุ และปฏิบัตติ นเปน็ สมาชิกทด่ี ีของสงั คมใน ระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ ตวั บง่ ชท้ี ่ี 8.1 ยอมรบั ความเหมือนและความตา่ งระหว่างบุคคล สภาพทพี่ งึ ประสงค์ 8.1.1 เล่นและทำกจิ กรรมร่วมกบั เด็กท่แี ตกตา่ งไปจากตน ระดับคุณภาพ ท่ี รายการ ระดับ 3 ระดับ 2 ระดบั 1 คน รอ้ ยละ คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ 8.1.1 เลน่ และทำกจิ กรรมรว่ มกบั เด็กท่ีแตกตา่ งไปจากตน 26 92.86 2 7.14 - -
ตวั บ่งช้ีท่ี 8.2 มปี ฏิสัมพันธท์ ดี่ ีกบั ผู้อนื่ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ 8.2.1 เลน่ หรอื ทำงานร่วมกับเพื่อนอย่างมีเป้าหมาย สภาพทพ่ี ึงประสงค์ 8.2.2 ยิม้ ทกั ทาย และพูดคุยกบั ผู้ใหญ่หรือบุคคลท่ีค้นุ เคยได้เหมาะสมกับ สถานการณ์ ระดับคณุ ภาพ ท่ี รายการ ระดบั 3 ระดับ 2 ระดบั 1 คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ คน ร้อยละ 8.2.1 เล่นหรอื ทำงานร่วมกบั เพื่อนเป็นกลุม่ 26 92.86 2 7.14 - - 8.2.2 ย้มิ ทกั ทาย และพูดคุยกบั ผ้ใู หญ่หรอื บุคคลทค่ี ้นุ เคย 26 92.86 2 7.14 - - ไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ ตัวบ่งชี้ท่ี 8.3 ปฏบิ ัติตนเบื้องต้นในการเปน็ สมาชกิ ท่ีดีของสังคม สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ 8.3.1 มีสว่ นร่วมสร้างขอ้ ตกลงและปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลงดว้ ยตนเอง สภาพท่ีพงึ ประสงค์ 8.3.2 ปฏบิ ัตติ นเป็นผ้นู ำและผู้ตามได้เหมาะสมกบั สถานการณ์ สภาพที่พงึ ประสงค์ 8.3.3 ประนีประนอมแก้ไขปญั หาโดยปราศจากการใช้ความรุนแรงด้วยตนเอง ระดบั คณุ ภาพ ที่ รายการ ระดับ 3 ระดบั 2 ระดบั 1 คน รอ้ ยละ คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ 8.3.1 มสี ่วนรว่ มสรา้ งข้อตกลงและปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลงดว้ ย 26 92.86 2 7.14 - - ตนเอง 8.3.2 ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผูน้ ำและผู้ตามได้เหมาะสมกบั สถานการณ์ 26 92.86 2 7.14 - - 8.3.3 ประนปี ระนอมแกไ้ ขปญั หาโดยปราศจากการใช้ความ 26 92.86 2 7.14 - - รนุ แรงดว้ ยตนเอง พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารไดเ้ หมาะสมกบั วัย ตวั บ่งชี้ท่ี 9.1 สนทนาโตต้ อบ และเล่าเรอ่ื งให้ผู้อ่นื เขา้ ใจ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ 9.1.1 ฟังผูอ้ ืน่ พดู จนจบ และสนทนาโต้ตอบอยา่ งต่อเนอ่ื งเชือ่ มโยงกับเรอ่ื งทฟ่ี ัง สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ 9.1.2 เลา่ เปน็ เรอ่ื งราวตอ่ เน่ืองได้ ระดับคุณภาพ ที่ รายการ ระดับ 3 ระดบั 2 ระดับ 1 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ 9.1.1 ฟงั ผู้อนื่ พดู จนจบ และสนทนาโตต้ อบอย่างต่อเนื่อง 26 92.86 2 7.14 - - เช่อื มโยงกับเรื่องท่ีฟัง 9.1.2 เลา่ เปน็ เร่ืองราวต่อเนอ่ื งได้ 26 92.86 2 7.14 - -
ตวั บง่ ชที้ ่ี 9.2 อา่ น เขยี นภาพ และสัญลกั ษณไ์ ด้ สภาพที่พงึ ประสงค์ 9.2.1 อ่านภาพ สญั ลกั ษณ์ คำ ดว้ ยการชห้ี รือกวาดตามองจดุ เริ่มต้นและจดุ จบ ของข้อความ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ 9.2.2 เขียนชอ่ื ของตนเองตามแบบ เขียนขอ้ ความดว้ ยวิธีที่คดิ ขน้ึ เอง ท่ี รายการ ระดับคณุ ภาพ ระดบั 1 ระดับ 3 ระดบั 2 คน รอ้ ยละ 9.2.1 อ่านภาพ สญั ลักษณ์ คำ ด้วยการชหี้ รอื กวาดตามอง คน ร้อยละ คน ร้อยละ -- จุดเรม่ิ ตน้ และจุดจบของข้อความ 26 92.86 2 7.14 -- 9.2.2 เขยี นช่อื ของตนเองตามแบบ เขียนขอ้ ความด้วยวิธี ท่ีคิดข้ึนเอง 26 92.86 2 7.14 มาตรฐานที่ 10 มคี วามสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ ตัวบง่ ชที้ ี่ 10.1 มคี วามสามารถในการคิดรวบยอด สภาพทพ่ี ึงประสงค์ 10.1.1 บอกลักษณะส่วนประกอบ การเปล่ียนแปลง หรอื ความสัมพันธ์ ของสิง่ ต่าง ๆ จากการสงั เกตโดยใชป้ ระสาทสัมผัส สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ 10.1.2 จบั คู่และเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งและความเหมอื นของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ ลักษณะทส่ี ังเกตพบสองลกั ษณะข้ึนไป สภาพทพ่ี ึงประสงค์ 10.1.3 จำแนกและจัดกล่มุ สิ่งต่าง ๆ โดยใช้ต้ังแต่สองลักษณะขึ้นไปเปน็ เกณฑ์ สภาพท่พี ึงประสงค์ 10.1.4 เรยี งลำดับสง่ิ ของและเหตุการณ์อย่างน้อย 5 ลำดบั ระดับคณุ ภาพ ที่ รายการ ระดบั 3 ระดบั 2 ระดบั 1 คน รอ้ ยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ บอกลักษณะส่วนประกอบ การเปล่ียนแปลง หรอื 10.1.1 ความสมั พันธข์ องสิง่ ต่าง ๆ จากการสงั เกตโดยใช้ 26 92.86 2 7.14 - - ประสาทสมั ผสั จับค่แู ละเปรยี บเทียบความแตกต่างและความเหมอื น 10.1.2 ของสง่ิ ต่าง ๆ โดยใช้ลกั ษณะท่สี งั เกตพบสองลักษณะขึ้น 26 92.86 2 7.14 - - ไป 10.1.3 จำแนกและจัดกลุ่มส่งิ ต่าง ๆ โดยใช้ตงั้ แต่สองลักษณะ 26 92.86 2 7.14 - - ขนึ้ ไปเปน็ เกณฑ์ 26 92.86 2 7.14 - - 10.1.4 เรยี งลำดับสง่ิ ของและเหตุการณอ์ ย่างน้อย 5 ลำดบั
ตัวบง่ ช้ีที่ 10. 2 มคี วามสามารถในการคดิ เชิงเหตผุ ล สภาพทพ่ี ึงประสงค์ 10.2.1 อธบิ ายเช่อื มโยงสาเหตแุ ละผลทเ่ี กดิ ข้นึ ในเหตกุ ารณ์หรือการกระทำด้วย ตนเอง สภาพท่พี งึ ประสงค์ 10.2.2 คาดคะเนสิง่ ที่อาจจะเกิดข้นึ หรือมสี ่วนรว่ มในการลงความเหน็ จากขอ้ มูล อยา่ งมเี หตุผล ระดบั คุณภาพ ที่ รายการ ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ 10.2.1 อธบิ ายเชื่อมโยงสาเหตแุ ละผลทีเ่ กดิ ข้ึนใน 26 92.86 2 7.14 - - เหตุการณ์หรือการกระทำดว้ ยตนเอง 10.2.2 คาดคะเนสง่ิ ท่ีอาจจะเกิดขนึ้ หรอื มีสว่ นรว่ มใน 26 92.86 2 7.14 - - การลงความเห็นจากข้อมลู อย่างมีเหตผุ ล ตัวบ่งชท้ี ่ี 10.3 มีความสามารถในการคดิ แก้ปญั หาและตัดสินใจ สภาพทพี่ ึงประสงค์ 10.3.1 ตดั สินใจในเร่อื งง่ายๆ และยอมรับผลที่เกิดขึน้ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ 10.3.2 ระบปุ ัญหา สรา้ งทางเลือกและเลอื กวิธแี ก้ปัญหา ที่ รายการ ระดับคุณภาพ ระดบั 1 ระดบั 3 ระดบั 2 คน ร้อยละ 10.3.1 ตัดสนิ ใจในเรือ่ งงา่ ยๆ และยอมรับผลทเ่ี กิดขึน้ คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ -- 10.3.2 ระบุปัญหา สร้างทางเลือกและเลอื กวิธีแก้ปัญหา 26 92.86 2 7.14 -- 26 92.86 2 7.14 มาตรฐานท่ี11 มจี นิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ตวั บง่ ชีท้ ี่ 11.1 ทำงานศิลปะตามจนิ ตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์ สภาพที่พงึ ประสงค์ 11.1.1 สร้างผลงานศิลปะ เพื่อส่ือสารความคิด ความร้สู ึกของตนเอง โดยมกี าร ดัดแปลงแปลกใหมจ่ ากเดมิ และมรี ายละเอียดเพมิ่ ขนึ้ ที่ รายการ ระดับคณุ ภาพ ระดบั 3 ระดับ 2 ระดบั 1 สรา้ งผลงานศิลปะ เพ่ือสือ่ สารความคดิ ความรสู้ ึกของ คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ คน ร้อยละ 11.1.1 ตนเอง โดยมกี ารดัดแปลงแปลกใหมจ่ ากเดมิ และมี 26 92.86 2 7.14 - - รายละเอียดเพมิ่ ขนึ้
ตัวบง่ ช้ที ี่ 11.2 แสดงท่าทาง/เคลอ่ื นไหวตามจนิ ตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ 11.2.1 เคล่ือนไหวท่าทาง เพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนเองอยา่ ง หลากหลายและแปลกใหม่ ระดบั คุณภาพ ท่ี รายการ ระดบั 3 ระดับ 2 ระดบั 1 คน รอ้ ยละ คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ 11.2.1 เคลื่อนไหวทา่ ทาง เพ่อื สื่อสารความคิด ความรสู้ ึกของ 26 92.86 2 7.14 - - ตนเองอย่างหลากหลายและแปลกใหม่ มาตรฐานท่ี12 มเี จตคตทิ ดี่ ตี ่อการเรยี นรู้ และมคี วามสามารถในการแสวงหาความร้ไู ด้ เหมาะสมกับวยั ตวั บ่งชท้ี ี่ 12.1 มเี จตคติทด่ี ีต่อการเรียนรู้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ 12.1.1 สนใจหยิบหนังสอื มาอา่ นและเขยี นสอ่ื ความคดิ ดว้ ยตนเองเป็นประจำ อยา่ งต่อเน่ือง สภาพทพี่ งึ ประสงค์ 12.1.2 กระตือรอื ร้นในการรว่ มกิจกรรมตัง้ แตต่ น้ จนจบ ท่ี รายการ ระดับคุณภาพ ระดบั 1 ระดับ 3 ระดบั 2 คน ร้อยละ 12.1.1 สนใจหยิบหนงั สือมาอา่ นและเขียนสือ่ ความคิดด้วย คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ ตนเองเป็นประจำอย่างต่อเน่ือง -- 26 92.86 2 7.14 12.1.2 กระตือรือร้นในการร่วมกจิ กรรมตั้งแต่ตน้ จนจบ -- 26 92.86 2 7.14 ตัวบ่งชี้ที่ 12.2 มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ สภาพที่พึงประสงค์ 12.2.1 ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่าง ๆ โดยใชว้ ิธีการทหี่ ลากหลายด้วยตนเอง 12.2.2 ใช้ประโยคคำถามว่า “เม่ือไร” “อย่างไร” ในการค้นหาคำตอบ ระดับคุณภาพ ที่ รายการ ระดับ 3 ระดบั 2 ระดับ 1 คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ 12.2.1 ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยตา่ ง ๆ โดยใชว้ ธิ ีการท่ี 26 92.86 2 7.14 - - หลากหลายด้วยตนเอง 12.2.2 ใชป้ ระโยคคำถามวา่ “เมื่อไร” “อย่างไร” ในการ 26 92.86 2 7.14 - - ค้นหาคำตอบ
สรปุ ผลการประเมินด้านสุขภาพอนามยั ที่ รายการ สะอาด ระดับคุณภาพ สกปรก คน รอ้ ยละ พอใช้ คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ -- 1 ผมและศรี ษะ 28 100 - - 2 หแู ละใบหู 28 100 - - - - 3 ตา 28 100 - - - - 4 จมูก 28 100 - - - - 5 ฟนั 28 100 - - - - 6 มอื และเลบ็ มอื 28 100 - - - - 7 เท้าและเลบ็ เทา้ 28 100 - - - - 8 ผิวหนงั และใบหน้า 28 100 - - - - 9 เสอื้ ผา้ 28 100 - - - -
ภาคผนวก
การประเมนิ พฒั นาการด้านร่างกาย
การประเมินพฒั นาการด้านอารมณ์ - จติ ใจ
การประเมนิ พฒั นาการด้านสังคม
การประเมนิ พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: