Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือสภานักเรียน ไทยรัฐ 10

คู่มือสภานักเรียน ไทยรัฐ 10

Description: คู่มือสภานักเรียน ไทยรัฐ 10

Search

Read the Text Version

1 คู่มือสภานักเรยี นโรงเรยี นดอนศาลานาวทิ ยา พทุ ธศกั ราช 2562 ข้อมูลทั่วไป 1. ประวัติโรงเรยี นดอนศาลานาวิทยา โรงเรียนดอนศาลานาวิทยา ต้ังอยู่เลขที่ 151 หมู่ที่ 8 ตาบลมะกอกเหนือ อาเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง มีเนื้อท่ี จานวน 49 ไร่ 11 งาน 52 ตารางวา ได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการให้ เปิดเป็นสาขาของโรงเรียนควนขนุน เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2525 ทาพิธีเปิดเมื่อวันท่ี 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 โดยใช้ช่ือว่า “โรงเรียนควนขนุน 2” และเปิดทาการสอนเม่ือวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งเป็นโรงเรียนเอกเทศ เม่ือวันท่ี 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 ใช้ช่ือ วา่ “โรงเรียนดอนศาลานาวทิ ยา” เปดิ สอนระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 ถงึ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 2. ปรัชญาโรงเรยี น “สทฺธา สาธุ ปติฎฺ ฐิตา” ศรัทธา ต้ังมนั่ แล้ว ยงั ประโยชน์ให้สาเร็จ 3. ตราสัญลักษณ์โรงเรียนดอนศาลานาวิทยา เป็ นรูปเทยี นวางอย่ตู รงกลางธรรมจักรโดยมีหนังสือรองรับ หนังสือ หมายถึง ความรู้ความเจริญงอกงามในชีวิต ธรรมจักร หมายถึง ความร่มเยน็ เทยี น หมายถึง แสงสว่างนาทางไปสู่ความก้าวหน้า คมู่ อื สภานกั เรยี นโรงเรียนดอนศาลานาวิทยา

2 4. สปี ระจาโรงเรียน สเี ทา หมายถงึ ความคิดหรือปัญญา หรอื ความเจรญิ ทางสตปิ ญั ญา สที อง หมายถงึ ความมั่งคั่ง ม่ังมี อบอุ่น เปน็ มิตร สรา้ งสรรค์ หรือ นักคดิ คน้ ประดิษฐ์ส่ิงใหม่ๆ อิสระ ความเมตตา 5. เพลงมาร์ชโรงเรยี นดอนศาลานาวทิ ยา เพลงมาร์ชโรงเรียนดอนศาลานาวทิ ยา เนอ้ื ร้อง ดอนศาลานาวทิ ยา สถานศึกษานาพาเธอและฉัน ทักษะความรู้ คูม่ าตรฐาน ทุกดา้ นครบครนั เสริมประสบการณง์ านและเรียนเพยี รพฒั นา สเี ทา ทองผ่องอาไพ ระเบียบวนิ ัย หนา้ ท่มี ีจรรณยา สุขภาพดี มไี มตรีจิต ความคิดกา้ วหน้า รางวลั ล้าคา่ พระราชทานนัน้ บ่งช้ี ส่งเสริมการศึกษา พฒั นาคณุ ธรรม ก้าวทัน เทคโนโลยี ส่งิ แวดล้อมสะอาด บรรยากาศดี ศิลปะดนตรี กีฬาเด่น ชุมชนเป็นพลังเก้อื หนุน เทยี นธรรมจกั ร หนงั สอื สอื่ สรา้ งสรรค์ ดว้ ยพระอาจารย์นาแก้วจนั ทร์ นนั้ เปน็ ดง่ั ใบบญุ มวี ชิ าเหมือนมที รัพย์ นบั เปน็ ทุน สถานเกอ้ื กูล การศกึ ษาดอนศาลานาวิทยา หลกั การและแนวคิด กระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ให้ความสาคัญต่อผู้เรียน ซ่ึงถือเป็นทรัพยากรบุคคลและพลังสาคัญของชาติในการสืบทอดความเป็นชาติ ศาสนา ภูมิปัญญาและ วฒั นธรรม การพัฒนาทรพั ยากรบุคคลจงึ เป็นภาระกิจท่ีสาคัญที่จะต้องมีกลไกเข้ามาร่วมในการขับเคลื่อน เช่น ความร่วมมือให้เกิดสังคมแห่งการเอื้ออาทรบนสุภาพความเป็นอยู่ท่ีดี มีกลไกในการพัฒนาในทุกด้าน เพื่อ ยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติท่ีย่ังยืน เสริมสร้างอัตลักษณ์ทาง วัฒนธรรมให้เข้มแข็งเพ่ือเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศให้ก้าวหน้าทัดเทียมอารยประเทศ พร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน การดาเนินงานสภานักเรียนเปรียบเสมือนเวทีสาหรับฝึกให้นักเรียนเป็นนักประชาธิปไตย อยา่ แท้จริง คอื ร้จู ักการเป็นให้ ผู้รับ ผูน้ า และผู้ตามที่ดี มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อหน้าที่และช่วยแบ่งเบาภาวะของ ครูได้เป็นอย่างมาก อีกท้ังยังเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้และเข้าใจวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย มุ่งเน้นให้เด็กคิดเป็น ทาเป็นแก้ปัญหาเป็น เป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม ส่งเสริมความเป็นพลเมืองท่ีดีของชาติ ดังนั้น สานักงานคณะกรรมการขั้นพื้นฐาน จึงต้องขับเคล่ือนกิจกรรมสภานักเรียนสู่สถานศึกษาอย่างเป็น รปู ธรรม คู่มอื สภานกั เรียนโรงเรียนดอนศาลานาวทิ ยา

3 ส่วนท่ี 2 สภานกั เรยี น สภานกั เรียนคอื อะไร สภานักเรียนเป็นองค์กรนักเรียนองค์กรหน่ึงซ่ึงเป็นกลไกสาคัญที่จะช่วยพัฒนาโรงเรียนตาม กระบวนการนติ ธิ รรม และเปน็ องค์กรทจี่ ะปลูกฝังทัศนคติ คา่ นิยม ความเปน็ ประชาธปิ ไตยมีจิตวิญญาณในการ ใช้ธรรมาภิบาลเพ่ือให้นักเรียนเติบโตเป็นพลเมืองดีของสังคมและประเทศชาติ เป็นต้นกล้าประชาธิปไตยท่ี ม่ันคง เข้มแขง็ ของสังคมไทย ทาไมต้องมสี ภานักเรียน การพฒั นานักเรยี นใหส้ ามารถดาเนนิ การตามหลักธรรมาภิบาลมีวินัยเคารพกติกามีจิตอาสาเพ่ือสังคม รู้จักใช้กระบวนการประชาธิปไตยและแนวทางสันติวิธีนั้น กิจกรรมหนึ่งที่สามารถทาให้นักเรียนมีคุณลักษณะ ดงั กลา่ วได้ คือกิจกรรมสภานักเรียน ทีม่ าของสภานักเรียน โรงเรยี นมภี ารกิจในการปลูกฝงั วิถปี ระชาธิปไตยให้กับนักเรียนโดยการสนับสนุนให้นักเรียนมีกิจกรรม การเรียนรู้กระบวนการประชาธิปไตยท่ีได้ปฏิบัติจริงในรูปแบบการเลือกต้ังผู้แทนนักเรียน เริ่มจากการเลือก หัวหน้าหอ้ ง หัวหน้าระดับชน้ั ประธานชุมนุม ประธานชมรม คณะกรรมการนกั เรยี น และสภานักเรยี น บทบาทของสภานกั เรียน 1. เป็นผู้นาในการปฏิบตั กิ ิจกรรมเพ่อื ส่วนรวมตามหลกั ธรรมาภิบาล 2. ปกปอู งคุม้ ครองสทิ ธเิ สรีภาพของตนเองและเพ่ือนนักเรียน โดยใชก้ ระบวนการประชาธปิ ไตย และ แนวทางสันติวธิ ี 3. ชักชวนนักเรียนให้มีส่วนรว่ มในการพัฒนาโรงเรียน 4. สบื สานความรู้ ภมู ิปญั ญา วัฒนธรรม และเอกลกั ษณ์ของชาติ 5. เปน็ ผ้นู าเพอื่ การมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมของชุมชนและสงั คม หน้าท่ีของสภานกั เรียน 1. ดแู ลทกุ ข์ สุข ของนกั เรียน และร่วมแก้ไขปญั หาทีเ่ กิดข้นึ ในโรงเรียน 2. ประสานกับบคุ ลากรและหนว่ ยงานที่เกยี่ วข้องเพ่ือประโยชนแ์ ละความก้าวหน้าทนี่ ักเรียนควรไดร้ ับ 3. รบั ผิดชอบงานและกิจกรรมตา่ งๆ ตามท่ไี ดร้ ับมอบหมายจากโรงเรียน 4. คิดรเิ ร่ิมโครงการทีเ่ ปน็ ประโยชน์ สามารถปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ และสง่ ผลต่อการพัฒนาโรงเรียน 5. ดแู ลสอดส่องและจัดการทรพั ยากรที่มีอยู่ในโรงเรียนอย่างคุ้มค่า 6. ประชาสมั พันธข์ ้อมลู ข่าวสารที่เป็นประโยชนท์ นั ต่อเหตุการณ์และตรงไปตรงมา 7. เสนอความคิดเหน็ ในการพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นการสอน 8. วางแผนดาเนินงานกจิ กรรมต่างๆร่วมกบั ครูทป่ี รึกษา ค่มู ือสภานกั เรียนโรงเรียนดอนศาลานาวิทยา

4 คณุ คา่ และความสาคัญของสภานักเรียน 1. เปน็ กลไกสาคัญเพื่อการพัฒนาสังคมในโรงเรียนใหเ้ ปน็ สังคมประชาธิปไตย 2. เป็นกระบวนการหนงึ่ ในการพัฒนาศกั ยภาพความเป็นผนู้ า 3. เปน็ เวทใี หน้ ักเรยี นได้ฝกึ ทักษะและประสบการณต์ ามวิถีชวี ิตประชาธิปไตยและการใช้ธรรมาภิบาล 4. สรา้ งโอกาสให้นกั เรยี นได้เรียนรู้การอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมประชาธิปไตยอย่างสงบสขุ 5. เป็นยุทธศาสตรส์ าคัญในการปลกู ฝังจติ วญิ ญาณประชาธิปไตยและการใช้ธรรมาภิบาลใหแ้ ก่นกั เรยี น คู่มือสภานักเรียนโรงเรยี นดอนศาลานาวทิ ยา

5 ส่วนที่ 3 การสรา้ งความเขม้ แข็งให้แก่สภานักเรยี น การดาเนินงานกิจกรรมสภานักเรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุดจาเป็นต้องสร้างความเข้มแข็งให้แก่สภา นักเรียนด้วย นาหลักธรรมาภิบาลสู่การปฏิบัติ การใช้หลักความสมานฉันท์ การใช้แนวทางสันติวิธีในการ ดาเนินงาน อีกทั้งยังต้องมีการพัฒนาทักษะการเป็นผู้นา การสร้างและพัฒนาเครือข่าย การสร้างลักษณะนิสัย ใหน้ กั เรยี นเปน็ ผมู้ ีจติ อาสาและมสี านึกสาธารณะซง่ึ องค์ความรแู้ ตล่ ะเรือ่ งมีสาระสาคัญดงั ต่อไปนี้ การนาหลักธรรมาภบิ าลสูก่ ารปฏบิ ตั ิ ธรรมาภิบาล หมายถึง การมีส่วนร่วมของทุกฝุายในสังคม อันได้แก่ ภาครัฐ เอกชน ภาคประชาชนที่ จะช่วยใหเ้ กิดความถกู ต้อง ความชอบธรรม ความโปร่งใส ความรับผดิ ชอบและมคี วามเหน็ รว่ มกันในการพัฒนา สังคมและประเทศชาติ หลักการสาคัญของธรรมาภิบาล ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารจัดการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ.2542 ได้ระบหุ ลกั การสาคัญของธรรมาภิบาลไว้ 6 หลกั การคอื 1. หลักนิติธรรม คือการปกครองภายใต้ขอบเขตของระเบียบ แบบแผน โดยใช้กฎหมายเป็นหลักใน การดาเนนิ งาน 2. หลักคณุ ธรรม หมายถงึ การยึดม่ันในความถกู ต้องดีงามเป็นสาคญั 3. หลักความโปร่งใส คือการเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้สะดวก สามารถ ตรวจสอบได้ 4. หลักการมีส่วนร่วม คือการเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและการ ตดั สนิ ใจในการดาเนินงาน 5. หลกั ความรบั ผิดชอบ คือความตระหนักในสทิ ธหิ น้าท่ี มีสานกึ ในความรบั ผิดชอบในภาระหนา้ ที่ 6. หลักความคุ้มค่า คือการบริหารจัดการและการใชท้ รัพยากรท่มี ุ่งใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ แก่สว่ นรวม การนาหลกั ธรรมาภิบาลทั้ง 6 หลักการดังกล่าวไปสู่การปฏิบัตินั้น ต้องมีลักษณะและเง่ือนไข คือ มีความชอบ ธรรม มคี วามโปร่งใส มคี วามรับผิดชอบและสามารถตรวจสอบได้ มปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ล รวมท้ังการมี สว่ นร่วมของภาคเอกชนและประชาชนการใช้หลักความสมานฉันท์ ความสมานฉันท์ หมายถึง ความสามัคคี ปรองดองเปน็ อนั หน่งึ อันเดียวกัน การมีความเห็นพ้องต้องกัน รวมทั้งการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี เพ่ือนาไปสู่ผลลัพธ์ท่ีถูกต้อง โดยอยู่บนพื้นฐานความดี ความ เป็นจริง ความเป็นธรรม ความรัก ความปรารถนาดีต่อกัน ความเมตตากรุณา รวมท้ังการแก้ปัญหาด้วย กระบวนการสันติวิธี ซ่ึงควรจะต้องร้อยรัดด้วยวิธีที่ดี ที่จะช่วยประสานเช่ือมโยงและนาไปสู่การมีทัศนคติที่ดี สานสามัคคีให้เกิดข้ึนทุกที่ของสังคม การจะสร้างความสมานฉันท์ให้เกิดขึ้น ควรประกอบด้วยแนวคิดหลัก 9 ประการไดแ้ ก่ 1. การเปิดเผยความจริง 2. ความยุตธิ รรม 3. ความพรอ้ มในการรบั ผดิ ชอบ ค่มู อื สภานักเรียนโรงเรียนดอนศาลานาวทิ ยา

6 4. การให้อภัย 5. การเคารพความหลากหลายทางศาสนา วฒั นธรรม 6. การยึดหลกั สันติวิธีเป็นทางเลอื กในการแก้ไขความขดั แยง้ 7. การเปดิ พื้นทีใ่ ห้ความทรงจาท่ีเจ็บปวด 8. การแก้ไขในอนาคตด้วยจิตนาการ การใชแ้ นวทางสันตวิ ิทยา สังคมเกิดจากการรวมของบุคคลต้ังแต่ของคนข้ึนไป มีการติดต่อทากิจกรรมต่างๆร่วมกัน ได้อาศัย บรรทัดฐาน คือกฎหมาย ระเบียบประเพณี สถานภาพและบทบาทหน้าที่ เป็นท่ียึดถือ และใช้เป็นหลักปฏิบัติ แต่เน่ืองจากบางคน บางกลุ่ม ขาดคุณสมบัติในอันได้แก่ ศรัทธา ศีล การเสียสละและปัญญา จึงไม่ยอมรับ กติกา ระเบียบ แบบแผนวัฒนธรรมประเพณีที่ได้ใช้เป็นหลักในการปฏิบัติของคนในสังคม จึงทาให้เกิด สถานการณ์ความขัดแย้งขนึ้ ในกลุม่ คนชมุ ชน และสังคม ความขัดแยง้ เป็นสถานการณ์ปกติของการอย่รู ่วมกนั ในสงั คมเพราะบุคคลแต่ละคนมีพื้นฐานการศึกษา สังคม วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตท่ีแตกต่างกัน อย่างไรก็ตามเม่ือเกิดสถานการณ์ความขัดแย้งเกิดขึ้น คนไม่ สามารถแกไ้ ขความขัดแย้งท่ีเกิดขึ้นได้ทันที ความขัดแย้งที่ก่อตัวขึ้นจึงขยายกว้างออกไปเป็นการทะเลาะวิวาท กันและเกดิ ความรนุ แรงขน้ึ บทสรปุ ของความขัดแยง้ กลายเปน็ ความแตกแยก ท้ังในแง่ของความคิด การปฏิบัติ และผลท่ตี ามมากค็ ือสงั คมโดยรวมขาดความสงบสุข โดยเหตุผลดังกล่าวนักวิชาการในสังคมไทยจึงพยายามที่จะแสวงหาเครื่องมือสาคัญเพื่อนามาแก้ไข ปัญหาความขัดแย้ง ซ่งึ ทางออก หลักการทางานของเครือขา่ ย 1. คานงึ ถึงประโยชนส์ ูงสุดขององค์กรเปน็ หลัก 2. ลดทอนการยดึ อัตตาและผลประโยชน์ของตนเอง 3. มีความเขา้ ใจในข้อกาจดั ของแตล่ ะฝุาย 4. มีความไวว้ างใจในการทางานร่วมกนั 5. ยึดหลักความเสมอภาคในการทางาน 6. มที ัศนคตทิ ว่ี ่าผปู้ ระสานงานคอื ผู้ใหบ้ ริการ และให้การสนับสนุน ไมใ่ ชผ่ นู้ าหรือส่งั การแต่เป็นผ้คู ดิ ริเริ่ม 7. ต้องเปน็ การทางานแบบกระจายอานาจไม่ใชร่ วมศนู ย์ ศูนยก์ ลางคือการประสานงาน 8. องค์กรสมาชิกมีความเท่าเทียมกัน 9. มีการส่อสารกนั หลายทาง 10. มกี ิจกรรมร่วมกนั อยา่ งต่อเนอ่ื ง และเปน็ ประโยชน์ โดยเกดิ จากความร่วมมือจากสมาชกิ 11. มีการประสานงานท้ังแนวต้ังและแนวนอน 12. มแี กนกลางท่ีมปี ระสิทธิภาพ คมู่ ือสภานกั เรียนโรงเรียนดอนศาลานาวิทยา

7 ลกั ษณะของเครอื ขา่ ย 1. ตอ้ งเกดิ ขน้ึ ตามธรรมชาตแิ ละเป็นไปตามความสมัครใจของทุกคน 2. ตอ้ งมีการแลกเปล่ยี นความคิดเห็น 3. ต้องรว่ มมือกันเปน็ ทีมในการทากิจกรรม 4. ตอ้ งมใี จเปดิ กว้างรบั ฟังความคิดเห็นจากทกุ ฝุาย 5. ต้องมกี ารบรหิ ารและการจัดการทด่ี ีและมีประสิทธภิ าพ 6. ตอ้ งมีทรพั ยากรสนบั สนุน 7. ต้องมเี คร่ืองมือและกลไกในการทางาน การสรา้ งจิตอาสา/สานกึ สาธารณะ จิตอาสา หมายถงึ การมีจติ ทชี่ ว่ ยเหลอื ผู้อื่น นึกถึงส่วนรวมอยู่เสมอ แสดงออกด้วยการกระทาโดยไม่หวัง ส่ิงตอบแทน อยากเห็นความสุข ความสาเร็จของผู้อื่นและปรารถนาจะเห็นส่วนรวมมีความสุขกับการได้ทาส่ิง ดๆี มีจิตใจที่แนว่ แน่มนั่ คง คานึงวา่ กจิ กรรมทีต่ นทาจะก่อใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ขุ แก่ผู้อืน่ ความเป็นผู้มีจิตอาสา/สานึกสาธารณะสุข เกิดจากการซึมซับบรรยากาศและสภาพแวดล้อมของ สถาบันต่าง ๆ เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันสังคม การเรียนรู้จากการได้รับโอกาสที่ได้คิด ได้สร้างสรรค์ ได้ทดลองซ่ึงสถาบันต่าง ๆ มอบโอกาสให้ การมีส่วนร่วมของนักเรียนในกิจกรรมต่าง ๆ อย่างทั่วถึง รวมทง้ั การสง่ เสรมิ สนับสนุน และการกระตุ้นจากสถาบันการเมือง การปกครองและสอ่ื มวลชน แนวทางในการพัฒนาให้นักเรียนเป็นผู้มีจิตอาสา/สานึกสาธารณะของสถาบันการศึกษาคือ สถานศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียนสร้างปัญญาและพิจารณาจากการกระทาสู่การเรียนรู้ การสร้าง ความคิด จิตสานึกให้ยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติคือ สถาบันพระมหากษัตริย์ สถาบันศาสนา สถาบัน ครอบครัวการสร้างเมตตาธรรมให้เกิดขึ้นแก่นักเรียนการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในเร่ืองจิตสานึกเพ่ือ สว่ นรวม การสร้างกจิ กรรมพัฒนา ซ้าๆ บอ่ ยๆ และตอ่ เนื่อง การได้รบั ความรว่ มมือจากหลายฝุาย ปจั จัยที่เอื้อต่อการสร้างผูเ้ รียนใหม้ ีจิตอาสา/สานึกสาธารณะ 1. การมคี วามสมั พันธท์ ี่ดใี นหมูน่ กั เรียน 2. การสรา้ งความรว่ มมอื และความใส่ใจของครู 3. การสร้างความสนใจในกิจกรรมนักเรยี น 4. การสรา้ งโอกาสให้แก่นักเรียน 5. การส่งเสรมิ และสนับสนุนใหน้ ักเรยี นไดใ้ ชโ้ อกาสทางานเพอ่ื ส่วนรวมและสงั คม 6. การแสวงหาโอกาสจากแหล่งเรยี นรู้ ภายนอกสถานที่ คณุ ค่าและความสาคัญของการมจี ิตอาสา/สานกึ สาธารณะ 1. มีผลต่อความมน่ั คงของชาติ 2. เป็นพืน้ ฐานในการพฒั นาและสร้างสรรค์ความเจริญให้แก่องค์กร 3. ก่อใหเ้ กิดความรสู้ ึกร่วม และความผูกพันในองค์กร 4. มีผลตอ่ การพฒั นาวินยั ในตนเองของนักเรยี น นกั ศึกษา 5. เป็นทุนทางสังคมทมี่ คี วามสาคญั ของประเทศ คู่มือสภานกั เรียนโรงเรยี นดอนศาลานาวทิ ยา

8 ส่วนท่ี 4 แนวทางการจดั กจิ กรรม การจัดกิจกรรมท่ีมุ่งให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการคิด การพูด การวางแผน เป็นการเปิดโอกาสให้ นักเรียนได้กล้าแสดงออกในบทต่างๆ เช่น เป็นประธาน เป็นสมาชิก เป็นผู้นา หรือเป็นผู้ตามที่ดีย่อมส่งผลให้ นักเรียนมีความรู้ความคิด มีความเข้าใจ และได้ประเผชิญประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติจริง จะช่วยให้ นักเรียนสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดจิกกรรมท่ีจะนาไปสู่การ พฒั นาสภานกั เรยี นให้มีความเข้มแข็งอาจดาเนินการได้หลายแนวทางดงั ต่อไปน้ี กจิ กรรมพัฒนาทักษะผู้นา กิจกรรมพัฒนาทักษะการเป็นผู้นาเป็นกิจกรรมท่ีมุ่งให้นักเรียนความรู้ความเข้าใจในสภาวการณ์เป็น ผู้นา และมีทักษะความเป็นผู้นา สามารถนาความรู้ ที่ได้จากการจัดกิจกรรมไปใช้ประโยชน์ในการสร้างสภา นักเรียนใหเ้ ข้มแข็ง เชน่ แบง่ กลมุ่ ใหผ้ เู้ รียน แสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกบั ลักษณะผู้นาท่ีกลุ่มต้องการหรือการเป็น ผู้นาท่ีดี หรือจัดกลุ่ม Walk Rally เรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ แล้วจึงนามาสรุปเป็นองค์ความรู้ท่ีสามารถนามา ประยกุ ต์ใชไ้ ดจ้ ริง กิจกรรมการสรา้ งเครอื ขา่ ย เปาู หมายของการสรา้ งเครือข่ายคอื การประสานรว่ มมอื เพ่อื การทางานรว่ มกันชว่ ยเหลอื กันในการ แก้ไขปัญหา และพฒั นาอยา่ งเปน็ ระบบ มกี ารติดต่อและเปลี่ยนขอ้ มูล แสดงความคดิ เหน็ ภายในและภายนอก เครือข่าย การจัดกจิ กรรมเพ่อื ให้เกิดแนวคิดเกยี่ วกันการประสานเครือข่าย กิจกรรมพฒั นาทกั ษะการประชมุ การประชุมเป็นกิจกรรมท่ีทาให้บุคลากรในองค์กรเกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ได้รวบรวมความคิดเห็น วิธีการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ จากสมาชิกอย่างท่ัวถึง สมาชิกผู้ร่วมประชุมต้องรู้บทบาทหน้าท่ีของตนเอง ท้ังผู้ทา หน้าที่ประธานต้องสามารถใช้เทคนิคในการนาและควบคุมการประชุมเพื่อให้ผู้ร่วมประชุมมีการแลกเปล่ียน ความคดิ เหน็ มกี ารเสนอความคิดท่ที าใหเ้ กดิ การยอมรบั และเปน็ ประโยชน์ต่อองค์กรในสถานการณ์จริงอาจจัด กจิ กรรมโดยนานักเรียนไปสังเกตการณ์หรือเข้าร่วมประชุมกับการบริหารส่วนตาบล จังหวัด เทศบาล หรือจัด สถานการณ์จาลอง จัดประชมุ โดยกาหนดองคป์ ระกอบการประชุม ดงั นี้ 1. ประธาน – เป็นผู้ดาเนนิ การประชุมให้ดาเนนิ ไปอย่างราบรื่น เป็นผคู้ วบคมุ ประเดน็ รักษาเวลา กระตุ้นใหผ้ ู้เขา้ รว่ มประชุมเสนอความคิดเห็น ขยายความคิดเหน็ ใหท้ ป่ี ระชุมไดร้ บั รู้ 2. เลขานุการ – บนั ทึกประเด็นสาคญั ในการประชุม อานวยความสะดวก และประสานงาน 3. องคป์ ระชมุ – ร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น 4. วาระการประชมุ – เรือ่ งที่ตอ้ งพจิ ารณาในการประชมุ 5. รายงานการประชมุ – บทสรุปเนอื้ หาในการประชมุ 6. วธิ ีการประชุม – ประธานจะเปน็ ผ้ดู าเนนิ การประชมุ ตามระเบียบวาระการประชมุ ดังน้ี - เรอื่ งแจง้ ให้ทราบ - รบั รองรายงานประชมุ ครง้ั ท่ีแล้ว คู่มอื สภานักเรยี นโรงเรยี นดอนศาลานาวิทยา

9 - เรื่องเสนอเพอื่ ทราบ - เรือ่ งเสนอเพื่อพจิ ารณา - เรอ่ื งอ่นื ๆ กิจกรรมการสร้างจิตอาสา/สานึกสาธารณะ หลักสาคัญของกิจกรรมพัฒนาคุณลักษณะจิตอาสาเป็นกิจกรรมท่ีต้องการจะช่วยเหลือผู้อื่น โดยไม่ หวังผลตอบแทน ควรเป็นกิจกรรมที่มนุษย์ได้เรียนรู้กับมนุษย์ให้มากท่ีสุด จะทาให้เข้าใจชีวิตได้มากข้ึน เช่น การออกค่ายพัฒนาชุมชนไปช่วยเหลือพัฒนาชุมชน หรือช่วยเหลือคนท่ีพิการ ผู้สูงอายุ หรือฝึกวิเคราะห์ สถานการณ์สังคมท่ีได้จากการชมรายการโทรทัศน์ เช่น รายการวงเวียนชีวิต แล้วนามาอภิปรายหาข้อสรุป นาไปสู่ประเด็นความเห็นใจอยากจะเข้าไปช่วยเหลือ ซ่ึงอาจนาไปสู่การจัดทาโครงการจิตอาสา โดยสภา นักเรียนต่อไป กจิ กรรมเสนอแนะ อย่างไรก็ตาม การสร้างความเข้มแข็งให้กับสภานักเรียน เพื่อเป็นกลไกในการดาเนินงานโดยทุกฝุาย เขา้ ไปมสี ่วนร่วมอย่างจริงจังน้ัน ฝุายบริหารควรสร้างความตระหนัก กาหนดบทบาทให้สภานักเรียน ได้มีส่วน รบั ผิดชอบในกจิ กรรมของสถานศึกษาตามครรลองท่ีถกู ต้อง ซง่ึ อาจจัดกจิ กรรมต่าง ๆ ดงั น้ี 1. กิจกรรมฝึกทักษะการวิเคราะห์ข่าว เหตุการณ์ โดยเฉพาะสถานการณ์ทางการเมืองและปัญหา สงั คม อย่างสม่าเสมอ 2. กิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนทาโครงงานศึกษาปัญหาและการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในชุมชน เพ่ือเรียนรู้ ชุมชนและสร้างความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม สร้างสานึกสาธารณะ สานึกรักบ้านเกิด โดยอาจจัด กจิ กรรมให้นักเรียนออกสัมผัสกบั ปัญหาทเ่ี กิดข้ึนจริงในชมุ ชน 3. กิจกรรมค่ายอาสาเพ่ือช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส คนพิการ ผู้สูงอายุ หรือผู้ประสบภัยพิบัติในโอกาส ตา่ ง ๆ 4. เปน็ อาสาสมัครช่วยงานการเลือกตงั้ ในทอ้ งถิ่น ทกุ คร้งั ที่มีการเลือกตั้ง 5. นาสภานักเรียนออกสชู่ ุมชน เพอ่ื ใหค้ วามร้เู ขา้ ใจเก่ียวกบั การปอู งกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติด เอดส์ การใช้ความรุนแรงในครอบครวั และอนื่ ๆ 6. กิจกรรมร่วม กลุ่มกับชาวบ้าน ทาโครงการต่าง ๆ เช่น การออมทรัพย์ การหารายได้ การพัฒนา อาชีพ การจัดการทรัพยากรในท้องถ่นิ การอนุรกั ษศ์ ิลปวัฒนธรรม เป็นต้น 7. กิจกรรมการมสี ่วนร่วมในการ ช่วยเหลอื /การแก้ไขปัญหาให้กับเพื่อน ๆ ในโรงเรียนโดยกาหนดกฎ กตกิ าเพอ่ื การอยูร่ ่วมกนั ในสงั คมโรงเรยี น 8. กิจกรรมการนานักเรียนไปศึกษาดูงานเพื่อเรียนรู้ประสบการณ์ตรงจากองค์การบริหาร ส่วนตาบล จงั หวดั เทศบาล เพือ่ เตรียมคนไปส่กู ารเมืองท้องถิน่ 9. กิจกรรมสร้างเสริมความเป็นประชาธิปไตย โดยจัดหาหนังสือประเภทเร่ืองส้ันนวนิยาย ประหวัด ชีวิตบุคคลสาคัญที่มีเนื้อหาเก่ียวกับการเมืองการปกครอง เพ่ือเป็นการปลูกฝังอุดมการณ์ประชาธิปไตยให้แก่ นกั เรียน คู่มือสภานกั เรียนโรงเรยี นดอนศาลานาวิทยา

10 การนาสภานกั เรยี นสู่การพัฒนาชวี ติ และสงั คม จุดมุ่งหมายสาคัญของการจัดตั้งสภานักเรียนทุกระดับ คือการเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ในการบริหารจดั การและพัฒนาโรงเรียน โดยใช้กระบวนการประชาธิปไตยอันเป็นวัฒนธรรมในการอยู่ร่วมกัน ในโรงเรียน เป็นกลไกในการดาเนินงาน และมุ่งเน้นให้นักเรียนได้ซึมซับและคุ้นเคยกับบรรยากาศความเป็น ประชาธิปไตยในการสร้างประสิทธิภาพ ความเป็นธรรม ความสงบสุขในสังคม ตั้งแต่สังคมระดับเล็ก สังคมใน โรงเรียน ครอบครัว ชุมชน ไปจนถึงสังคมระดับใหญ่ สภานักเรียนเป็นรากฐานท่ีมีความหมาย และมี ความสาคัญต่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้เติบโตข้ึน เป็นพลังที่เข้มแข็งในการสร้างสรรค์ความเป็น ประชาธปิ ไตยในระดับสากลดังนัน้ โรงเรยี นจึงควรสนบั สนนุ ส่งเสรมิ ให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมสภา นักเรยี นและควรใช้เป็นกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี นที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนบูรณาการความรู้ ทักษะประสบการณ์ท่ีได้จาก การเรียนรูใ้ นกล่มุ สาระการเรียนรู้ต่างๆ เพ่ือหล่อหลอมนักเรียนเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ มีความงอกงามท้ังในทาง ร่างกายสตปิ ัญญา อารมณ์ สังคม คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มอนั พึงประสงค์ ดังน้ันการเปิดโอกาสให้นักเรียน ได้ร่วมกันจัดตั้งสภานักเรียนในทุกระดับ จึงเป็นกระบวนการที่จะ นาไปสู่การสร้างคุณลักษณะของนักเรียนท่ีสังคมคาดหวังโดยเฉพาะอย่างย่ิงคุณลักษณะด้านความเป็น ประชาธิปไตยท่ีมีจิตวิญญาณของความสมานฉันท์รวมท้ังการใช้หลักธรรมาภิบาลและการแก้ไขปัญหาโดยยึด หลักสันติวิธี อย่างไรก็ตาม ครู อาจารย์ และผ้เู กีย่ วขอ้ ง ทุกฝุายควรใช้กิจกรรมสภานักเรียน และเป็นเคร่ืองมือ เพ่อื การพัฒนาตวั นักเรียน โรงเรียน และสงั คม ในมิติตา่ ง ๆ ดังน้ี 1. ด้านการพัฒนาตวั นักเรยี น 1.1 สภานักเรียน เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ส่งเสริมการสร้างทักษะชีวิตของนักเรียนเพ่ือให้นักเรียนเป็นผู้มี ทักษะต่าง ๆ อาทิ การวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การเห็นคุณค่าของตนเอง การรู้จักเห็นใจผู้อื่น การเคารพ คุณค่าและศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ การตระหนักในการรับผิดชอบต่อส่วนร่วม การสร้างสัมพันธภาพและรู้จัก สอ่ื สารอย่างเหมาะสม การตัดสนิ ใจและแกไ้ ขปัญหาโดยสนั ตวิ ิธี รวมทั้ง 1.2 สภานกั เรียนเป็นกระบวนการท่ีมที ั้งกจิ กรรมใหญ่ และกิจกรรมย่อยซึ่งล้วนแต่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่ดีงาม เช่น ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต ความกตัญญูกตเวที ความ เมตตากรุณา ความเสียสละ เอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ ความประหยัดรู้จักพอเพียง มีทักษะในการจัดการ ขยัน อดทน ละเอยี ดรอบคอบ และสามารถทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นได้ 1.3 สภานกั เรยี นเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาโรงเรียน ให้มีทักษะในการดูแล ปกปูอง คุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพของตนเองและเพื่อนนักเรยี นในโรงเรียน 1.4 การมีส่วนร่วมในสภานักเรียนจะช่วยสร้างลักษณะการเป็นผู้นา และผู้ตามทีดี มีจิตสานึก สาธารณะ เห็นคณุ คา่ ของระบบการปกครองตามหลกั ธรรมาภบิ าล เคารพสิทธิเสรีภาพ และกติกาข้อตกลงของ หมู่คณะ ร้จู กั ยอมรับและชืน่ ชมการกระทาของผู้อ่นื อยา่ งมนี ้าใจนักกีฬา 1.5 ช่วยเสนอความคิดเห็นเก่ียวกับการพิทักษ์ ปกปูองและคุ้มครองสิทธิเด็กการจัดระเบียบสื่อ การแก้ปัญหายาเสพติด และอบายมุข การใช้ความรุนแรง รวมทั้งการแก้ไขปัญหาสังคมที่ส่งผลกระทบต่อ คณุ ภาพชวี ิตของเด็กและเยาวชน 1.6 เป็นผู้นาในการริเริม่ สรา้ งสรรค์ เพื่อใหน้ กั เรยี นทว่ั ไปไดป้ ฏิบัตกิ ิจกรรมช่วยเหลือ หรือการบาเพ็ญ ตนให้เป็นประโยชนต์ อ่ สังคม คู่มอื สภานกั เรยี นโรงเรียนดอนศาลานาวิทยา

11 สว่ นที่ 5 การขบั เคลือ่ นและ เงือ่ นไขความสาเร็จ สภานักเรียนเป็นกิจกรรมสาคัญในการพัฒนานักเรียนให้มีภาวะผู้นาท่ีใช้กระบวนการประชาธิปไตย และนาหลักธรรมาภิบาลดาเนินงาน ดังนั้นเพ่ือให้การดาเนินงานมีความย่ังยืนผู้เก่ียวข้องทุกฝุาย ตั้งแต่ระดับ กระทรวงศึกษาธิการสานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา โรงเรียนและ องคก์ รภายนอก จะตอ้ งขบั เคล่อื นใหม้ กี ารดาเนินกิจกรรมสภานักเรยี น ดงั น้ี 1. ดาเนนิ การจัดกิจกรมสภานักเรียนใหเ้ ป็นรูปธรรมอยา่ งตอ่ เน่ือง 2. พัฒนา ครูและบุคลากรทเี่ ก่ยี วข้องใหม้ ีศักยภาพในการดาเนินการจัดกจิ กรรมสภานกั เรยี น 3. สร้างบรรยากาศในการดาเนินการกิจกรรมสภานักเรียนในโรงเรียนให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ของ นักเรียน 4. ชี้แนะแนวทางการดาเนินการจัดกิจกรรมสภานักเรียนให้เหมาะสมกับสภาวะแวดล้อมและ สถานการณ์ 5. ส่งเสริมสนับสนุนสภานักเรียนให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ ต่อโรงเรียน ชุมชนและ สังคม 6. กากบั ติดตาม นเิ ทศ และประเมนิ ผล เพ่ือพฒั นาการดาเนนิ การกิจกรรมสภานักเรียน 7. เผยแพรผ่ ลการดาเนนิ งานของสภานกั เรียน 8. สรุปรายงานผลการดาเนนิ การสภานกั เรียนเสนอสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา คู่มอื สภานกั เรยี นโรงเรียนดอนศาลานาวิทยา

12 1. นายพชร มน่ั คง คณะที่ปรึกษา 2. นางประนอม ปราบปัญจะ 3. นางนงเยาว์ สุคตะ ผอู้ านวยการโรงเรียนดอนศาลานาวทิ ยา 4. นางศรสี ุดา ปานชมุ หวั หนา้ กลุ่มบรหิ ารกจิ การนักเรยี น 5. นางโสภา เสง้ ส้นุ หวั หน้ากลุ่มบรหิ ารทว่ั ไป 6. นางสุวลกั ษณ์ เกาะทอง หัวหน้ากลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ 7. วา่ ท่รี อ้ ยตรีธนทตั พลู เกตุ หัวหนา้ กลุม่ บรหิ ารวชิ าการ หัวหนา้ กลุ่มบริหารงานบุคคล ครหู ัวหน้างานสภานกั เรียน คู่มือสภานกั เรยี นโรงเรยี นดอนศาลานาวทิ ยา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook