0 คูม่ ือการปฏิบัติงาน (Work Manual) กระบวนการวิจัยดา้ นอนุรกั ษ์ดนิ และนา้ กองวิจยั และพัฒนาการจดั การท่ดี ิน กรมพัฒนาทีด่ ิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (4 กนั ยายน 2562)
สารบัญ 1 1. วตั ถุประสงค์ของการจดั ทา้ คูม่ ือ หน้า 2. ขอบเขต 2 3. ค้าจา้ กดั ความ 2 4. หนา้ ท่คี วามรับผดิ ชอบ 2 5. Work Flow กระบวนการ 4 6. ขันตอนการปฏิบัติงาน 6 7. เอกสารอ้างองิ 14 8. แบบฟอร์มทใี่ ช้ 22 9. เอกสารบันทึก 23 10. มาตรฐานงาน 24 11. ระบบตดิ ตามประเมนิ ผล 25 ภาคผนวก 25 26
2 คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กระบวนการวิจยั ด้านอนุรกั ษ์ดินและนา้ 1. วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดท้าคมู่ ือ 1.1 เพื่อให้กรมพัฒนาท่ีดินมีการจัดท้าคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ที่แสดงถึงรายละเอียดขันตอนการปฏิบัติงานของกิจกรรม/กระบวนการต่างๆ ของหน่วยงาน และเป็นการสร้าง มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ทม่ี ุ่งไปสกู่ ารบริหารคณุ ภาพทว่ั ทงั องคก์ รอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดผลงานที่ได้มาตรฐาน เปน็ ไปตามเปา้ หมาย ได้ผลิตผลหรือการบริการที่มคี ุณภาพ และบรรลุข้อกา้ หนดที่ส้าคญั ของกระบวนการ 1.2 เพื่อเป็นหลักฐานท่ีแสดงให้เห็นถึงวิธีการท้างานอย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม เพ่ือใช้ส้าหรับการ พัฒนาและเรยี นรขู้ องผ้เู ข้ามาปฏิบัติงานใหม่ รวมถึงการยกระดับการปฏิบตั ิงานไปสู่ความเป็นมืออาชีพ ตลอดจน ใชป้ ระกอบการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของบคุ ลากร 1.3 เพ่ือใช้แสดงหรือเผยแพร่ให้กับบุคคลภายนอกหรือผู้รับบริการ ได้รับรู้ เข้าใจกระบวนการ ปฏิบตั ิงานและใช้ประโยชน์จากกระบวนการดังกลา่ วเพือ่ ขอการรบั บริการที่ตรงกับความต้องการ 1.4 เพ่ือให้นักวิจัยใช้เป็นแนวทางในการด้าเนินงานวิจัยด้านอนุรักษ์ดินและน้าอย่างมีล้าดับขันตอน ทชี่ ัดเจน เป็นมาตรฐานเดยี วกนั ท้าใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธข์ิ องงาน 2. ขอบเขต คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการวิจัยด้านอนุรักษ์ดินและน้าของกองวิจัยและพัฒนาการจัดการท่ีดินนี ครอบคลุมกระบวนงานหลักท่ีส้าคัญ 2 ขันตอน คือ 1) Work Flow การปฏิบัติงานวิจัยด้านอนุรักษ์ดินและน้า เริม่ ตงั แตน่ กั วจิ ยั วางแผนจัดทา้ ข้อเสนอการวจิ ัย จนกระทง่ั ผา่ นการพิจารณาไดร้ บั จดั สรรงบประมาณ ด้าเนินการ วิจัยตามขันตอน รายงานความก้าวหน้า รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เผยแพร่ผลงานและถ่ายทอด สู่เกษตรกร และ 2) Work Flow การท้างานวิจัยด้านอนุรักษ์ดินและน้า ซึ่งมีรูปแบบหรือลักษณะการศึกษาวิจัย 3 ประเภท คือ ใช้แปลงทดลองการสูญเสียดินและน้า (Runoff and Soil Erosion Plots) ใช้ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ (Geographic Information System; GIS) ร่วมกับแบบจ้าลองคณิตศาสตร์เพื่อประเมินการชะล้าง พังทลายของดินในพืนที่ลุ่มน้า และการวิจัยทางสังคม รวมถึงขันตอนการปฏิบัติงาน เอกสารอ้างอิง แบบฟอร์ม ที่ใช้ เอกสารบนั ทึก มาตรฐานงาน และระบบติดตามประเมนิ ผล 3. คา้ จา้ กดั ความ การวจิ ยั หมายถึง กระบวนการหาความรู้ เปน็ วธิ ีหาความร้อู ยา่ งมรี ะเบียบและหลักเกณฑ์ทางวิชาการ ซ่งึ มีการก้าหนดแนวคดิ หรือทฤษฎี การใชข้ ้อมูล การแปลความหมายและอธิบายข้อมูลเพ่ือให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ รวมทงั การสรา้ งความรใู้ หม่ขนึ จากความรเู้ ดมิ รว่ มกับข้อมูลใหม่ โดยท่กี ารวิจยั ในสาขาวชิ าทงั ๓ คือ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใช้วิธีการหลักต่างกันคือ วิทยาศาสตร์วิจัยด้วยวิธีทดลองและการสังเกต (Experimental Research) สังคมศาสตร์ใช้วิธีวิจัยเชิงส้ารวจ (Survey Research) ซึ่งมักใช้แบบสอบถามและ การสัมภาษณ์ร่วมกับการสังเกต และมนุษยศาสตร์ใช้วิธีวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) แต่วิธีการ เหลา่ นีก็อาจใช้ร่วมกนั ได้ตามท่เี หมาะกับข้อมลู (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2546)
3 การวางแผนการทดลอง หมายถึง ศาสตร์ทางสถิติแขนงหนึ่งท่ีเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้ จากการทดลอง โดยใช้วิธีการทางสถิติท่ีเหมาะสมสอดคล้อง กับลักษณะข้อมูล ในการหาค้าตอบของป ระเด็น ปัญหาที่สนใจ เพ่ือศึกษาแสวงหาความจริงใหม่ๆ หรือสมมติฐานบางอย่าง การวางแผนการวิจัยและทดลอง จะต้องก้าหนดตัวแปร (X) ท่ีควบคุมได้ ท่ีมีอิทธิพลต่อตัวแปรตอบสนอง (Y) หรือหมายถึงการสุ่มวิธีการทดลอง ให้กับหน่วยทดลองอย่างเหมาะสม เพื่อให้ผลการทดลองที่ได้มีความเที่ยงตรง ไม่อคติ และสอดคล้องกับ วัตถปุ ระสงคข์ องการทดลองนนั ๆ (นิดา ชาญบรรยง, ไมร่ ะบุปที ่ีพิมพ์) อนุรักษ์ดนิ และนา้ หมายถึง การปฏบิ ัตติ ่อดินและนา้ ด้วยวธิ ีการใดๆ ก็ตาม เพ่ือจุดมุ่งหมายที่จะรักษา ดินและนา้ ให้มีความสามารถในการใหผ้ ลผลติ สูงสดุ และได้นานทสี่ ดุ เปน็ การใช้ดินอย่างถกู วิธี เพอ่ื ใหไ้ ด้ผลผลิตสูง และบ้ารุงรักษาให้ใช้ได้นานๆ โดยมิให้ดินเกิดการชะล้าง เป็นการใช้ทรัพยากรดินและน้าอย่างเหมาะสมด้วยวิธี ชาญฉลาด คุ้มค่า เกิดประโยชน์สูงสุด และมีความยั่งยืน การอนุรักษ์ดินและน้านัน จะต้องวางแนวทางหรือ มาตรการอนุรักษ์ดินและน้าอย่างเหมาะสมตามสภาพภูมิประเทศ เพ่ือป้องกันหน้าดินจาก ฝน ลม น้าไหลบ่า และเพมิ่ อตั ราการไหลซึมของน้าลงในดนิ เปน็ ต้น (กรมพัฒนาทีด่ ิน, 2558) การชะล้างพังทลายของดิน หมายถึง ปรากฏการณ์ซึ่งที่ดินถูกชะล้าง กัดเซาะ พังทลาย ด้วยพลังงาน ที่เกิดจากน้า ลม หรือเหตุผลใดให้เกิดความเสื่อมโทรม สูญเสียดิน โครงสร้างของชันดิน หรือความอุดมสมบูรณ์ ของดิน เช่น การชะล้างธาตุอาหารพืชออกจากหน้าดิน ซ่ึงท้าให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ และเป็นปัจจัยหน่ึง ของความเสอ่ื มโทรมของท่ดี นิ (กรมพฒั นาทด่ี ิน, 2558) ปริมาณการสญู เสยี ดนิ หมายถงึ การสญู เสียมวลดนิ หรือหนา้ ดิน อันเนือ่ งมาจากสาเหตุธรรมชาติ เช่น ฝน ลม ดินถล่ม โคลนถล่ม และสาเหตุจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น การท้าเขตกรรมหรือการจัดการที่ดิน ท่ีไมเ่ หมาะสมกับสมรรถนะที่ดิน การบุกรุกพืนท่ีป่า หรือการขยายพืนที่เกษตรกรรมโดยไม่มีการควบคุม เป็นต้น ซ่ึงสง่ ผลกระทบทังทางตรงและทางออ้ มต่อสิ่งแวดล้อม ความเส่ือมโทรมของทรัพยากรท่ีดิน การสูญเสียชีวิตและ ทรพั ย์สินของมนษุ ย์ (กรมพัฒนาทดี่ นิ , 2551) มาตรการวิธีพืช หมายถึง การเพิ่มความหนาแน่นของพืช การคลุมดินป้องกันเม็ดฝนกระทบผิวดิน ตลอดจนการปรับปรุงบ้ารุงดิน ท่ีเป็นการลงทุนต้่า และเกษตรกรสามารถปฏิบัติเองได้ เช่นการใช้พืชตระกูลถ่ัว หญ้าเลียงสัตว์ หรือหญ้าธรรมชาติ ปลูกเป็นแถบขวางความลาดเทของพืนท่ีหรือปลูกคลุมดิน หรือการใช้ระบบ การปลกู พชื แบบผสมผสาน เพื่อลดความแรงของเมด็ ฝน ดักตะกอนดนิ และชะลอความเร็วของน้า จ้าเป็นต้องท้า ใหเ้ หมาะสมกับสภาพพนื ท่ี และปัจจยั ตา่ งๆ (กรมพฒั นาทดี่ นิ , 2558) มาตรการวธิ ีกล หมายถงึ วิธกี ารปรับสภาพของพืนที่เพื่อลดความยาวและความลาดเทของพืนที่เพื่อลด ความสามารถในการเคล่ือนย้ายตะกอนดิน โดยการสร้างสิ่งกีดขวางความลาดเทของพืนท่ีและทิศทางการไหล ของน้า เพื่อช่วยควบคุมน้าไหลบ่าหน้าดิน ชะลอและลดความเร็วของกระแสน้า วิธีการนีต้องใช้เทคนิค ความรู้ แรงงาน เครื่องมือ และงบประมาณสูง เพอ่ื ให้เหมาะสมกบั สภาพพืนทีแ่ ละปัจจัยตา่ งๆ (กรมพัฒนาท่ีดนิ , 2558) มาตรฐาน คือ สิ่งที่เอาเป็นเกณฑ์ส้าหรับเทียบก้าหนด ทังในด้านปริมาณ และคุณภาพ (พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542) มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Performance Standard) เป็นผลการปฏิบัติงานในระดับใดระดับหน่ึง ซง่ึ ถือวา่ เป็นเกณฑท์ นี่ า่ พอใจหรืออยู่ในระดับท่ีผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ท้าได้ โดยจะมีกรอบในการพิจารณาก้าหนด มาตรฐานหลายๆ ด้าน อาทิ ด้านปรมิ าณ คุณภาพ ระยะเวลา ค่าใชจ้ า่ ย หรือพฤตกิ รรมของผปู้ ฏิบตั ิงาน กระบวนงาน (Workflow) หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ท่ีท้ากันตามล้าดับอย่างต่อเน่ืองตังแต่ต้นจนจบ โดยกิจกรรมนันจะเร่ิมต้นขึนเม่ือได้รับแรงกระตุ้นจาก Input และเมื่อกิจกรรมแรกด้าเนินการเสร็จสินแล้ว ก็จะส่งมอบภาระให้กิจกรรมอื่นๆ ท้าต่อกันไป จนกระท่ังจบกิจกรรมในกระแสงาน หรือจนกว่ากิจกรรมสุดท้าย จะไม่สามารถทา้ งานได้อกี ตอ่ ไป
4 นโยบายและยุทธศาสตร์ชาติ หมายถึง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 พ.ศ. 2560-2564 และนโยบายและยุทธศาสตรก์ ารวิจยั ของชาติ ฉบับท่ี 9 พ.ศ. 2560-2564 นักวิจัย หมายถึง ข้าราชการ หรือเจ้าหน้าที่กรมพัฒนาที่ดิน ผู้ท่ีมีความสนใจ และมีความต้องการ ด้าเนินโครงการวจิ ัยดา้ นอนุรกั ษ์ดินและนา้ NRMS หมายถึง National Research Management System หรือระบบบริหารจัดการงานวิจัย ของประเทศไทย ว-1ช หมายถึง แบบข้อเสนอการวิจัยในระดับแผนงานวิจัย (Research Program) หรือ เรียกว่า “ชดุ โครงการวิจยั ” ประกอบการเสนอของบประมาณประจ้าปตี ามมติ ครม. ว-1ด หมายถึง แบบข้อเสนอการวิจัยในระดับโครงการวิจัย (Research Project) ประกอบการเสนอ ของบประมาณประจ้าปีตามมติ ครม. ซ่ึงสามารถใช้เป็นแบบในการจัดท้าข้อเสนอการวิจัยทังในรูปแบบ โครงการวิจยั อสิ ระ หรอื โครงการวจิ ยั ทอี่ ยภู่ ายใตแ้ ผนงานวิจัย ว-5 หมายถึง แบบหนังสอื วช. แจง้ กรมฯทราบผลการพิจารณาข้อเสนอการวจิ ยั ซง่ึ ประกอบด้วย การ สรปุ ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากผทู้ รงคุณวุฒจิ ากคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ วจ.3 หมายถงึ รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ต-1ช หมายถึง แบบรายงานความก้าวหน้าของแผนงานวจิ ัย ต-1ด หมายถงึ แบบรายงานความก้าวหน้าของโครงการวจิ ัย สงป.301 หมายถึง แบบรายงานแผน/ผลการปฏบิ ตั ิงานและการใช้จา่ ยงบประมาณ 4. หน้าที่ความรับผดิ ชอบ 4.1 อธิบดีกรมพัฒนาทีด่ นิ มีหนา้ ท่ี 1) กา้ หนดนโยบายและมอบนโยบายการด้าเนนิ งานวิจยั ในภาพรวมของกรมพัฒนาที่ดิน 4.2 ผู้อ้านวยการกองวจิ ัยและพัฒนาการจัดการทดี่ ิน มีหนา้ ที่ 1) มอบหมายใหน้ กั วิจยั จดั ทา้ ข้อเสนอการวิจยั ตามปฏทิ ินการด้าเนินงานวิจยั 2) มอบหมายใหน้ กั วิจัยกรอกขอ้ มูลในระบบ National Research Management System 3) มอบหมายใหน้ ักวจิ ัยทผ่ี า่ นการสนับสนนุ จากส้านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติด้าเนินการ วจิ ัยตามแผนปฏบิ ัติงานวจิ ยั 4) ลงนามในเอกสารการขออนุมัติงบประมาณในการด้าเนินงานวิจัยและลงนามในรายงาน ผลการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ 4.3 นกั วิจัย มหี น้าท่ี 1) วางแผนการจดั ท้าขอ้ เสนอการวจิ ัยดา้ นอนรุ ักษด์ ินและน้า 2) จัดท้าข้อเสนอการวิจัยด้านอนุรักษ์ดินและน้า และปรับปรุงแก้ไขข้อเสนอการวิจัย ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการวิชาการกรมพัฒนาท่ีดินและคณะอนุกรรมการกล่ันกรองโครงการวิจัยกรม พัฒนาทด่ี ิน 3) บันทึกขอ้ เสนอการวิจัยในระบบ National Research Management System 4) วางแผนการด้าเนินงานวิจยั การเดนิ ทางไปราชการเพื่อปฏบิ ตั ิงานวจิ ยั 5) ติดต่อประสานงานเจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้องในการคัดเลือกพืนท่ีแปลงทดลอง หรือก้าหนด ขอบเขตพืนท่ีการวจิ ยั 6) วางแผนผังแปลงทดลอง และเกบ็ ตวั อย่างดินก่อนการทดลอง หรอื ขอ้ มูลอนื่ ๆ ที่จา้ เปน็
5 7) จัดท้าหลักการจ้างเหมาซอื วัสดุการเกษตรหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในงานวิจัย รวมทังหลักการเตรียม พืนทีว่ จิ ยั การปลกู พชื การท้ามาตรการอนรุ ักษ์ดนิ และน้า การปฏิบตั ิดแู ลรักษาแปลง และอ่นื ๆ ทีจ่ า้ เปน็ 8) ดา้ เนนิ การวิจัยดา้ นอนรุ กั ษด์ นิ และนา้ ตามวธิ กี ารหรือรูปแบบการวิจัย 3 ประเภท จากนันเก็บ รวบรวมข้อมลู วิเคราะหข์ ้อมูลทางสถติ ิและแปลผล 9) การจัดทา้ รายงานความกา้ วหนา้ ทุกไตรมาส 10) การจัดทา้ รายงานผลการวจิ ัยฉบับสมบรู ณ์ และแก้ไขรายงานตามค้าแนะนา้ ของผูท้ รงคุณวฒุ ิ 11) การเผยแพรผ่ ลงานวิจัยรปู แบบตา่ งๆ เช่น รายงานการวิจัย บทความทางวิชาการ (Journal) น้าเสนอในท่ีประชุมวิชาการระดับชาติ (Oral, Poster, Proceeding) เผยแพร่ผ่านส่ือสาธารณะ เช่น ส่ือวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ สอ่ื ออนไลน์ เช่น เวบ็ ไซต์กรมพัฒนาทดี่ ิน www.ldd.go.th เฟซบุ๊กหน่วยงาน ฯลฯ และ/ หรอื คัดเลอื กวธิ ีการที่เหมาะสมนา้ ไปท้าแปลงสาธิตร่วมกับนักวิชาการเขต/สถานี หรือจัดอบรมถ่ายทอดความรู้ ใหแ้ ก่เกษตรกร 4.4 เกษตรกร และ/หรือ หมอดินอาสา มีหน้าที่ 1) ให้ความรว่ มมือในการด้าเนนิ งานวิจยั ไดแ้ ก่ การเตรียมพืนท่ีวิจัยและวางมาตรการอนุรักษ์ดิน และน้า การปลูกพืชตามแผนวิจัย การใส่ปุ๋ย การปรับปรุงบ้ารุงดิน การก้าจัดวัชพืช การให้น้า การดูแลรักษา ระบบการอนุรักษ์ดินและนา้ และการเก็บเกย่ี วผลผลิต 2) การประยุกตใ์ ช้องค์ความรู้จากงานวจิ ยั ไปปฏบิ ตั ิจริงในพืนทข่ี องตนเอง 4.5 คณะกรรมการวชิ าการกรมพฒั นาที่ดิน 1) รวบรวมข้อเสนอการวจิ ยั ส่งให้ วช. 2) พจิ ารณาจดั สรรงบประมาณด้าเนนิ งานโครงการวิจยั ใหม่และโครงการวจิ ัยต่อเนื่อง 4.6 คณะอนุกรรมการกล่ันกรองโครงการวิจัยกรมพฒั นาท่ีดิน 1) พิจารณาข้อเสนอการวิจัย (ใหม่) และพิจารณารายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยต่อเนื่อง กอ่ นส่งใหผ้ ้ทู รงคณุ วุฒิ วช. พจิ ารณาประเมินผลข้อเสนอการวจิ ยั ตอ่ เนอื่ ง 2) พจิ ารณาจดั ล้าดับความส้าคญั ข้อเสนอการวิจัย 3) อนุมตั จิ ัดสรรงบประมาณ 4.7 คณะกรรมการวชิ าการกองวจิ ยั และพัฒนาการจัดการทด่ี นิ 1) พิจารณาข้อเสนอการวิจัย 2) รวบรวมข้อเสนอการวจิ ัยส่งใหฝ้ า่ ยเลขานุการคณะกรรมการวิชาการกรมฯ (กผง.) รวบรวมส่ง คณะอนกุ รรมการกล่นั กรองโครงการวิจัยกรมพัฒนาที่ดนิ ก่อนเสนอขอ วช. 4.8 กองแผนงาน มหี น้าท่ี 1) จดั ทา้ แผนแม่บทงานวจิ ัยกรมพัฒนาท่ดี นิ และปฏทิ นิ การดา้ เนนิ งานวจิ ยั 2) รวบรวมข้อเสนอการวิจยั และเรยี งลา้ ดบั ความสา้ คัญ 3) รวบรวมรายช่อื ข้อเสนอการวิจัยทผ่ี า่ นการสนบั สนนุ และจ้านวนงบประมาณทีไ่ ดร้ ับ 4) รวบรวมรายงานความก้าวหน้าทกุ ไตรมาสและสรุป 5) รวบรวมรายงานผลการวจิ ยั ฉบับสมบรู ณ์และน้าเขา้ ระบบฐานขอ้ มูลงานวจิ ัย 4.9 กองคลงั มหี น้าท่ี 1) โอนงบประมาณด้าเนนิ การวจิ ัย 2) เบิกจา่ ยค่าเดินทางไปราชการของนกั วจิ ัย 3) เบกิ จา่ ยงบประมาณการจา้ งเหมาเตรยี มพืนท่ีและวางระบบมาตรการอนุรักษด์ ินและน้า 4) เบกิ จ่ายงบประมาณการจา้ งเหมาการปลกู พชื ของงานวิจัย
6 5) เบิกจา่ ยงบประมาณการจัดท้าหลกั การการจา้ งเหมาการปรังปรงุ บ้ารุงดนิ ตามแผนการวจิ ยั 6) เบิกจ่ายงบประมาณการดูแลแปลงวิจัย การให้น้า การกา้ จัดวชั พืช และอื่นๆ ทีจ่ า้ เป็น 7) เบิกจา่ ยงบประมาณการดแู ลรกั ษาระบบอนรุ ักษ์ดนิ และน้า และการจ้างเหมาเก็บเกย่ี วผลผลติ 4.10 กองส้ารวจดินและวจิ ัยทรพั ยากรดนิ มหี น้าท่ี 1) ให้การสนับสนุนการส้ารวจจ้าแนกดินและวิเคราะห์ลักษณะของพืนท่ีด้าเนินการวิจัย (Site Characterization) 4.11 ส้านกั เทคโนโลยกี ารสา้ รวจและท้าแผนที่ มีหนา้ ที่ 1) ใหก้ ารสนบั สนนุ แผนที่ภาพถา่ ยและขอ้ มลู ทางแผนที่ 4.12 สา้ นกั วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การพัฒนาท่ีดิน มีหนา้ ที่ 1) วเิ คราะห์ตัวอยา่ งดนิ ก่อนการวิจยั และหลงั การวจิ ยั 2) วิเคราะห์ตวั อยา่ งพืช นา้ ปุ๋ย 4.13 สา้ นักงานพัฒนาทดี่ ินเขต/สถานพี ัฒนาท่ีดนิ มีหนา้ ที่ 1) ให้ความร่วมมือในการส้ารวจพนื ที่และขอ้ มลู ดินกอ่ นการวจิ ัย 2) ถ่ายทอดองคค์ วามรจู้ ากการวจิ ยั ใหไ้ ปสู่กลมุ่ เป้าหมาย เช่น เกษตรกร 4.14 สา้ นกั งานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มีหนา้ ที่ 1) พิจารณาประเมนิ ผลขอ้ เสนอการวิจยั วา่ ควรไดร้ ับการสนบั สนนุ หรอื ไม่ 2) รวบรวมรายงานผลการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ 4.15 ส้านักงบประมาณมหี นา้ ที่ 1) พิจารณาจัดสรรงบประมาณให้กับสว่ นราชการ 4.16 องคก์ ารบรหิ ารส่วนต้าบลและหนว่ ยงานระดับทอ้ งถิ่น มีหน้าที่ 1) ให้ความอนุเคราะห์ ประสานงานกับเกษตรกร เพ่ือความสะดวกในการเข้าปฏิบัติงานของ นกั วิจัย 5. Work Flow กระบวนการ การด้าเนินงานวิจัยด้านอนุรักษ์ดินและน้า ประกอบด้วย 2 กระบวนงานหลักท่ีส้าคัญ คือ Work Flow การปฏิบัติงานวิจัยด้านอนุรักษ์ดินและน้า ในข้อ 5.1 และ Work Flow การท้างานวิจัยด้านอนุรักษ์ ดนิ และนา้ ในข้อ 5.2 ดังนี
7 5.1 Work Flow การปฏิบัตงิ านวจิ ยั ดา้ นอนุรักษด์ ินและนา้ ล้าดับ ผังกระบวนการ รายละเอียด ผูร้ บั ระยะเวลา แบบฟอร์ม เอกสารอา้ งอิง ผดิ ชอบ 1 - นกั วจิ ยั กา้ หนดประเดน็ ปัญหาหรอื - นักวิจยั ม.ค.-ก.พ. โครงรา่ ง -คา้ ส่ัง โจทย์การวจิ ยั ด้านอนุรักษ์ดินและนา้ - กผง. (2 เดือน) การวจิ ยั คณะกรรมการ วางแผนจดั ทา้ ท่สี า้ คัญและสอดคล้องกับนโยบาย (กลุม่ ระบบ วชิ าการกองวจิ ัย ขอ้ เสนอการวจิ ัย งานวจิ ัย) รัฐบาล ยทุ ธศาสตรก์ ารวิจยั และ และพัฒนาการ ดา้ นอนรุ ักษด์ นิ และนา้ นวัตกรรมของประเทศ ระยะ 20 ปี จัดการท่ีดนิ (พ.ศ.2560-2579) ยทุ ธศาสตรก์ รม พัฒนาทีด่ นิ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560- 2579 2 จดั ทาข้อเสนอการวจิ ยั ผ่านตน้ สงั กัด - นักวิจยั จดั ทา้ ขอ้ เสนอการวิจยั ผา่ น - นกั วจิ ยั มี.ค.-พ.ค. แผนงานวิจยั / แบบฟอร์ม (แผนงานวจิ ยั /โครงการวจิ ยั ) ตน้ สังกัด ตามแบบฟอรม์ แผนงานวิจยั - กผง. (3 เดอื น) โครงการวิจยั แผนงานวจิ ยั / /โครงการวจิ ัย - คณะกรรมการวิชาการกองฯ (กวจ.) (กลุ่มระบบ โครงการวิจัย งานวจิ ัย) ทีเ่ สนอขอ พจิ ารณาข้อเสนอการวจิ ยั หากไม่ งบประมาณ สมบรู ณแ์ จง้ ใหน้ กั วจิ ยั ปรบั ปรุงแกไ้ ข - จัดส่งใหฝ้ า่ ยเลขานุการคณะกรรมการ วิชาการกรมฯ (กผง.) รวบรวม 3 ปรบั ปรุงแก้ไข - คณะอนกุ รรมการกลน่ั กรอง - คณะอนุ มิ.ย.-ก.ค. ค้าสัง่ แต่งตงั คณะอนุกรรม โครงการวิจัยกรมฯ พิจารณาขอ้ เสนอ กรรมการ (2 เดอื น) ไม่สนบั สนนุ การวจิ ยั ตามสาขาวชิ าการ หากไม่ กลั่นกรอง การกลนั่ กรอง พิจารณา สมบูรณ์แจ้งใหน้ กั วิจยั ปรบั ปรุงแก้ไข โครงการ โครงการวจิ ัย ข้อเสนอการวจิ ัย วิจยั กรมฯ กรมฯ สนบั สนุน 4 - ผู้รับผิดชอบโครงการวจิ ัยทไ่ี ด้รบั การ - นักวิจัย ส.ค.-ก.ย. ขอ้ เสนอ บันทึกข้อเสนอการวจิ ยั สนบั สนนุ ท้าการบนั ทกึ ข้อมูลขอ้ เสนอ - กผง. (2 เดือน) โครงการวิจัย เขา้ ระบบ NRMS การวจิ ยั เขา้ ระบบบริหารงานวิจัย ที่กรมฯ เสนอ แห่งชาติ (NRMS) เพ่อื เสนอขอ (กลมุ่ ระบบ ขอรับการสนับ งบประมาณประจา้ ปี ตามมติ ครม. สนนุ จาก วช. งานวจิ ัย) 5 - คณะอนกุ รรมการกล่นั กรอง - คณะอนุ ภายใน ขอ้ เสนอ จดั ลาดบั ความสาคญั โครงการวิจัยกรมฯ พิจารณาจดั ลา้ ดบั กรรมการ 15 ต.ค. โครงการวิจัย ของขอ้ เสนอการวิจยั ความส้าคญั ข้อเสนอการวิจยั กลัน่ กรอง ท่ีกรมฯ เสนอ - กผง. ประสานสง่ ให้สา้ นกั งาน โครงการ ขอรบั การสนบั คณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) วจิ ยั กรมฯ สนนุ จาก วช. ตรวจสอบ ตามมติ ครม. - กผง. บันทกึ แจง้ ผล 6 ยกเลกิ ขอ้ เสนอ - ผทู้ รงคณุ วุฒิ วช. พจิ ารณา - วช. ต.ค.-ก.พ. การพจิ ารณา ประเมนิ ผลขอ้ เสนอการวจิ ัย (5 เดือน) สนบั สนนุ ไม่สนับสนนุ วช. พิจารณาประเมนิ ผล ข้อเสนอการวจิ ัย สนับสนุน
8 5.1 Work Flow การปฏิบัติงานวิจยั ดา้ นอนรุ กั ษ์ดินและนา้ (ตอ่ ) ลา้ ดับ ผังกระบวนการ รายละเอยี ด ผรู้ ับ ระยะเวลา แบบฟอรม์ เอกสารอ้างองิ ผดิ ชอบ 7 - วช. แจ้งผลการพจิ ารณาขอ้ เสนอ ม.ี ค. แบบ ว-5 หนงั สือ วช.แจ้ง แจ้งผลการพิจารณาจัดสรร การวจิ ยั ให้สา้ นกั งบประมาณ เพอื่ - วช. (1 เดอื น) กรมฯ ทราบผล งบประมาณใหห้ น่วยงาน พจิ ารณาจดั สรรงบประมาณให้ - ผชช. การพิจารณา หน่วยงาน - กผง. ขอ้ เสนอการวจิ ยั - นกั วจิ ยั (แบบ ว-5) 8 - คณะกรรมการวชิ าการฯ พิจารณา - คณะ ส.ค.-ก.ย. บันทกึ แจ้งผล จดั สรรงบประมาณ จัดสรรงบประมาณดา้ เนนิ งาน กรรมการ (2 เดือน) การพจิ ารณา ดาเนินงานวจิ ยั โครงการวิจัยใหมแ่ ละโครงการวจิ ยั วิชาการ สนบั สนุน สนับสนนุ ต่อเนอ่ื ง กรมฯ - กผง. เอกสารการ 9 โอนงบประมาณให้หนว่ ยงาน จดั สรร - กองคลังโอนงบประมาณให้ - กองคลงั ภายใน งบประมาณ หน่วยงาน - กวจ. ม.ค.-ก.พ. ลงหน่วยงาน 10 จัดทาแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ - นกั วิจัยจดั ทา้ แผนการใช้จ่าย - นกั วจิ ยั ภายใน บันทึกแจง้ และแผนการปฏิบัติงานวจิ ัย งบประมาณรายไตรมาสท่สี อดคลอ้ ง - กองคลัง ม.ค.-ก.พ. การจัดท้า กบั แผนการปฏบิ ตั งิ านวิจยั - กผง. แผนการ 11 ดา้ เนินการวิจยั ตามขันตอน - สง่ แผนการใช้จา่ ยงบประมาณไปยงั ใช้จา่ ย (ดูรายละเอยี ดในหวั ข้อ 5.2) กลุ่มระบบงานวจิ ยั กผง. เพ่ือ งบประมาณ ประสานกองคลังจัดสรรงบประมาณ - นักวิจัยท่ีได้รับจดั สรรงบประมาณ - นักวจิ ยั ตลอดปี ดา้ เนินการวจิ ยั ตามขันตอน (ดูขันตอน งบประมาณ การด้าเนนิ งานวิจยั อยา่ งละเอียด ในหัวข้อ 5.2) 12 รายงานความก้าวหนา้ - นกั วิจัยจัดทา้ รายงานความก้าวหน้า - นกั วจิ ัย ตลอดปี -แผน/ผลการ ประจ้าเดอื น รายไตรมาส ประจา้ ปี 13 (แบบ ต-1 ช/ด) - กผง. งบประมาณ ปฏิบัตงิ านฯ พิจารณารายงานความกา้ วหน้า โครงการวจิ ัย - คณะอนกุ รรมการกลัน่ กรอง (กลุ่มระบบ - สงป.301 โครงการวจิ ยั กรมฯ พิจารณารายงาน งานวจิ ัย) -บนั ทกึ การ ความกา้ วหนา้ โครงการวจิ ยั ตอ่ เนอื่ ง ก่อนส่งให้ผทู้ รงคณุ วุฒิ วช. พิจารณา ด้าเนินงาน ประเมินผลขอ้ เสนอการวจิ ยั ตอ่ เน่อื ง ตอ่ ไป ไตรมาส - ต-1 ช/ด - คณะอนุ ต.ค. บนั ทึกแจง้ ผล กรรมการ (1 เดอื น) การพิจารณา กลนั่ กรอง สนับสนุน โครงการ วจิ ยั กรมฯ - กผง.
9 5.1 Work Flow การปฏิบัติงานวจิ ัยดา้ นอนุรกั ษด์ นิ และนา้ (ตอ่ ) ลา้ ดับ ผังกระบวนการ รายละเอยี ด ผรู้ ับ ระยะเวลา แบบฟอร์ม เอกสารอา้ งอิง ผิดชอบ 14 - นกั วิจยั จัดท้ารายงานผลการวิจยั ฉบับสมบรู ณ์ (วจ.3) - นักวจิ ยั 6 เดอื น แบบ วจ.3 รายงานผลการวจิ ัย หลังสินสุด ฉบับสมบูรณ์ (วจ.3) โครงการวจิ ยั 15 - คณะกรรมการวชิ าการกองวจิ ัยและ -คณะกรรม ต.ค. บันทกึ แจง้ ผล ปรบั ปรงุ แก้ไข พัฒนาการจดั การท่ดี ิน พจิ ารณา การวชิ า- (1 เดือน) การพจิ ารณา ประเมินรายงานผลการวจิ ยั ฉบบั การกองฯ สนบั สนนุ ไม่ผา่ น สมบูรณ์ (วจ.3) หากมขี อ้ แก้ไข แจง้ ให้ - คณะอนุ ประเมินรายงาน นักวจิ ยั ปรับปรงุ แกไ้ ขรายงานตาม กรรมการ ผลการวจิ ัยฉบับสมบรู ณ์ คา้ แนะน้า รวบรวมส่งกรมฯ กล่ันกรอง - คณะอนุกรรมการกล่นั กรอง โครงการ โครงการวิจัยกรมฯ พิจารณา วจิ ยั กรมฯ ผ่าน ประเมนิ ผล หากมขี อ้ แกไ้ ขแจ้งให้ - นักวิจยั นักวิจยั /ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ - กผง. ปรับปรงุ แก้ไขตามคา้ แนะนา้ 16 - เผยแพร่ผลงานวจิ ัยรปู แบบตา่ งๆ เช่น - นกั วจิ ยั หลงั สินสุด รายงานการวจิ ยั บทความทางวิชาการ - กผง. ก้าหนดการ เผยแพร่ผลงานวิจยั (Journal) น้าเสนอในที่ประชุมวชิ าการ สง่ วจ.3 และถา่ ยทอดสเู่ กษตรกร ระดบั ชาติ (Oral, Poster, Proceeding) เผยแพรผ่ ่านส่ือ สาธารณะ เช่น สอื่ วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพมิ พ์ สื่อออนไลน์ เชน่ เว็บไซต์ กรมพัฒนาที่ดนิ www.ldd.go.th เฟซบกุ๊ หน่วยงาน เป็นต้น - นกั วจิ ยั คดั เลอื กวธิ กี ารทเี่ หมาะสม น้าไปทา้ แปลงสาธิตรว่ มกบั นกั วชิ าการ เขต/สถานี หรอื จัดอบรมถ่ายทอด ความรู้ให้แกเ่ กษตรกร
5.2 Work Flow การท้างานวิจัยดา้ นอนรุ กั ษด์ ินและน้า 10 ล้าดบั ผังกระบวนการ รายละเอียด ผรู้ บั ระยะเวลา แบบ เอกสาร ผิดชอบ ตลอดปี ฟอร์ม อ้างองิ 1 - นกั วจิ ยั ทีไ่ ดร้ ับจัดสรรงบประมาณ - นักวจิ ัย งบประมาณ ดา้ เนินการวิจยั อนุรกั ษฯ์ ด้าเนนิ การวิจยั ตามวธิ กี ารหรือรปู แบบ การวิจยั ด้านอนรุ กั ษ์ดนิ และนา้ 3 - นักวิจัย ตลอดปี ตามวิธกี ารหรอื รูปแบบการวิจยั ประเภทหลักๆ คอื 1) ใชแ้ ปลงทดลอง งบประมาณ การสญู เสียดินและน้า 2) ใชร้ ะบบ -ใช้แปลงทดลองการสูญเสียดนิ และนา้ สารสนเทศภมู ิศาสตร์ GIS รว่ มกับ -ใช้ GIS และแบบจา้ ลองการชะลา้ งฯ แบบจา้ ลองคณิตศาสตร์เพ่อื ประเมนิ การชะล้างพังทลายของดนิ และ 3) -วิจยั ทางสงั คม การวจิ ยั ทางสงั คม - นักวจิ ยั ศกึ ษาปริมาณการสูญเสยี ดิน 2 ใชแ้ ปลงทดลอง และนา้ และ/หรอื ธาตุอาหารพชื ในดิน ไมใ่ ช่ จากแปลงทดลองการสูญเสยี ดินและ นา้ (Runoff and Soil Erosion การสญู เสยี ดนิ และนา้ Plots) ตามความลาดชันและสภาพ การใช้ประโยชนท์ ่ีดินที่สนใจศึกษา ดขู อ้ 3-4 ใช่ ดขู ้อ 2.1-2.7 2.1 คัดเลอื กพนื ที่ด้าเนนิ การวจิ ยั - นกั วิจยั ประสานเจ้าหนา้ ที่ สพข. - นกั วจิ ยั ม.ค.-ม.ี ค. /สพด./เกษตรกรเจา้ ของที่ดนิ คดั เลอื ก - เขต/ พืนท่ดี ้าเนินการวจิ ัย สถานี - นักวจิ ัยเก็บขอ้ มลู ดินกอ่ นการทดลอง -เกษตรกร และวเิ คราะห์ลกั ษณะของพนื ที่ ดา้ เนินการ (Site Characterization) 2.2 - นักวจิ ัยสรา้ งแปลงทดลองการ - นักวิจยั ม.ค.-ม.ี ค. สูญเสยี ดินและนา้ ขนาดมาตรฐาน วาง สร้างแปลงทดลอง ผงั แปลงตามแผนการทดลองท่ีก้าหนด การสญู เสียดินและนา้ - สร้างรวั ล้อมรอบแปลงด้วยวัสดุตา่ งๆ เช่น อฐิ บลอ็ ก คอนกรตี หรือสังกะสี แผน่ เรียบ เปน็ ต้น 2.3 สร้างถงั เกบ็ นา้ และตะกอนดนิ - นักวจิ ัยสรา้ งถงั เกบ็ นา้ และตะกอนดิน - นกั วจิ ยั ม.ค.-มี.ค. ท่ีบรเิ วณท้ายแปลงทดลอง 2.4 ตดิ ตงั เคร่ืองมือตรวจวัดต่างๆ - นักวิจยั ตดิ ตังเคร่ืองวดั ปริมาณน้าฝน - นักวิจยั ม.ค.-ม.ี ค. (Rain Gauge) แบบธรรมดาหรือแบบ ไม่บนั ทกึ (Standard Rain Gauge) หรือเครอื่ งวัดนา้ ฝนแบบบันทึก (Recording Rain Gauge) หรอื ตดิ ตงั เคร่ืองตรวจอากาศแบบ Agro- Meteorological Station
5.2 Work Flow การทา้ งานวจิ ัยดา้ นอนรุ กั ษด์ นิ และน้า (ตอ่ ) 11 ล้าดับ ผงั กระบวนการ รายละเอียด ผู้รับ ระยะเวลา แบบ เอกสาร อ้างอิง ผิดชอบ ฟอร์ม 2.5 - นกั วิจัยจัดทา้ ระบบการปลกู พชื - นักวิจัย เม.ย.-พ.ค. ร่วมกับมาตรการอนรุ กั ษ์ดินวธิ พี ชื / วิธีกลตามที่ก้าหนดไว้ในแผนงานวิจยั / ทา้ มาตรการอนรุ ักษว์ ิธีพชื /วิธกี ล โครงการวิจัย 2.6 - นักวจิ ยั เกบ็ รวบรวมข้อมลู ตามทร่ี ะบุ - นักวจิ ัย ตลอดปี แบบบันทกึ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในแผนงานวจิ ยั /โครงการวิจยั นนั ๆ เชน่ งบประมาณ ข้อมลู เพื่อ ตวั อยา่ งดนิ จะวดั ความหนาแน่นรวม 2.7 ด้วย Soil Core Samples ความชืน การจดั การ วิเคราะห์ขอ้ มลู และแปลผล ของดนิ ธาตอุ าหารพืชในดนิ ฯลฯ อนรุ กั ษ์ดิน ดูขอ้ 5-7 ตวั อยา่ งดนิ ตะกอน ช่งั นา้ หนักตะกอน และน้า 10 ดนิ หลงั ฤดฝู น หรอื เปน็ ระยะๆ เกบ็ เบอื งตน้ ขอ้ มูลปริมาณน้าฝน ปรมิ าณนา้ ไหลบา่ 3 การเจรญิ เตบิ โตของพืช/ผลผลิต ไม่ใช่ ใช้ GIS/แบบจา้ ลอง ทางคณติ ศาสตร์ - นกั วจิ ยั วเิ คราะหส์ มบัตขิ องดนิ สมบัติ - นกั วิจัย ตลอดปี ดูขอ้ 4 งบประมาณ ใช่ ดขู ้อ 3.1-3.5 ของตะกอนดนิ ปรมิ าณการสูญเสียดนิ ตลอดปี 3.1 ปรมิ าณน้าไหลบา่ ปรมิ าณธาตุอาหาร งบประมาณ ก้าหนดขอบเขตพนื ทกี่ ารวจิ ยั พชื ในดินตะกอน เปรยี บเทียบคา่ เฉลย่ี ตลอดปี งบประมาณ ระหวา่ งปขี องแต่ละแปลงและระหว่าง แปลงทดลองโดยใช้การทดสอบความ แปรปรวน (Analysis of Variance) หรอื วเิ คราะห์ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ปริมาณนา้ ฝนกับปรมิ าณการสูญเสยี ดนิ และนา้ โดยวธิ ี Regression Analysis ฯลฯ (ตามท่ีกา้ หนดไว้) - นักวจิ ยั ใชร้ ะบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ - นักวิจัย (Geographic Information System; GIS) ร่วมกบั แบบจ้าลองคณติ ศาสตร์ เพ่ือประเมนิ อัตราการชะลา้ งพังทลาย ของดินในพืนท่ลี ุม่ น้าศึกษา ตวั อย่าง แบบจ้าลอง เช่น สมการสูญเสยี ดิน สากล (Universal Soil Loss Equation; USLE), แบบจา้ ลอง MMF แบบจ้าลอง RMMF หรือแบบจ้าลอง อน่ื ๆ - นกั วจิ ยั ก้าหนดขอบเขตพืนที่ - นกั วิจัย ดา้ เนนิ การวจิ ยั ในเขตพฒั นาท่ีดนิ ลุม่ นา้ หรอื ลุ่มน้าหลกั ลมุ่ นา้ สาขา - นักวิจยั วัดพกิ ัด
5.2 Work Flow การทา้ งานวจิ ัยดา้ นอนรุ กั ษด์ นิ และน้า (ตอ่ ) 12 ล้าดับ ผังกระบวนการ รายละเอียด ผรู้ ับ ระยะเวลา แบบ เอกสาร อ้างองิ ผิดชอบ ฟอรม์ 3.2 - นกั วิจัยกา้ หนดขอ้ มูลท่ีใชใ้ นการวจิ ัย - นักวจิ ัย ตลอดปี เช่น ความละเอียดสูงเชงิ เลข (DEM) งบประมาณ กลุ่มชดุ ดิน การใชป้ ระโยชนท์ ่ีดิน ก้าหนดขอบเขตขอ้ มูลและ ปริมาณนา้ ฝนรายปี เปน็ ต้น เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการวิจยั - นกั วิจัยก้าหนดเคร่ืองมอื ศกึ ษา เช่น โปรแกรมทางระบบสารสนเทศ ภูมศิ าสตร์ สมการสูญเสยี ดนิ สากล USLE, MMF หรืออ่ืนๆ 3.3 เก็บรวบรวมขอ้ มลู - นักวิจัยรวบรวมขอ้ มูลงานวิจยั - นักวจิ ัย ตลอดปี ท่เี ก่ยี วขอ้ ง รวบรวมข้อมลู ปฐมภมู ิ งบประมาณ ของพนื ทศี่ ึกษา ขอ้ มลู ทตุ ิยภมู ิ ท่เี กี่ยวขอ้ ง 3.4 - นักวจิ ยั จดั เตรียมขอ้ มลู ให้อยู่ใน - นักวิจยั ตลอดปี เตรยี มข้อมูลให้อยู่ในรูป GIS ระบบสารสนเทศทางภมู ศิ าสตร์ (GIS) งบประมาณ เช่น จดั ท้าชันข้อมูลขอบเขตพนื ท่ีลมุ่ นา้ ต้าแหน่งสถานีอตุ นุ ิยมวทิ ยา ปีที่ศึกษา ความลาดชันของพนื ท่ี กลุม่ ชดุ ดนิ การใชป้ ระโยชน์ท่ีดิน 3.5 - นักวิจยั นา้ เขา้ ขอ้ มลู ต่างๆ เพอ่ื หาคา่ - นักวจิ ัย ตลอดปี น้าเข้าขอ้ มูล/วเิ คราะหข์ อ้ มูล ปจั จยั พนื ฐานของสมการการสูญเสยี งบประมาณ ดนิ สากล (USLE) และแสดงผลใน ดขู อ้ 5-7 ตอ่ รูปแบบแผนท่ีระดับความรนุ แรงการ 10 ชะลา้ งพงั ทลายของดิน 4 - นกั วิจยั ศกึ ษาวจิ ัยเชงิ คุณภาพเพอื่ - นักวจิ ัย ตลอดปี ประเมนิ ความพึงพอใจหรอื การยอมรับ งบประมาณ วิจัยทางสงั คม เทคโนโลยีการอนรุ กั ษ์ดินและนา้ ดว้ ย ส้ารวจความพงึ พอใจฯลฯ หญ้าแฝก หรอื การจดั ทา้ ระบบพืชเพอื่ การอนุรักษด์ ินและนา้ เป็นต้น ใช่ ดขู ้อ 4.1-4.5 4.1 กา้ หนดขอบเขตพนื ท่ีการวจิ ยั - นกั วิจัยกา้ หนดขอบเขตพนื ทว่ี จิ ยั - นกั วิจัย ตลอดปี เปน็ หมบู่ า้ น ตา้ บล อา้ เภอ จังหวดั งบประมาณ หรืออน่ื ๆ
5.2 Work Flow การทา้ งานวิจยั ดา้ นอนุรักษ์ดินและน้า (ตอ่ ) 13 ล้าดบั ผังกระบวนการ รายละเอยี ด ผู้รบั ระยะเวลา แบบ เอกสาร อา้ งอิง ผิดชอบ ฟอรม์ 4.2 - นักวจิ ัยจดั ทา้ แบบสมั ภาษณ์ - นกั วิจัย ตลอดปี (Interview) เจาะลึกแบบมีโครงสรา้ ง งบประมาณ กา้ หนดเคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ เครอ่ื งบันทึกเสียง สมุดจนบนั ทกึ กลอ้ งถา่ ยรูป เป็นตน้ 4.3 - นกั วจิ ัยก้าหนดขอบเขตประชากร - นักวจิ ยั ตลอดปี ก้าหนดขอบเขตประชากร หรือ กล่มุ ตัวอยา่ งท่ีตอ้ งการศึกษา งบประมาณ 4.4 - นักวจิ ยั คน้ ควา้ รวบรวมข้อมูลจาก - นักวจิ ยั ตลอดปี เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เอกสารวิชาการ งานวจิ ยั วิทยานพิ นธ์ งบประมาณ แนวคดิ ทฤษฎี ขอ้ มลู จากเว็บไซตต์ ่างๆ และข้อมลู ท่ไี ดจ้ ากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากการสัมภาษณเ์ จาะลึกแบบมี โครงสร้าง และการสงั เกตแบบมีสว่ น รว่ มและไมม่ สี ว่ นร่วม รวมทังการ สนทนากลมุ่ เป็นต้น 4.5 - นักวิจัยเลือกใช้สถิติท่เี หมาะสม - นักวจิ ัย ตลอดปี วเิ คราะห์ขอ้ มูลและแปลผล ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู เช่น ค่าความถ่ี งบประมาณ คา่ เฉล่ยี คา่ เฉล่ียถ่วงนา้ หนกั คา่ ร้อยละ คา่ ไคสแควร์ หรอื อนื่ ๆ ตามท่ีกา้ หนด 5 - นกั วิจัยจัดทา้ รายงานความก้าวหน้า - นกั วจิ ัย ตลอดปี -แผน/ผล - บนั ทกึ การ ประจา้ เดอื น รายไตรมาส ประจา้ ปี - กผง. ปฏิบตั งิ าน จัดสง่ รายงาน รายงานความกา้ วหน้า (แบบ ต-1 ช/ด) งบประมาณ - สงป.301 ความก้าวหน้า (กลมุ่ ระบบ งานวิจัย) -บันทึกการ ด้าเนินงาน -ต-1 ช/ด 6 - นกั วิจัยจดั ท้ารายงานผลการวิจยั - นักวิจัย 6 เดอื น -แบบ วจ.3 รายงานผลการวิจัย ฉบบั สมบรู ณ์ (วจ.3) สง่ กผง. 6 เดือน หลังสินสุดปี ฉบับสมบูรณ์ (วจ.3) หลงั สินสุดปงี บประมาณ งบประมาณ 7 เผยแพรผ่ ลงานวิจยั - นกั วิจัยเผยแพรร่ ายงานการวิจยั - นักวิจยั หลังสินสดุ บทความวจิ ยั และถ่ายทอดสเู่ กษตรกร บทความทางวชิ าการ (Journal) หรอื - กผง. ก้าหนดการ นา้ เสนอในท่ีประชุมวชิ าการระดับชาติ ส่ง วจ.3 (Oral, Poster, Proceeding) เผยแพร่ ผา่ นสื่อสาธารณะ สอื่ วทิ ยุ โทรทัศน์ หนงั สือพิมพ์ สอ่ื ออนไลน์ เชน่ เว็บไซต์ กรมพฒั นาทด่ี นิ www.ldd.go.th เฟซบุ๊กหน่วยงาน เป็นต้น - นักวิจยั คัดเลือกวธิ ีท่เี หมาะสมน้าไป ท้าแปลงสาธิตร่วมกับนกั วชิ าการเขต/ สถานี หรอื จัดอบรมแก่เกษตรกร
14 6. ขนั ตอนการปฏิบัติงาน 6.1 การปฏบิ ตั ิงานวจิ ัยดา้ นอนุรกั ษ์ดินและน้า 6.1.1 วางแผนจดั ทา้ ขอ้ เสนอการวจิ ัยด้านอนรุ ักษ์ดนิ และน้า นักวิจัยก้าหนดประเด็นปัญหาหรือหัวข้อการวิจัยด้านอนุรักษ์ดินและน้าที่ส้าคัญและ สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์กรมพัฒนาท่ีดิน ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) และเขียนโครงร่างการวิจัย (Concept Paper) เสนอคณะกรรมการวิชาการกองวิจยั และพัฒนาการจัดการทด่ี นิ พจิ ารณาในเดือนมีนาคมถงึ เดือนกมุ ภาพันธ์ 6.1.2 จัดท้าขอ้ เสนอการวิจยั ผ่านตน้ สังกัด (แผนงานวจิ ัย/โครงการวจิ ัย) นักวิจัยค้นคว้า ทบทวนข้อมูลองค์ความรู้ด้านอนุรักษ์ดินและน้าให้สอดคล้องกับประเด็น ปัญหาและวัตถุประสงค์การวิจัย ตังแต่ทบทวนสถานการณ์ องค์ความรู้และเคร่ืองมือที่ใช้ในงานวิจัย งานวิจัย ที่เก่ียวข้องทังในประเทศและต่างประเทศ น้าข้อมูลดังกล่าวมาสังเคราะห์เพื่อก้าหนดแนวทางการวิจัยให้มี ประสิทธิภาพ และจัดท้าข้อเสนอการวิจัยตามแบบฟอร์มแผนงานวิจัย/โครงการวิจัยให้ครบถ้วนสมบูรณ์ ส่งให้ คณะกรรมการวิชาการกองวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดินพิจารณา แล้วรวบรวมส่งไปยังฝ่ายเลขานุการ คณะกรรมการวชิ าการกรมฯ (กผง.) รวบรวมสง่ ไปยงั คณะอนุกรรมการกล่ันกรองโครงการวจิ ัยกรมฯ ก่อนส่ง วช. ตามกา้ หนดในเดือนมีนาคมถึงเดอื นพฤษภาคม 6.1.3 พิจารณาข้อเสนอการวิจยั คณะอนุกรรมการกล่ันกรองโครงการวิจัยกรมฯ พิจารณากลั่นกรองข้อเสนอการวิจัย ซึ่ง แยกตามสาขาวิชาการ หากข้อเสนอการวิจัยท่ียังบกพร่องหรือไม่สมบูรณ์ จ้าเป็นต้องแก้ไข ทางฝ่าย เลขานุการคณะกรรมการวิชาการกรมฯ (กผง.) จะประสานแจ้งไปยังหน่วยงานต้นสังกัด เพ่ือแจ้งให้นักวิจัย เจ้าของโครงการท้าการปรับปรุงแก้ไขตามค้าแนะน้า และส่งข้อเสนอการวิจัยที่แก้ไขใหม่ให้ฝ่ายเลขานุการ คณะกรรมการวิชาการกรมฯ (กผง.) ภายในเดือนมถิ นุ ายนถึงเดอื นกรกฎาคม 6.1.4 บนั ทึกข้อเสนอการวจิ ัยเข้าระบบ NRMS ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย/โครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุน ต้องบันทึกข้อมูลข้อเสนอ การวิจัยเข้าระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (NRMS) เพื่อเสนอของบประมาณประจ้าปี ตามมติ ครม. ภายใน เดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน 6.1.5 จดั ล้าดบั ความส้าคัญของข้อเสนอการวจิ ัย คณะอนุกรรมการกล่ันกรองโครงการวิจัยกรมฯ พิจารณาจัดล้าดับความส้าคัญข้อเสนอ การวิจัย และประสานฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการวิชาการกรมฯ (กผง.) แจ้งให้ส้านักงานคณะกรรมการวิจัย แหง่ ชาติ (วช.) ตรวจสอบตามมติ ครม. ภายใน 15 ตลุ าคม 6.1.6 พิจารณาประเมนิ ผลขอ้ เสนอการวิจยั ผทู้ รงคุณวุฒิ วช. พิจารณาประเมนิ ผลขอ้ เสนอการวิจัยในระบบ NRMS และเอกสาร หาก ข้อเสนอการวิจัยใดไม่ผ่านการพิจารณาจะถูกยกเลิกข้อเสนอหรือไม่สนับสนุน ภายในเดือนตุลาคมถึงเดือน กุมภาพนั ธ์ 6.1.7 แจง้ ผลการพจิ ารณาจัดสรรงบประมาณใหห้ น่วยงาน วช. แจ้งผลการพิจารณาข้อเสนอการวิจัยไปยังส้านักงบประมาณเพื่อพิจารณาจัดสรร งบประมาณให้หน่วยงาน จากนันจึงท้าหนังสือแจ้งกรมฯ ทราบผลการพิจารณาข้อเสนอการวิจัย ตามแบบ ว-5 ภายในเดอื นมนี าคม
15 6.1.8 จัดสรรงบประมาณด้าเนนิ งานวิจัย คณะกรรมการวิชาการกรมฯ พิจารณาจัดสรรงบประมาณด้าเนินงานโครงการวิจัยใหม่ และโครงการวิจัยต่อเนื่อง ภายในเดือนสิงหาคมถงึ เดอื นกนั ยายน 6.1.9 โอนเงนิ งบประมาณใหห้ น่วยงาน กองคลงั โอนงบประมาณใหห้ น่วยงาน ภายในเดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ 6.1.10 จดั ทา้ แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณและแผนการปฏบิ ัติงานวิจยั นักวิจัยจัดท้าแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายไตรมาสที่สอดคล้องกับแผนการปฏิบัติ งานวิจัย และส่งแผนการใช้จ่ายงบประมาณไปยังกลุ่มระบบงานวิจัย กผง. เพ่ือประสานกองคลังจัดสรร งบประมาณด้าเนนิ การวจิ ยั ตามก้าหนด ภายในเดอื นมกราคมถึงเดอื นกุมภาพนั ธ์ 6.1.11 ดา้ เนนิ การวิจัยตามขนั ตอน นักวิจัยท่ไี ดร้ บั จดั สรรงบประมาณด้าเนินการวิจัยด้านอนุรักษ์ดินและน้าตามวิธีการหรือ รูปแบบการวิจัยซึ่งก้าหนดไว้ 3 ประเภท คือ 1) ใช้แปลงทดลองการสูญเสียดินและน้า 2) ใช้ระบบสารสนเทศ ภมู ิศาสตร์ GIS และแบบจ้าลองการชะล้างพงั ทลายของดิน และ 3) เชิงสังคม ทังนีนักวิจัยสามารถดูขันตอนการ ด้าเนนิ การวิจัยอย่างละเอียดในหัวข้อ 6.2 6.1.12 รายงานความก้าวหน้า นักวิจัยจัดท้ารายงานความก้าวหน้าการด้าเนินโครงการวิจัยตามก้าหนด คือ รายงาน แผน/ผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณประจ้าเดือน (สงป.301) รายงานผลการด้าเนินงานประจ้า ไตรมาสตามแบบบันทึกการด้าเนินงานโครงการวิจัยกรมฯ และรายงานผลการด้าเนินงานประจ้าปีตามแบบ ต-1ช/ด 6.1.13 พิจารณารายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจยั คณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการวิจัยกรมฯ พิจารณารายงานความก้าวหน้า โครงการวิจัยต่อเน่ือง ก่อนส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิ วช. พิจารณาประเมินผลข้อเสนอการวิจัยต่อเนื่องต่อไป ดา้ เนนิ การในเดือนตุลาคม 6.1.14 รายงานผลการวจิ ยั ฉบับสมบูรณ์ (วจ.3) นักวิจยั สรปุ และจดั ท้ารายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ตามแบบฟอร์ม วจ.3 และส่งเล่ม เอกสารพร้อมไฟล์ข้อมูลให้กลุ่มระบบงานวิจัย 6 เดือน หลังสินสุดปีงบประมาณด้าเนินโครงการวิจัย หรือ ประมาณช่วงเดือนมนี าคม 6.1.15 ประเมินผลรายงานผลการวิจยั ฉบบั สมบูรณ์ คณะกรรมการวิชาการกองวิจัยและพฒั นาการจัดการท่ีดิน พิจารณาประเมินผลรายงาน ผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ (วจ.3) แล้วส่งไปยังกลุ่มระบบแผนงานวิจัย กผง. รวบรวมส่งให้คณะอนุกรรมการ กลั่นกรองโครงการวิจัยกรมฯ พิจารณาประเมินผลระดับกรมฯ หากเนือหาในรายงานยังบกพร่อง ไม่สมบูรณ์ แจง้ ใหผ้ รู้ บั ผดิ ชอบโครงการปรับปรุงแก้ไขรายงานผลการวิจัยตามค้าแนะน้า และจัดส่งรายงานผลการวิจัยฉบับ ปรับปรุงให้กลมุ่ ระบบงานวจิ ยั กผง. อีกครงั ภายใน 1 เดือน 6.1.16 เผยแพร่ผลงานวจิ ัยและถ่ายทอดสูเ่ กษตรกร นักวิจัยการเผยแพร่ผลงานวิจัย เช่น รายงานการวิจัย บทความทางวิชาการ (Journal) น้าเสนอในท่ีประชุมวิชาการระดับชาติ (Oral, Poster, Proceeding) เผยแพร่ผ่านส่ือสาธารณะ เช่น สื่อวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ส่ือออนไลน์ เช่น เว็บไซต์กรมพัฒนาที่ดิน www.ldd.go.th เฟซบุ๊กหน่วยงาน เป็นต้น และ/หรือ คัดเลือกวิธีการท่ีเหมาะสมน้าไปท้าแปลงสาธิตร่วมกับนักวิชาการเขต/สถานี หรือจัดอบรมถ่ายทอด ความรู้ให้แกเ่ กษตรกร
16 6.2 การทา้ งานวจิ ัยด้านอนุรกั ษ์ดนิ และน้า 6.2.1 ดา้ เนนิ การวจิ ัยอนรุ กั ษด์ ินและนา้ ตามวธิ กี ารหรือรูปแบบการวจิ ัย นักวิจัยท่ีได้รับการสนับสนุนโครงการวิจัยจาก วช. และกรมฯ จัดสรรงบประมาณให้ สามารถดา้ เนนิ การวิจยั ตามวิธีการหรอื รปู แบบการวจิ ัยดา้ นอนุรักษ์ดนิ และนา้ 3 ประเภทหลกั ๆ ดังนี 1) ใช้แปลงทดลองการสูญเสียดินและน้า (Runoff and Soil Erosion Plots) เพ่ือศึกษา ปริมาณการสูญเสียดินและน้า ศึกษาปริมาณธาตุอาหารพืชในดินท่ีสูญเสียไปกับน้าไหลบ่าหรือตะกอนดิน หรือ ศึกษาปจั จยั การชะลา้ งพังทลายของดนิ เปน็ ต้น 2) ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System; GIS) ร่วมกับ แบบจ้าลองคณิตศาสตร์เพื่อประเมินอัตราการชะล้างพังทลายของดินในพืนท่ีลุ่มน้าศึกษา ซึ่งแบบจ้าลอง คณิตศาสตร์ท่ีนิยมใช้ เช่น สมการสูญเสียดินสากล (Universal Soil Loss Equation; USLE), แบบจ้าลอง Morgan, Morgan and Finney (MMF) แบบจ้าลอง Revised Morgan, Morgan and Finney (RMMF) หรือ แบบจา้ ลองอื่นๆ 3) การวจิ ยั ทางสังคม เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเพ่ือประเมินความพึงพอใจหรือการยอมรับ เทคโนโลยกี ารอนรุ ักษ์ดนิ และน้าดว้ ยหญา้ แฝก เปน็ ตน้ 6.2.2 ใช้แปลงทดลองการสญู เสยี ดินและน้า (Runoff and Soil Erosion Plots) นักวิจัยศึกษาปริมาณการสูญเสยี ดินและน้า ศึกษาปริมาณธาตุอาหารพืชในดินท่ีสูญเสียไป กับนา้ ไหลบ่าหรอื ตะกอนดนิ หรือศึกษาปัจจยั การชะล้างพังทลายของดิน โดยใช้แปลงทดลองการสูญเสียดินและ น้า (Runoff and Soil Erosion Plots) ตามความลาดชันและสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีสนใจ มีขันตอนการ ดา้ เนินงานวจิ ยั ดังนี 6.2.2.1 คดั เลอื กพืนทด่ี า้ เนนิ การวิจยั นักวิจัยประสานเจ้าหน้าที่ส้านักงานพัฒนาท่ีดินเขต /สถานีพัฒนาท่ีดิน /เกษตรกร รว่ มกันคดั เลอื กพืนท่ีด้าเนนิ การวจิ ัยที่มสี ภาพเป็นตัวแทนทังความลาดชัน ลักษณะดิน และพืชพันธ์ุ ที่ปกคลุมดิน วางผังแปลงทดลองในพืนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินแบบต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ รวมทังประสาน กับนักส้ารวจดินลงพืนท่ีเก็บข้อมูลดินก่อนการทดลองและวิเคราะห์ลักษณะของพืนท่ีด้าเนินการ (Site Characterization) เพ่อื ประโยชน์ในการวางแผนผงั การวจิ ยั และเกบ็ รวบรวมข้อมูลต่อไป 6.2.2.2 สรา้ งแปลงทดลองการสญู เสียดนิ และน้า นักวิจัยสร้างแปลงทดลองการสูญเสียดินและน้าเพื่อศึกษาการชะล้าง พังทลายของดินในช่วงระยะเวลาหนึ่ง แนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมในการศึกษา พืนที่ทดลองควรมีเนือดินปาน กลาง ความลาดชันของพืนที่ 3-18 เปอร์เซ็นต์ มีความยาวความลาดชันไม่เกิน 120 เมตร มีการปลูกและการ จัดการพืชคล้ายคลึงกับแปลงทดลองมาตรฐานของ Water H. Wishchmeier และ Dwight D. Smith ทท่ี ้าการศกึ ษาและเก็บข้อมูลมากกว่า 10,000 แปลง ในสหรฐั อเมริกา มีความยาว 22.13 เมตร (72.6 ฟุต) กว้าง 1.83 เมตร (6 ฟุต) ความลาดชัน 9 เปอร์เซ็นต์ และมีการไถพรวนดินขึนลงตามความลาดชัน จะท้าให้ลด ข้อผดิ พลาดเก่ยี วกับการเป็นตวั แทนทดี่ ี ขนาดของแปลงทดลองการสูญเสียดินและน้าควรอยู่ระหว่าง 2x10 เมตร ถึง 4x20 เมตร ซึ่งไม่ควรใช้แปลงขนาดเล็กกว่าหรือใหญ่กว่านี เพราะจะมีผลต่อการท้าให้เกิดข้อผิดพลาด เกี่ยวกับการเป็นตัวแทนที่ดี เนื่องจากการศึกษาที่มีขนาดแปลงทดลองที่ใหญ่กว่านีจะท้าให้เกิดข้อผิดพลาด จากความไม่สม้่าเสมอของลักษณะพืนท่ีได้มากขึน แต่ถ้ามีขนาดแปลงทดลองที่เล็กกว่านีก็จะท้าให้ได้ตัวอย่าง ท่ีไม่เหมาะสมเกินไป (เกษม, 2539)
17 ขนาดแปลงทดลองที่ใช้ศึกษาในประเทศไทย เช่น แปลงทดลองมาตรฐาน กว้าง 4 เมตร ยาว 20 เมตร ตามวิธีการของ วิทยา และ นิศาชล (2558) Morgan (1986) มงคลและอุทัย (2538) ขนาดแปลงทดลอง 5x30 เมตร ตามวิธีการของ ศรัญณุพงศ์ (2557) ขนาดแปลงทดลอง 4x12 เมตร ตามวิธีการของ นิติพัฒน์ (2555) ขนาดแปลงทดลอง 5x20 เมตร ตามวิธีการของ นิพนธ์ และ อภินันท์ (2540) ขนาดแปลงทดลอง 5.33x30 เมตร ตามวิธกี ารของวันเลศิ (2529) หรือใช้แปลงทดลองขนาดอน่ื ๆ นักวิจัยสร้างรัวล้อมรอบแปลงโดยใช้อิฐบล็อกขนาด 20x40 เซนติเมตร ฝังลึก ลงไปในดิน 20 เซนติเมตร และอยู่เหนือผิวดิน 20 เซนติเมตร หรือใช้สังกะสีแผ่นเรียบสูงประมาณ 30 เซนติเมตร ฝงั ลกึ ลงดิน 10 เซนติเมตร แล้วใช้เหล็กเส้นกลมหรือไม้ท่อนความสูงประมาณ 50 เซนติเมตร ปักลึก ลงดิน 10-20 เซนติเมตร เปน็ ระยะๆ เพ่ือกนั แผ่นสงั กะสีไม่ใหล้ ้ม 6.2.2.3 สร้างถงั เกบ็ นา้ และตะกอนดนิ นักวิจัยสร้างถังเก็บน้าและตะกอนดินท่ีท้ายแปลงทดลองการสูญเสียดินและ น้า สามารถติดตังถังซีเมนต์รูปทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร สูง 1 เมตร และสร้างรางระบาย เชื่อมจากแปลงทดลองสบู่ อ่ ดกั ตะกอน หรือใช้ถังพลาสติกขนาด 200 ลิตร เป็นถังเก็บน้าและตะกอนดิน หรือขุด ดินเปน็ บอ่ แล้วปูด้วยแผ่นพลาสตกิ ก็ได้ นักวิจัยสามารถดูภาพแปลงทดลองการสูญเสียดินและน้าขนาด 4x20 เมตร ทีม่ กี ารตดิ ตังถงั เก็บนา้ และตะกอนดนิ ได้ในภาคผนวก 6.2.2.4 ตดิ ตงั เครอ่ื งมือตรวจวดั ในภาคสนาม นักวิจัยติดตังเคร่ืองวัดปริมาณน้าฝน (Rain Gauge) แบบธรรมดาหรือแบบ ไม่บันทึก (Standard Rain Gauge) หรือเครื่องวัดน้าฝนแบบบันทึก (Recording Rain Gauge) หรือติดตัง เคร่ืองตรวจอากาศแบบ Agro-Meteorological Station หรือใช้ข้อมูลอ้างอิงจากสถานีอุตุนิยมวิทยาที่อยู่ ใกล้เคียงพนื ทด่ี า้ เนนิ การวจิ ัย 6.2.2.5 ท้ามาตรการอนรุ ักษ์วธิ พี ืช/วิธกี ล นักวิจัยจัดท้าระบบการปลูกพืชร่วมกับการท้ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้าวิธี พืช และ/หรอื มาตรการวธิ กี ล ตามท่ีก้าหนดไวใ้ นแผนงานวิจัย/โครงการวจิ ัย นักวจิ ยั สามารถดรู ายละเอยี ดของมาตรการอนุรักษ์ดินและน้าวิธีพืชและวิธีกล ได้ในภาคผนวก 6.2.2.6 เกบ็ รวมรวมขอ้ มูล ตัวชีวัดทีจ่ า้ เปน็ ต้องเก็บรวบรวมมีดงั นี เก็บตัวอย่างดินแบบไม่รบกวนโครงสร้างดินและแบบรบกวนโครงสร้างดิน กอ่ นทดลอง กอ่ นการปลกู พชื ชว่ งการเจรญิ เติบโตของพชื หลงั เกบ็ ผลผลิต หรือทุกเดือน เก็บตวั อยา่ งตะกอนดนิ ในถงั เกบ็ ตะกอน โดยเก็บตัวอย่างน้าด้วยกระบอกตวง จากถังเก็บน้าและตะกอนดนิ ทีผ่ ่านการกวนน้าใหเ้ ข้ากันดี สัปดาหล์ ะ 1 ครัง หรอื ท้าการเก็บตะกอนดินทุกครังที่ ฝนตก เก็บขอ้ มูลการเจริญเตบิ โตของพชื และผลผลิต เก็บข้อมลู ปริมาณนา้ ฝน ทกุ วันตลอดทงั ปี หน่วยเป็นมิลลเิ มตร เก็บข้อมูลปริมาณน้าไหลบ่า โดยใช้ไม้วัดปริมาณน้าในถังเก็บน้าและตะกอน ดินทีไ่ หลลงมาจากกพนื ท่ีแปลงทดลองตอนบน เกบ็ ขอ้ มลู อืน่ ๆ ตามท่ีระบุไว้ในแผนงานวจิ ัย/โครงการวจิ ัยเรอ่ื งนันๆ
18 6.2.2.7 วเิ คราะห์ข้อมลู และแปลผล ตวั ชวี ดั ทป่ี รากฏในข้อ 6.2.2.6 วิเคราะห์สมบตั ิของดนิ ทางกายภาพและเคมีบางประการ เช่น ความหนาแน่น รวมของดินด้วย Soil Core Samples ความชืนในดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง อินทรียวัตถุในดิน ฟอสฟอรัส โพแทสเซยี ม ฯลฯ วิเคราะห์สมบัติตะกอนดินทางเคมีบางประการ เช่น ความเป็นกรดเป็นด่าง อนิ ทรียวัตถุ ฟอสฟอรสั โพแทสเซยี ม ฯลฯ วิเคราะห์ปริมาณการสูญเสียดิน หน่วยเป็นตันต่อเฮกแตร์ต่อปี สามารถ ค้านวณตะกอนดินจากตัวอย่างน้าที่สุ่มเก็บ โดยหาน้าหนักแห้งของตะกอนที่ผ่านการอบดินให้แห้งนาน 24 ช่ัวโมง แลว้ จึงค้านวณน้าหนักแห้งเฉลี่ยของแต่ละแปลงจากปริมาณตัวอย่างน้าที่สุ่มมา หรือใช้วิธีการช่ังน้าหนัก ตะกอนดินทสี่ ะสมในบอ่ ดกั ตะกอนดนิ หลงั ฤดฝู น วิเคราะห์ปรมิ าณการสูญเสยี น้า คิดเปน็ ความสงู ของนา้ มหี นว่ ยเปน็ มิลลิเมตร วิเคราะห์ปริมาณการสูญเสียธาตุอาหารพืชในดินที่สูญเสียไปกับตะกอนดิน หรือนา้ ไหลบา่ โดยวเิ คราะห์จากตะกอนดนิ ทีเ่ กบ็ ไว้เป็นรายปีมีหนว่ ยเปน็ ตันต่อเฮกแตร์ วิเคราะห์อัตราส่วนระหว่างปริมาณการสูญเสียดินกับปริมาณน้าไหลบ่าหน้า ดนิ เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ระหว่างปีของแต่ละแปลงและระหว่างแปลงทดลอง โดยใช้การทดสอบความแปรปรวน (Analysis of Variance) วเิ คราะหค์ วามสัมพนั ธ์ระหว่างปรมิ าณน้าฝนกับปรมิ าณการสูญเสียดินและน้า โดยวธิ ี Regression Analysis ทังนี นักวิจัยสามารถดูรายละเอียดแบบบันทึกข้อมูลเพ่ือการจัดการอนุรักษ์ดิน และน้าเบืองต้นที่แสดงไว้ในภาคผนวก ประกอบด้วย ความชืนในดิน (Soil Moisture) ความหนาแน่นรวมของ ดิน (Bulk Density) การค้านวณปริมาณธาตุอาหารพืชท่ีสูญหายไปกับดินจากการชะล้างพังทลายของดิน (Soil Nutrients Loss and Recovery Amount) การค้านวณปริมาณการชะล้างพังทลายของดิน (Actual Soil Loss Amount) โดยวธิ ใี ช้หลักวัด (Stacking Method) รวมทงั แสดงตารางระดบั การสูญเสียดินและปริมาณการ สูญเสยี ดิน 6.2.3 ใชร้ ะบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ GIS ร่วมกับแบบจ้าลองคณิตศาสตร์ประเมินการชะล้าง พังทลายของดนิ นักวิจัยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System; GIS) ร่วมกับแบบจ้าลองคณิตศาสตร์เพ่ือประเมินอัตราการชะล้างพังทลายของดินในพืนท่ีลุ่มน้าศึกษา หรือน้าไป พจิ ารณาเลอื กใช้ท่ดี นิ และการปฏบิ ัติทางการเกษตร ซึ่งแบบจ้าลองคณิตศาสตร์ท่ีนิยมใช้ เช่น สมการสูญเสียดิน สากล (Universal Soil Loss Equation; USLE), แบบจ้าลอง Morgan, Morgan and Finney (MMF) แบบจา้ ลอง Revised Morgan, Morgan and Finney (RMMF) หรือแบบจา้ ลองอนื่ ๆ 6.2.3.1 ก้าหนดขอบเขตพนื ท่ีการวิจยั นักวิจัยก้าหนดขอบเขตพืนที่การวิจัยในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้า ลุ่มน้าหลัก หรือ ลุม่ น้าสาขาท่สี นใจ ระบพุ ิกัดตามระบบ UTM ขนาดพนื ที่ (ตารางกโิ ลเมตร)
19 6.2.3.2 ก้าหนดขอบเขตขอ้ มลู และเคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ข้อมูลท่ีใช้ในการวิจัย เช่น ข้อมูลความละเอียดสูงเชิงเลข (DEM) มาตราส่วน 1:50,000 ความละเอียด 30 เมตร (หรือใช้มาตราส่วนอ่ืนๆ) ข้อมูลลุ่มน้า ข้อมูลกลุ่มชุดดิน ข้อมูลการใช้ ประโยชนท์ ดี่ นิ ข้อมูลปริมาณนา้ ฝนรายปี เป็นตน้ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ โปรแกรมทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ แบบจ้าลอง คณิตศาสตร์ท่ีใช้ในการศึกษา เช่น สมการสูญเสียดินสากล (Universal Soil Loss Equation; USLE) ซ่ึง สามารถดรู ปู แบบของสมการ USLE ได้ในภาคผนวก แบบจ้าลอง Morgan, Morgan and Finney (MMF) หรือ แบบจา้ ลอง Revised Morgan, Morgan and Finney (RMMF) 6.2.3.3 เก็บรวบรวมข้อมลู ตัวแปรที่จ้าเป็นตอ้ งใชใ้ นแบบจา้ ลองต่างๆ มีดังนี สมการสูญเสียดินสากล (Universal Soil Loss Equation; USLE) ใช้ข้อมูล ท่ีเกี่ยวข้องกับสมการ ได้แก่ ค่า R คือ Rainfall Factor เป็นค่าดัชนีของการชะล้างพังทลายดินของฝนในปีที่มี ฝนตกระดับปกติ (Normal Year’s Rain) K คือ ค่าความคงทนต่อการชะล้างพังทลายของดิน L คือ ค่าอิทธิพล ของความยาวของความลาดชนั ท่มี ตี อ่ การชะลา้ งพงั ทลายของดิน (Slope Length Factor) S คือ ค่าอิทธิพลของ ความลาดชัน (Slope-Gradient Factor) C คือ ค่าอิทธิพลของพืชหรือส่ิงปกคลุม (Cropping Management Factor) P คือ ค่าอิทธิพลของมาตรการที่ใช้ในการควบคุมการชะล้างพังทลายของดิน (Erosion-Control Factor) แบบจ้าลอง Morgan, Morgan and Finney (MMF) หรือ แบบจ้าลอง Revised Morgan, Morgan and Finney (RMMF) ใช้ข้อมูลปัจจัยด้านน้าฝน (R, Rn, I) ปัจจัยด้านดิน (BD, MS, COH, K) ปัจจัยด้านพืชหรือการใช้ประโยชน์ท่ีดิน (A, Et/Eo, C, CC, GC, PH, EHD) ปัจจัยด้านสภาพภูมิ ประเทศ (S) และอืน่ ๆ 6.2.3.4 เตรียมขอ้ มลู ใหอ้ ยูใ่ นรปู GIS นักวิจัยจัดเตรียมข้อมูลท่ีระบุในข้อ 6.2.3.3 ให้อยู่ในระบบสารสนเทศทาง ภูมิศาสตร์ (GIS) เช่น จัดท้าชันข้อมูลขอบเขตพืนที่ลุ่มน้า ต้าแหน่งสถานีอุตุนิยมวิทยาปีท่ีศึกษา ความลาดชัน ของพืนที่ กลมุ่ ชดุ ดิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน 6.2.3.5 น้าเขา้ ขอ้ มลู และวิเคราะห์ขอ้ มูล นกั วจิ ยั นา้ เข้าขอ้ มลู ต่างๆ เพ่ือหาคา่ ปัจจัยพืนฐานของสมการการสญู เสียดินสากล (USLE) และแสดงผลในรูปแบบแผนท่รี ะดับความรุนแรงการชะล้างพังทลายของดิน 6.2.4 วจิ ัยทางสังคม นักวิจัยศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อประเมินความพึงพอใจหรือการยอมรับเทคโนโลยีการ อนรุ กั ษ์ดินและนา้ ด้วยหญ้าแฝก หรือ การจดั ทา้ ระบบพืชเพอ่ื การอนรุ ักษด์ นิ และน้า เป็นต้น 6.2.4.1 ก้าหนดขอบเขตพนื ทีก่ ารวิจยั นักวิจัยก้าหนดขอบเขตพืนที่การวิจัย เช่น พืนที่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ประยกุ ต์ใช้หญา้ แฝกรว่ มกบั วิธกี ลและวิธีพชื เพอ่ื ป้องกันดินถลม่ จงั หวัดปราจนี บรุ ี เปน็ ตน้ 6.2.4.2 ก้าหนดเครือ่ งมอื ท่ใี ช้ นักวิจัยจัดท้าแบบสัมภาษณ์ (Interview) เจาะลึกแบบมีโครงสร้างใช้แบบ สัมภาษณ์ ประกอบด้วยค้าถามปิด (Closed Question) ค้าถามแบบถูกหรือผิดและค้าถามแบบเปิด (Open- Ended Question) โดยแบง่ ออกเปน็ 4 ตอน คือ
20 ตอนที่ 1 สภาพพนื ฐานทางเศรษฐกิจและสังคมบางประการของเกษตรกรได้แก่ 1.1 สภาพทางเศรษฐกิจ ประกอบตัวแปร รายได้ท่ีเป็นเงินสดในภาค เกษตรต่อปี รายได้ท่ีเป็นเงินสดนอกภาคเกษตรต่อปี จ้านวนสมาชิกในครัวเรือนที่ใช้แรงงานเต็มเวลา จ้านวน หนีสนิ แหลง่ เงนิ กู้ เอกสทิ ธถิ์ ือครองที่ดนิ ฯลฯ 1.2 สภาพทางสงั คม ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา จ้านวนสมาชิกใน ครัวเรอื น อาชพี หลัก อาชีพรอง การเปน็ สมาชิกสถาบันการเกษตร การฝึกอบรม ทัศนศึกษา ดูงาน การติดต่อกับ เจ้าหน้าที่การเกษตรแหลง่ ความร้แู ละขอ้ มลู ขา่ วสารทางการเกษตรฯลฯ ตอนที่ 2 ความรู้เร่ืองการอนุรักษ์ดินและน้าด้วยหญ้าแฝกโดยลักษณะแบบ สัมภาษณจ์ ะเปน็ คา้ ถาม แบบถกู หรือผิด ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจหรือการยอมรับของเกษตรกรต่อเทคโนโลยีการอนุรักษ์ ดินและน้าด้วยหญ้าแฝกโดยมีการตรวจวัดการยอมรับในลักษณะแบบสัมภาษณ์เป็นแบบประเมินค่า (rating scale) ตามแบบของลิเคอร์ท โดยจัดท้าแบบอัตราส่วนประเมินค่า 5 อันดับ ซึ่งประกอบด้วย ข้อความที่แสดง ความเห็นชอบหรือข้อความที่มีลักษณะบวก แต่ละค้าตอบให้เลือกตอบ 5 ค้าตอบ คือ ยอมรับมากที่สุด ยอมรับ มาก ยอมรับ ไม่ยอมรบั และไม่ยอมรับอยา่ งมาก โดยมกี ารตังเกณฑ์การใหค้ ะแนน (บญุ ชม, 2532) ดงั นี ขอ้ ความทีแ่ สดงความเหน็ ชอบหรือข้อความที่มีลกั ษณะทางบวก ใหค้ ะแนนดังนี คะแนนเฉลยี่ 1.00-1.49 แสดงว่า ไมพ่ ึงพอใจ/ไม่ยอมรบั อย่างมาก คะแนนเฉลี่ย 1.50-2.49 แสดงว่า ไม่พึงพอใจ/ไมย่ อมรับ คะแนนเฉลย่ี 2.50-3.49 แสดงวา่ พงึ พอใจ/ยอมรับ คะแนนเฉลี่ย 3.50-4.49 แสดงวา่ พงึ พอใจ/ยอมรับมาก คะแนนเฉลีย่ 4.50-5.00 แสดงวา่ พึงพอใจ/ยอมรับมากทีส่ ดุ ตอนที่ 4 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะของเกษตรกรต่อเทคโนโลยีการ อนุรักษ์ดินและน้าด้วยหญ้าแฝกโดยมีการตรวจวัดปัญหาในลักษณะแบบสัมภาษณ์เป็นแบบประเมินค่า (rating scale) ตามแบบของลิเคอร์ท โดยจัดท้าแบบอัตราส่วนประเมินค่า 5 อันดับ ซึ่งประกอบด้วย ข้อความที่แสดง ความเหน็ ชอบหรือขอ้ ความทมี่ ีลักษณะบวก แตล่ ะคา้ ตอบให้เลือกตอบ 5 ค้าตอบ คือ มีปัญหามากท่ีสุด มีปัญหา มาก มปี ญั หา ไม่มีปัญหา และไม่มปี ัญหาอยา่ งมาก โดยมกี ารตังเกณฑ์การใหค้ ะแนนดังนี ข้อความท่ีแสดงความเห็นชอบหรือข้อความท่ีมีลักษณะทางบวก ให้คะแนนดังนี คะแนนเฉล่ีย 1.00-1.49 แสดงวา่ ไมม่ ีปัญหาอย่างมาก คะแนนเฉลี่ย 1.50-2.49 แสดงวา่ ไมม่ ีปัญหา คะแนนเฉลย่ี 2.50-3.49 แสดงวา่ มปี ญั หา คะแนนเฉลี่ย 3.50-4.49 แสดงว่า มีปัญหามาก คะแนนเฉลย่ี 4.50-5.00 แสดงวา่ มีปัญหามากทส่ี ดุ 6.2.4.3 ก้าหนดขอบเขตประชากร นักวิจัยก้าหนดขอบเขตประชากร หรือ กลุ่มตัวอย่างท่ีต้องการศึกษา ประชากรเป้าหมายท่ีใช้ในการวิจัยครังนี ได้แก่ เกษตรกรในท้องถิ่น ซ่ึงการก้าหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ Taro Yamane (สา้ เรงิ และ สุวรรณ, 2542) ดงั นี
21 n= N 1 + Nd2 เมื่อ n = ขนาดตวั อยา่ งท่ีต้องการ N = จา้ นวนประชากรทงั หมด d2= ค่าสัดส่วนท่ียอมให้ข้อมูลจากตัวอย่างสามารถคลาดเคล่ือนจาก ขอ้ มูลของประชากรทังหมด 6.2.4.4 เกบ็ รวบรวมข้อมูล นักวิจัยค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจากเอกสารวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ แนวคิด ทฤษฎี ข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆ และข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากการสัมภาษณ์เจาะลึกแบบ พบกันโดยตรง (Face to Face) และการสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม รวมทังการสนทนากลุ่ม รวมกล่มุ เกษตรกร เพื่อจดั เวทชี ุมชน ร่วมระดมความคดิ ความรู้ และประเมินผลจากเกษตรกรว่ามีความพึงพอใจ/ การยอมรบั ตอ่ เทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษด์ ินและน้าด้วยหญ้าแฝก ปญั หาและขอ้ เสนอแนะอยา่ งไร 6.2.4.5 วเิ คราะหข์ ้อมูลและแปลผล นักวิจัยเลือกใช้สถิติท่ีเหมาะสมในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผล การ วิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเรื่องนี ได้น้าข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยค้านวณค่าสถิติด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์โปรแกรม ส้าเร็จรูป SPSS (Statistical Package for the Social Sciences)โดยวิธีการหาค่า ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย เลขคณติ คา่ สงู สุด คา่ ต่้าสุด t-test Anova คา่ ไคสแควร์ หรืออนื่ ๆ ตามทก่ี า้ หนดแสดงผลขอ้ มลู 6.2.5 จดั ท้ารายงานความกา้ วหนา้ นักวิจัยจัดท้ารายงานความก้าวหน้าการด้าเนินโครงการวิจัยตามก้าหนด คือ รายงาน แผน/ผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณประจ้าเดือน (สงป.301) รายงานผลการด้าเนินงานประจ้า ไตรมาสตามแบบบันทึกการด้าเนินงานโครงการวิจัยกรมฯ และรายงานผลการด้าเนินงานประจ้าปีตามแบบ ต-1ช/ด 6.2.6 จดั ท้ารายงานผลการวิจยั ฉบบั สมบรู ณ์ (วจ.3) นักวิจัยสรุปและจัดท้ารายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ตามแบบฟอร์ม วจ.3 และส่งเล่ม เอกสารพร้อมไฟล์ข้อมูลให้กลุ่มระบบงานวิจัย 6 เดือน หลังสินสุดปีงบประมาณด้าเนินโครงการวิจัย หรือ ประมาณช่วงเดือนมีนาคม 6.2.7 เผยแพรผ่ ลงานและถา่ ยทอดสเู่ กษตรกร นักวจิ ัยการเผยแพร่ผลงานวจิ ัย เชน่ รายงานการวจิ ัย บทความทางวิชาการ (Journal) น้าเสนอในท่ปี ระชมุ วชิ าการระดับชาติ (Oral, Poster, Proceeding) เผยแพรผ่ า่ นสอ่ื สาธารณะ เช่น สื่อวทิ ยุ โทรทัศน์ หนงั สือพมิ พ์ สอ่ื ออนไลน์ เชน่ เวบ็ ไซต์กรมพฒั นาทีด่ นิ www.ldd.go.th เฟซบุก๊ หน่วยงาน เปน็ ตน้ และ/หรอื คดั เลอื กวธิ กี ารที่เหมาะสมน้าไปท้าแปลงสาธติ รว่ มกบั นกั วิชาการเขต/สถานี หรือจัดอบรมถา่ ยทอด ความรู้ให้แก่เกษตรกร
22 7. เอกสารอา้ งองิ เอกสารทางวชิ าการ หรอื บันทึก/หนังสือราชการ ท่ีเก่ยี วข้องกับการปฏิบัติงานวิจัยด้านอนุรักษ์ดินและ น้า มดี งั นี คู่มอื เจา้ หนา้ ที่รฐั เร่ือง การอนรุ กั ษ์ดนิ และน้าในเขตพัฒนาท่ดี ิน พ.ศ.2553 กรมพัฒนาที่ดนิ คู่มือชุดองค์ความรู้ด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้าในเขตพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2556 คณะท้างาน ชดุ องคค์ วามรดู้ ้านการจัดระบบอนุรกั ษด์ ินและนา้ ในเขตพัฒนาทด่ี ิน. ค่มู อื การประเมนิ คณุ ภาพทด่ี ินสา้ หรบั พชื เศรษฐกิจ พ.ศ.2542 กองวางแผนการใช้ท่ีดิน กรมพัฒนา ทดี่ นิ คมู่ อื การจัดการพืชเพอ่ื อนรุ ักษ์ดินและน้า พ.ศ.2537 กองอนรุ ักษด์ นิ และน้า หนังสือมาตรการอนรุ กั ษ์ดินและน้า ค่มู อื การอนรุ ักษ์ดินและนา้ คมู่ ือการวเิ คราะหด์ ินส้าหรับเกษตรกร คมู่ ือการให้บรกิ ารกล้าหญา้ แฝกเพ่อื การอนุรักษด์ ินและนา้ คมู่ อื การดา้ เนินงานวิชาการกรมพฒั นาท่ีดิน พ.ศ.2556 แผนแม่บทงานวชิ าการกรมพฒั นาทีด่ นิ พ.ศ.2560-2564 คู่มือการเสนอของบประมาณ (แบบปกติ) ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ผ่านระบบบริหาร งานวจิ ัยแหง่ ชาติ (NRMS) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 พ.ศ. 2560-2564 นโยบายและยทุ ธศาสตร์การวิจยั ของชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2560-2564 นโยบายรฐั บาล นโยบายงานวชิ าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบกรมพัฒนาท่ีดินว่าด้วยการใช้เครื่องหมายรับรองมาตรฐานปัจจัยการผลิตทางการเกษตร พ.ศ.2547 (ฉบบั ท่ี 1) พระราชบัญญตั ิพัฒนาทด่ี ิน พ.ศ.2551 กฎกระทรวง (พ.ศ.2533) ออกตามความในพระราชบัญญัตพิ ฒั นาท่ีดนิ พ.ศ.2526 กฎกระทรวง ก้าหนดหลักเกณฑ์วธิ กี ารและเงื่อนไขและอัตราค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงดินหรือที่ดิน หรอื การอนรุ ักษ์ดนิ และนา้ เป็นการเฉพาะราย พ.ศ.2555 กฎกระทรวงแบง่ สว่ นราชการกรมพฒั นาทีด่ นิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.2557 คา้ สั่งคณะกรรมการวชิ าการกรมพฒั นาที่ดนิ ที่ 6/2561 เรื่อง แต่งตังคณะท้างานจัดท้าแผนแม่บท งานวชิ าการกรมพัฒนาท่ดี นิ ปี 2560-2564 คา้ สง่ั แต่งตงั คณะทา้ งานกล่นั กรองโครงการวจิ ัยสาขาอนุรักษ์ดนิ และนา้ หนงั สอื วช. แจ้งกรมฯ ทราบผลพจิ ารณาขอ้ เสนอการวจิ ัย (แบบ ว-5)
23 8. แบบฟอร์มท่ใี ช้ 8.1 แบบเสนอแผนบูรณาการประกอบการเสนอของบประมาณ แผนบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม ประจ้าปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 (ภาคผนวกที่ 4) 8.2 แบบฟอร์มข้อเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Proposal) ส้าหรับโครงการประกอบการเสนอขอ งบประมาณบูรณาการวิจัยและนวัตกรรมประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ส้าหรับเป้าหมายท่ี 1 2 และ 3) (ภาคผนวกท่ี 5) 8.3 แบบรายงานความก้าวหน้าแผนงานวิจัย/โครงการวิจัย แบบ ต-1 ช/ด ส้านักงานคณะกรรมการ วจิ ยั แห่งชาติ (ภาคผนวกที่ 6) 8.4 แบบบันทึกการด้าเนินงานโครงการวจิ ยั กองแผนงาน กรมพัฒนาท่ีดิน (ภาคผนวกท่ี 7) 8.5 แบบรายงานผลการวิจยั ฉบับสมบรู ณ์ (วจ.3) (ภาคผนวกท่ี 8) 8.6 แบบรายงานผลสัมฤทธหิ์ รอื ประโยชน์ท่ีได้รบั จากการใช้จ่ายงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 กรมพัฒนาทดี่ นิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (แบบฟอร์มท่ี 2) 8.7 แบบรายงานแผน/ผลการปฏิบัติงานและงบประมาณประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ.2562 แผนบูรณา การวิจยั และนวตั กรรม (เอกสารแนบ 3) 8.8 แบบแผน/ผลการปฏิบตั งิ านและการใชจ้ า่ ยงบประมาณประจ้าปงี บประมาณ แบบ สงป.301 8.9 แบบบนั ทกึ ข้อมลู เพื่อการจัดการอนุรักษ์ดินและนา้ เบืองต้น
24 9. เอกสารบนั ทึก ผู้รบั ผิดชอบ สถานท่จี ดั เก็บ การจัดเก็บ ระยะเวลา 9.1 การจดั เกบ็ ขอ้ มูล กลุ่ม/ฝา่ ย กวจ. แฟ้มเอกสาร 5 ปี ผอ.กล่มุ /ฝา่ ย จดั เรยี งตาม ชอื่ เอกสาร เจ้าหนา้ ท่ีธุรการ กลุม่ /ฝา่ ย กวจ. เลขล้าดับ 10 ปี 1. เอกสารทะเบยี นรบั -ส่ง ขอ้ เสนอการวจิ ัย กผง. ฐานขอ้ มูล แฟม้ เอกสาร 10 ปี รายงานความก้าวหน้า สงป.301 ฯลฯ ผู้ใหท้ นุ แฟ้มเอกสาร กลมุ่ /ฝา่ ย กวจ. 2. ขอ้ เสนอฉบบั สมบูรณ์ (Full Proposal) นกั วิจยั กผง. ฐานขอ้ มลู ส้าหรับโครงการประกอบการเสนอขอ นักวจิ ัย งบประมาณ ผใู้ ห้ทนุ นักวิจยั 3. แบบรายงานแผน/ผลการปฏบิ ตั งิ านและ นกั วิจยั กลมุ่ /ฝ่าย กวจ. แฟม้ เอกสาร 10 ปี งบประมาณ ประจ้าปีงบประมาณ กผง. แฟม้ เอกสาร 10 ปี พ.ศ.2562 แผนบรู ณาการวจิ ัยและ 10 ปี นวตั กรรม กลุ่ม/ฝ่าย กวจ. แฟม้ เอกสาร 5 ปี กผง. ฐานข้อมลู 5 ปี 4. แบบการบันทึกการดา้ เนนิ งาน แฟ้มเอกสาร 5 ปี โครงการวิจยั รายไตรมาส (กผง.) ผู้ให้ทุน 5 ปี กลุ่ม/ฝ่าย กวจ. แฟ้มเอกสาร 5. แบบรายงานความกา้ วหน้าแผนงานวจิ ยั / กผง. ฐานข้อมลู โครงการวิจยั (ต-1 ช/ด) แฟ้มเอกสาร ผใู้ ห้ทุน จัดเรยี งตาม 6. แบบรายงานผลการวิจยั ฉบบั สมบูรณ์ นกั วจิ ัย กลมุ่ /ฝา่ ย กวจ. (วจ.3) กผง. ฐานข้อมลู ว-ด-ป แฟม้ เอกสาร 7. แบบรายงานแผน/ผลการปฏบิ ัติงาน นักวิจยั ผใู้ ห้ทุน จดั เรียงตาม กลมุ่ /ฝ่าย กวจ. และการใช้จา่ ยงบประมาณประจ้าปี เจา้ หน้าที่ธุรการ กผง. ฐานข้อมูล ว-ด-ป งบประมาณ (สงป.301) ผใู้ หท้ ุน กลุ่ม/ฝา่ ย กวจ. 8. แบบรายงานผลสัมฤทธห์ิ รือประโยชน์ นักวิจยั กลุ่ม/ฝ่าย กวจ. ที่ได้รบั จากการใชจ้ า่ ยงบประมาณ เจ้าหนา้ ที่ธุรการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 (แบบฟอร์มท่ี 2) 9. ค้าส่ังแต่งตงั ผอ.กลุ่ม/ฝ่าย เจา้ หน้าทธี่ รุ การ 10. งบประมาณ ผอ.กลุ่ม/ฝา่ ย นักวิจยั เจ้าหนา้ ท่ีธรุ การ 9.2 ผู้มีสิทธิ์เข้าถึงเอกสาร เอกสารล้าดับที่ 1 ผ้มู สี ทิ ธิ์ : ผู้อา้ นวยการกลุ่ม/หัวหนา้ ฝา่ ย เจ้าหน้าที่ธุรการ เอกสารล้าดับท่ี 2-6 ผู้มีสิทธ์ิ : ผูอ้ า้ นวยการกลุ่มฯ นกั วจิ ัย ผู้ให้ทนุ วิจยั เอกสารลา้ ดับที่ 7-8 ผู้มสี ิทธิ์ : นักวจิ ยั เจา้ หน้าทธ่ี รุ การ ผู้ให้ทุนวจิ ัย บุคคลทั่วไป เอกสารล้าดบั ที่ 9 ผมู้ สี ิทธ์ิ : ผูอ้ ้านวยการกลุ่มฯ/หวั หน้าฝา่ ย เจ้าหน้าทธี่ รุ การ เอกสารลา้ ดับท่ี 10 ผูม้ สี ิทธ์ิ : ผอู้ ้านวยการกลุ่ม/หัวหน้าฝา่ ย นกั วิจัย เจา้ หน้าทธ่ี รุ การ
25 10. มาตรฐานงาน มาตรฐานคุณภาพการปฏิบัติงานกระบวนการวิจัยด้านอนุรักษ์ดินและน้า ใช้ระยะเวลาในการ ด้าเนินงานที่แล้วเสร็จในแต่ละขันตอน วิธีการปฏิบัติงาน และการรายงานผลการด้าเนินงาน ก้าหนดเป็น มาตรฐานคุณภาพของกระบวนการวิจยั 10.1 การจัดท้าข้อเสนอโครงการวิจัยสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของประเทศ แล้วเสร็จภายในเวลา ที่ วช.กา้ หนด 10.2 การด้าเนินงานวิจัย วิธีการวิจัยเป็นที่ยอมรับและได้มาตรฐานสากล (การคัดเลือกพืนที่ วิธีการ ประเมนิ การชะล้างพังทลายของดิน มาตรฐานการวิเคราะหด์ นิ ฯลฯ) 10.3 รายงานแผน/ผลการปฏิบตั งิ าน การใชจ้ า่ ยงบประมาณรายเดือน ตามแบบบันทึกการด้าเนินงาน โครงการวิจัยตามทีก่ รมฯ กา้ หนด และแบบ สงป. ภายในวันท่ี 25 ของทุกเดอื น 10.4 รายงานความกา้ วหนา้ ตามแบบบนั ทกึ การดา้ เนินงานโครงการวิจัย ส่งข้อมูลรายงาน ภายในวันที่ 25 หลังสินสดุ แต่ละไตรมาส 10.5 รายงานความก้าวหน้าตามแบบ ต-1ช/ด ภายในเดอื นกันยายนของทุกปี 10.6 การรายงานผลการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ (วจ.3) ภายใน 6 เดอื น หลังสนิ สุดโครงการวจิ ยั 10.7 เผยแพร่ผลงานวิจัยผ่านช่องทางต่างๆ สามารถเข้าถึงได้ง่าย ผลงานวิจัยมีคุณภาพถูกต้องตาม หลกั วชิ าการ สามารถเผยแพร่และนา้ ไปปฏิบตั ไิ ด้ 11. ระบบตดิ ตามประเมินผล ก้าหนดให้มีการติดตามผลการปฏิบัติงานวิจัยด้านอนุรักษ์ดินและน้าจากคณะอนุกรรมการกลั่นกรอง โครงการวิจัยกรมฯ คณะกรรมการวิชาการกรมฯ คณะกรรมการวิชาการกองวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน ดว้ ยแบบรายงานทผ่ี ูร้ ับผดิ ชอบโครงการต้องส่งให้ทันตามก้าหนดเวลาดงั นี การตดิ ตามประเมนิ ผลรายเดอื น 11.1 แบบรายงานแผน/ผลการปฏิบัติงานประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ.2562 แผนบูรณาการวิจัยและ นวตั กรรม 11.2 แบบแผน/ผลการปฏบิ ัตงิ านและการใชจ้ า่ ยงบประมาณประจ้าปงี บประมาณ แบบ สงป.301 การติดตามประเมนิ ผลรายไตรมาส 11.3 แบบการบนั ทกึ การด้าเนนิ งานโครงการวจิ ัย (กผง.) 11.4 แบบรายงานผลสัมฤทธ์ิหรือประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กรมพฒั นาท่ดี ิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (แบบฟอร์มท่ี 2) การติดตามประเมินผลประจา้ ปี 11.5 แบบรายงานความก้าวหน้าแผนงานวิจัย/โครงการวิจัย แบบ ต-1 ช/ด ส้านักงานคณะกรรมการ วจิ ัยแหง่ ชาติ 11.6 แบบรายงานผลการวจิ ัยฉบับสมบูรณ์ (วจ.3)
26 ภาคผนวก
27 1. มาตรการอนุรักษ์ดินและนา้ (Soil and Water Conservation Measures) 1.1 มาตรการวิธีพืช (Vegetative Measures) มีดังนี 1.1.1 การปลูกพืชหมุนเวียน (Crop Rotation) เป็นการปลูกพืชสองชนิดหรือมากกว่า หมุนเวียนกันลงบนพืนที่เดียวกัน อาจปลูกพืชเศรษฐกิจหมุนเวียนกับพืชตระกูลถั่วหรือพืชตระกูลหญ้า เช่น ข้าวโพด-ถั่ว โดยจัดชนิดพืชและเวลาปลูกให้เหมาะสม เป็นการหมุนเวียนการใช้ธาตุอาหารพืช ท้าให้ดินมี ความอุดมสมบูรณ์ สามารถควบคุมการระบาดของโรคแมลงและวัชพืช 1.1.2 การปลูกพืชแซม (Intercropping) เป็นการปลูกพืชตังแต่ 2 ชนิดขึนไปบนพืนที่ในเวลา เดียวกัน โดยปลูกพืชที่สองแซมลงในระหว่างแถวของพืชหลัก เช่น ข้าวโพดแ ซมถั่ว พืชแซมควรเป็นพืช ตระกูลถั่ว มีอายุสันกว่าพืชหลัก ระบบรากของพืชทังสองควรมีระดับที่แตกต่างกัน วิธีนีช่วยลดการระเหยน้า จากผิวดินเนื่องจากมีการเพิ่มประชากรพืชที่ปกคลุมดิน ท้าให้โรคแมลงและวัชพืชน้อยลง 1.1.3 การปลูกพืชเหลื่อมฤดู (Relay Cropping) เป็นการปลูกพืชต่อเนื่องคาบเกี่ยวกัน โดย การปลูกพืชที่สองระหว่างแถวของพืชแรกในขณะที่พืชแรกให้ผลผลิตแต่ยังไม่แก่เต็มที่ ซึ่งพืชที่สองควรเป็น พืชตระกูลถ่ัวอายุสัน ทนร่มเงาและควรเป็นพืชที่ต่างตระกูลกันกับพืชแรกเพ่ือขจัดปัญหาโรคและแมลงสะสม โดยพืชแรกจะเป็นพืชพ่ีเลียงให้กับพืชที่สองในการช่วยเป็นร่มเงา เป็นค้างหรือเป็นวัสดุคลุมดิน วิธีนีท้าให้ใช้ ประโยชน์ท่ีดินกับพืชท่ีปลูกตามมาได้อย่างคุ้มค่าและเพิ่มรายได้ต่อพืนท่ีให้มากขึน 1.1.4 การปลูกพืชสลับเป็นแถบ (Strip Cropping) เป็นการปลูกพืชที่มีระบบปลูกชิดและห่าง เป็นแถบสลับกันขวางความลาดเทของพืนที่ พืชที่มีระบบปลูกชิด เช่น ถั่วลิสงหรือถั่วเหลืองสลับกับแถบข้าว ไร่ ข้าวโพดและข้าวฟ่าง วิธีนีช่วยลดการสูญเสียดิน ลดอัตราน้าไหลบ่า ช่วยปรับปรุงบ้ารุงดิน ลดความ เสียหายของพืชจากการระบาดของโรคและแมลง เหมาะกับพืนที่ลาดเทไม่เกิน 15 เปอร์เซ็นต์ 1.1.5 การปลูกพืชเป็นแถบตามแนวระดับ (Contour Cultivation) เป็นการปลูกพืชสลับให้ เต็มพืนที่ไปตามแนวระดับ เหมาะกับพืนท่ีที่มีความลาดชัน 2-12 เปอร์เซ็นต์ 1.1.6 การปลูกพืชเป็นแถบป้องกัน เป็นการปลูกต้นไม้ชนิดใดก็ได้โดยไม่มีการรบกวนใดๆ ทังสิน ให้แน่นทึบเป็นแนวขนานไปตามล้าน้า อ่างเก็บน้า พืนที่ป่าที่น้าไม้ออก หรือพืนที่เกษตรที่มีอัตราการชะล้าง พังทลายของดินเกิดขึนสูง 1.1.7 การปลูกพืชระหว่างแถบไม้พุ่มบ้ารุงดิน (Alley Cropping) เป็นการปลูกพืชระหว่าง แถบไม้พุ่มบ้ารุงดินตามแนวระดับ ช่วยลดการชะล้างพังทลายของดิน ปรับปรุงโครงสร้าง เพิ่มความอุดม สมบูรณ์ของดิน สามารถน้าไปใช้ในพืนที่ที่มีความลาดเทต้า่ ถึงความลาดชันสูง 1.1.8 การปลูกพืชคลุมดิน (Cover Cropping) เป็นการปลูกพืชตระกูลหญ้าหรือพืชตระกูลถั่ว คลุมดิน ใช้ได้ในพืนที่ที่มีความลาดชันตังแต่ 0-35 เปอร์เซ็นต์ และเหมาะสมอย่างยิ่งส้าหรับปลูกคลุมดินใน สวนไม้ผล หากพืนที่ลาดชันสูงเกิน 20 เปอร์เซ็นต์และเป็นดินเลว ใช้ปลูกพืชเศรษฐกิจไม่คุ้มค่า พืชที่ขึนปก คลุมผิวหน้าดินช่วยควบคุมการชะล้างพังทลายของดินและปรับปรุงบ้ารุงดิน ช่วยป้องกันเม็ดฝนมิให้กระทบ ผิวดินโดยตรง ลดการชะล้างผิวหน้าดิน ช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน ปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพของดิน ควบคุมวัชพืช และช่วยปรับสภาพแวดล้อมบริเวณปลูกพืชให้เหมาะสม 1.1.9 การปลูกพืชปุ๋ยสด (Green Manure Cropping) เป็นการปลูกพืชตระกูลถั่วเพื่อไถกลบ คลุกเคล้ากับดิน สามารถใช้ร่วมกับการปลูกพืชในระบบหมุนเวียนและการปลูกพืชแซม ช่วยปรับปรุงบา้ รุงดิน ท้าให้สมบัติทางกายภาพ ทางเคมีและชีวภาพดินดีขึน ช่วยเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดินโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ธาตุอาหารไนโตรเจน และช่วยลดการชะล้างพังทลายของดิน
28 1.1.10 แถบหญ้าเพื่ออนุรักษ์ดินและน้า (Grass Barrier for Soil and Water Conservation) เป็นการปลูกหญ้าเป็นแถบตามแนวระดับบนพืนท่ีลาดชันระหว่างคูรับน้าขอบเขา สามารถ ใช้แทนคันดิน โดยพืนที่ระหว่างแถบหญ้าสามารถปลูกพืชเศรษฐกิจ วิธีนีช่วยลดการสูญเสียดินบนพืนที่ลาด ชัน และท้าให้เกิดการปรับตัวเป็นขันบันไดดินตามธรรมชาติ 1.1.11 การปลูกหญ้าเพื่อรักษาคูรับน้าขอบเขา (Grass Planting of Hillside Ditches) หรือการปลูกหญ้าเพื่อรักษาขันบันไดดิน (Terrace) หรือเชิงลาดด้านนอกขันบันได (Grass Riser) หญ้าช่วย ป้องกันไม่ให้คูรับน้าขอบเขาถูกกัดเซาะ ช่วยดักตะกอนดินที่ไหลมากับน้า ท้าให้ประหยัดงบประมาณ ซ่อมแซมหรือบา้ รุงรักษา และช่วยป้องกันการพังทลายของดินบนเชิงลาดด้านนอกและในพืนที่ด้านบนของคู รับนา้ อาทิ หญ้าเบอร์มิวด้า หญ้าบาเฮีย หญ้ารูซ่ี หญ้าเจ้าชู้ เป็นต้น 1.1.12 การปลูกแนวรัวหญ้าแฝก (Vetiver Grass in Headge-Row) เป็นการปลูกหญ้าแฝก ขวางความลาดชันของพืนที่หรือปลูกตามแนวระดับจ้านวน 1 แถว ในทุกๆ 3 แถวของพืชหลัก หรือปลูกเป็ น แนวในแถวของพืชหลักและท้าเป็นรูปคร่ึงวงกลมหงายขึนบริเวณโคนต้น 1.1.13 การคลุมดิน (Mulching) เป็นการใช้วัสดุต่างๆ คลุมดินในแปลงพืชผัก พืชไร่ ไม้ผล เพื่อ การอนุรักษ์ดินและน้า วัสดุที่ใช้ เช่น เศษซากพืช ฟางข้าว หรือวัสดุอื่นๆ ช่วยลดปริมาณน้าไหลบ่า ลดการ สูญเสียดิน ควบคุมวัชพืช ควบคุมอุณหภูมิดิน เพ่ิมอินทรียวัตถุในดิน ท้าให้ดินสามารถเก็บความชืนไว้ในดินได้ ยาวนานขึน ซ่ึงการคลุมดินท่ีมีประสิทธิภาพควรพิจารณาชนิดของพืชที่ต้องการคลุมดิน ประเภทและชนิดของ วัสดุคลุมดิน วิธีการใส่และอัตราที่ใช้ และระยะเวลาคลุมดิน 1.1.14 คันซากพืช (Contour Trash Line) เป็นการน้าซากพืชที่เกิดจากการบุกเบิกพืนที่หรือ ที่เหลือหลังการเก็บเก่ียวแล้วน้ามาวางสุมให้สูง 50 เซนติเมตร เป็นคันตามแนวระดับเป็นระยะ ห่างกัน 20 - 40 เมตร หรือตามแนวคันดิน ควรดา้ เนินการในขณะที่บุกเบิกพืนที่ใหม่ และไม่มีทุนหรือเวลาเพียงพอในการ ท้าคันดินแบบอื่น ซึ่งในอนาคตสามารถเปลี่ยนคันซากพืชเป็นแนวคันดินได้ ช่วยลดความเร็วของน้าไหลบ่า และดักตะกอนดิน ท้าให้ใช้เศษเหลือของพืชให้เกิดประโยชน์ในการปรับปรุงดิน 1.1.15 ไม้บังลม (Windbreak) เป็นแถบต้นไม้หรือหญ้าสูงที่ปลูกเป็นระยะๆ โดยมีระยะห่าง ของแถบพืชท่ีเหมาะสม เพ่ือป้องกันการสูญเสียดินและน้าและผลเสียหายที่จะเกิดแก่พืชเนื่องจากแรงลม เช่น การฉีกหักของกิ่งไม้และการร่วงหล่น ลดอัตราการระเหยนา้ จากผิวดิน ผิวน้าของอ่างเก็บนา้ และจากการคาย ระเหยของพืช ลดความเสียหายอันเนื่องมาจากละอองเกลือในพืนที่ใกล้ทะเล พืชที่ใช้เป็นไม้บังลมควรมีระบบ รากลึก กิ่งเหนียวแน่น เช่น กระถินณรงค์ สน ไม้ไผ่ มะขาม เป็นต้น 1.2 มาตรการวิธีกล (Mechanical Measures) มีดังนี 1.2.1 การยกร่องปิดหัวท้าย (tied ridging) เป็นการยกร่องปิดหัวท้ายเป็นการปรับพืนที่โดย การยกร่องปลูกพืชเป็นสองทิศทาง คือกลุ่มหนึ่งยกร่องไปตามความลาดเท อีกกลุ่มหนึ่งยกร่องในแนวตังฉาก กับความลาดเท ท้าให้เกิดเป็นรูปส่ีเหลี่ยมผืนผ้าเล็กๆ เต็มพืนที่ ช่วยเพิ่มการกักเก็บน้า ลดปริมาณน้าไหลบ่า และลดการชะล้างพังทลายของดิน ควรใช้เสริมกับการปลูกพืชตามแนวระดับในพืนที่ที่มีความลาดเท ดินเป็น ดินทราย ปริมาณน้าฝนไม่เกิน 800 มิลลิเมตร จะช่วยเพ่ิมปริมาณความชืนให้แก่ดิน แต่ถ้าสันร่องสูงมากและ มีปริมาณฝนตกมากก็ท้าให้เกิดปัญหานา้ แช่ขัง 1.2.2 การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) เป็นการยกร่องปลูกพืชตามแนวระดับ โดยใช้ร่องน้า เป็นตัวแปรสันดิน เหมาะกับพืนที่ที่มีความลาดเทไม่เกิน 12 เปอร์เซ็นต์ ค่อนข้างแห้งแล้ง มีปริมาณน้าฝน น้อย
29 1.2.3 การท้าร่องน้าตามแนวระดับ (contour furrowing) เป็นการท้าร่องน้าเดี่ยวๆ ขวาง ความลาดเทของพืนที่โดยจะลดระดับร่องน้าหรือไม่ลดระดับก็ได้ ความลึกของร่องน้าอยู่ระหว่าง 25 -40 เซนติเมตร หรือขึนกับเนือดิน ส่วนระยะห่างของร่องน้าขึนกับความลาดเทของพืนที่และปริมาณน้าไหลบ่า 1.2.4 คันดิน (Terrace) เป็นการสร้างคันดินขวางความลาดเทของพืนที่ โดยพืนที่จะถูกแบ่ง ออกเป็นช่วงๆ เพื่อเก็บกักน้าไหลบ่าในแต่ละช่วง หรือเบนน้าไหลบ่าออกไปจากพืนที่ แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ คันดินฐานกว้างและคันดินฐานแคบ ซึ่งมีทังแบบระดับและแบบลดระดับ ใช้กับพืนที่ที่มีความลาดเท 2- 12 เปอร์เซ็นต์ คันดินระดับ ความยาวไม่จ้ากัดและใช้ในบริเวณที่มีฝนตกน้อย คันดินลดระดับ ความยาวไม่ ควรเกิน 300-600 เมตร หากความยาวเกินกว่าที่ก้าหนดให้จัดท้าทางระบายน้าเป็นระยะเพื่อลดความยาว ของคันดินให้อยู่ภายในพิกัด 1.2.5 คันดินเบนน้า (Diversion Terrace) เป็นคันดินขนาดใหญ่ที่สร้างขึนขวางความลาดเทของ พืนท่ี โดยลดระดบั เพอื่ เบนนา้ ทีไ่ หลบ่าลงมาจากพืนทดี่ ้านบนไปยงั ทางระบายน้า 1.2.6 ขันบันไดดิน (Bench Terrace) เป็นการปรับพืนที่เป็นขันๆ ต่อเน่ืองกันคล้ายขันบันได ขันบันไดดินแบบระดับ (Level Type) เหมาะกับพืนท่ีที่มีฝนตกปานกลาง คันดินกว้าง 4 เมตร คันดินระดับ ใช้ กับดินท่ีซึมน้าเร็ว ส่วนคันดินลดระดับ ใช้กับดินที่ซึมน้าช้ากว่า โดยลดระดับ 0.1-0.6 เปอร์เซ็นต์ ขันบันไดดิน แบบเอียงเข้า (Backward or Inward Bench Terrace) ผิวหน้าฐานขันบันไดจะเอียงเข้าหาเชิงลาดเล็กน้อย เพื่อให้น้าไหลมารวมกันที่ผนังด้านในดินลึกปานกลาง (0.5-1.0 ม.) และมีอัตราการซาบซึมน้าปานกลางถึงต้่า เหมาะกับบริเวณท่ีฝนตกชุกมากกว่า650 มิลลิเมตรต่อปี หรือ 38.1 มิลลิเมตรต่อช่ัวโมง ขันบันไดดินแบบลาด เอยี งออก (Forward or Outward Bench Terrace) ผวิ หน้าฐานขันบันไดเอียงออกจากเชิงลาดเล็กน้อยเพ่ือให้ นา้ ส่วนเกินระบายออก ควรใช้กบั พนื ทลี่ าดชนั ปานกลาง ดนิ ลกึ ถงึ ลกึ มาก (1.0-1.5 ถึงมากกวา่ 1.5 เมตร) เหมาะ กับบริเวณทฝ่ี นตกน้อยกว่า 650 มลิ ลเิ มตรต่อปี หรือ 6.35-38.1 มิลลเิ มตรต่อชว่ั โมง 1.2.7 ครู ับน้ารอบเขา (Hillside Ditches) เป็นการสร้างคันคูรับน้ารอบเขาตามแนวระดับหรือลด ระดับเป็นรปู ส่เี หล่ียมหรอื รูปสามเหลี่ยม ระยะห่างคันคขู ึนกับสภาพภูมปิ ระเทศและส่ิงแวดล้อม โดยตัดพืนท่ีลาด เทออก แล้วน้าดินไปถมพืนท่ีตอนล่าง เพื่อท้าคูรับน้าจากพืนที่ลาดเทตอนบน คูรับน้ารอบเขาเหมาะกับพืนท่ีที่มี ความลาดเท น้อยกว่า 40 เปอร์เซ็นต์ แต่ถ้าใช้ร่วมกับขันบันไดดินแบบลาดเอียงออกหรือแถบหญ้าก็ใช้กับพืนท่ี ลาดเทมากกวา่ 40 เปอร์เซ็นต์ 1.2.8 คนั ชะลอความเร็วของน้า (Check Dam) เป็นสิ่งก่อสร้างท่ีสร้างขวางเป็นช่วงๆ ในร่องน้าท่ี มีการกัดเซาะ ใช้เศษไม้ เศษพืช หิน ดิน คอนกรีต หรือเป็นสิ่งก่อสร้างที่ปูด้วยหญ้า ใช้กับพืนที่ที่มีการชะล้าง พังทลายแบบร่องลกึ หรอื ในทางระบายน้า เพื่อช่วยลดปัญหาการกัดเซาะ ช่วยชะลอความเร็วของน้า ท้าให้เกิด การตกตะกอนทับถมในร่องน้าจนร่องน้าตืนเขิน ช่วยให้พืชในร่องน้าท่ีเพ่ิงงอกใหม่ไม่ถูกน้าพัดพาไปสามารถ เจรญิ เติบโตขนึ ปกคลมุ ร่องน้าได้เรว็ ขึน 1.2.9 บอ่ ดักตะกอน (Sediment Trap) บอ่ ดักตะกอนเปน็ บ่อขนาดเล็กท่ีสร้างขึนเพื่อดักตะกอนที่ ไหลมาตามทางระบายน้าก่อนลงสู่บ่อน้าประจ้าไร่นา ช่วยดักตะกอนท่ีไหลมาตามน้าไม่ให้ไหลลงไปทับถมบ่อน้า ประจ้าไร่นา ท้าให้อายุการใช้งานของบ่อน้ายาวนานขึน และช่วยรักษาคุณภาพน้า ควรสร้างเหนือพืนที่อ่างเก็บ นา้ ก่อนทน่ี า้ จะพัดพาตะกอนดินไหลลงสูอ่ า่ งเกบ็ น้า ซึ่งทา้ ใหอ้ ่างเก็บน้าตนื เขนิ อย่างรวดเรว็ 1.2.10 บอ่ นา้ ในไร่นา (Farm Pond) เป็นพนื ที่ทีส่ ร้างขนึ โดยการขุดหรือท้าคันดินล้อมรอบส้าหรับ เกบ็ กักน้าไวใ้ ชใ้ นพนื ท่เี กษตร หรือถมดินขวางกันทางเดินน้า ร่องน้า เพ่ือรับน้าจากคันดินเบนน้าลงมากักเก็บไว้ ใชใ้ นพืนท่ีการเกษตรในชว่ งฝนทงิ ช่วงหรือฤดแู ล้ง และยังใชเ้ พ่ือการอุปโภค บริโภคและเลียงสัตว์ ใช้ส้าหรับพืนที่ ล่มุ ทีม่ ีนา้ ขังโดยขุดดินตรงจุดต่้าสุดเพ่ือกักเก็บน้า ส้าหรับกรณีที่มีคลองหรือล้าธารอยู่ข้างเคียงพืนท่ีก็ใช้วิธีสูบน้า
30 หรอื ระบายน้ามากกั เก็บไว้ในบ่อน้าท่ีสร้างขึน ถ้าในบริเวณพืนท่ีมีน้าหรือตาน้าท่ีไหลมาจากน้าพุท่ีเป็นน้าสะอาด ก็สามารถขุดบ่อเกบ็ กกั นา้ ไวใ้ ชไ้ ด้ รวมทังพนื ท่ีทมี่ นี ้าไหลมากท็ า้ คนั กันปิดน้ากักเก็บไว้ 1.2.11 ถนนเช่ือมโยงในไร่นา (access roadway) เป็นถนนท่ีเชื่อมระหว่างคูรับน้าขอบเขาหรือ ทางเดนิ เท้าบนขนั บันไดดนิ กับถนนซอย หรือ ถนนสายหลัก ใช้เปน็ ทางสญั จรของเคร่อื งจกั รกลที่ใช้ปฏบิ ตั ิงาน 1.2.12 ทางล้าเลียงในไรน่ า (Farm Road) เป็นทางลา้ เลยี งท่ีสรา้ งโดยการท้าคันดินให้มีขนาดใหญ่ เพื่อใช้เป็นถนน เพื่อเพิ่มความสะดวกในการขนส่งผลิตผลจากพืนที่เกษตรสู่ตลาด ใช้เป็นถนนให้เคร่ืองจักรกล เขา้ ท้างานในพืนท่ีเพาะปลูก เหมาะกบั พืนทล่ี าดเท 2-12 เปอร์เซน็ ต์ นอกจากนี กรมพัฒนาที่ดินยังมีแบบโครงสร้างมาตรฐานระบบอนุรักษ์ดินและน้า ได้แก่ คันดิน 6 แบบ คันดนิ แบบที่ 1: คนั ดินเบนน้า (diversion terrace) คันดินแบบท่ี 2: คันดินเก็บกักน้า (absorption bank) คันดินแบบท่ี 3: คันดินฐานกว้าง (broad based terrace) คันดินแบบที่ 4: คันดินฐานแคบ (narrow based terrace) คันดนิ แบบท่ี 5: คันครู บั น้ารอบเขา (hillside ditch) และคันดนิ แบบที่ 6: คันคูรับน้ารอบเขา (hillside ditch ท่ีใช้กับความลาดเทมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ การปรับรูปแปลงนา 3 ลักษณะ ได้แก่ ปรับรูปแปลงนา ลักษณะท่ี 1 ที่เน้นปลูกข้าวแบบเดิมแต่ก้าหนดให้มีการปรับโครงสร้างให้มีคันดินเพ่ิมขึน ปรับรูปแปลงนา ลักษณะท่ี 2 เน้นปลูกข้าวร่วมกับไม้ผลชนิดอื่น โดยขุดดินมาท้าเป็นคู แล้วเอาดินนันขึนมาถมเป็นคันดิน และ ปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 3 เป็นการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดินจากนาข้าวเพ่ือปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น และ ยังมีโครงสร้างบ่อดักตะกอนดินและอาคารชะลอความเร็วของน้า บ่อน้าในไร่นา ทางล้าเลียงน้าในไร่นา ท่อ ระบายน้าลอดทางล้าเลยี ง เป็นตน้
31 2. สมการการสูญเสียดินสากล A=RKLSCP โดยที่ A คอื ปริมาณดนิ ท่สี ูญเสยี ทค่ี ้านวณได้ต่อหน่วยเนือท่ี (ตัน/เฮกแตร์/ปี) R คือ Rainfall Factor เปน็ ค่าดัชนีของการชะล้างพงั ทลายดินของฝนในปีทม่ี ีฝนตกระดบั ปกติ (Normal Year’s Rain) K คือ คา่ ความคงทนตอ่ การชะลา้ งพังทลายของดิน เป็นอัตราการสญู เสียดินต่อหนงึ่ หนว่ ยของดัชนี การชะล้างพังทลาย (Erosion Index) ส้าหรับดินชนดิ ใดชนดิ หนึง่ ในลักษณะของหน้าดนิ ท่ีท้าเป็นรอ่ งไถพรวน ขึน-ลงตดิ ตอ่ กันยาว 72.6 ฟุต (22.13 เมตร) บนพืนทีล่ าดชัน 9 เปอร์เซ็นต์ L คอื คา่ อทิ ธพิ ลของความยาวของความลาดชันท่มี ีต่อการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ (Slope Length Factor) เป็นค่าที่ได้จากอตั ราสว่ นการสญู เสยี ดิน จากความยาวของความลาดชันช่วงใดช่วงหนง่ึ กับ ความยาวมาตรฐาน คือ 72.6 ฟตุ หรือ 22.13 เมตร ซง่ึ อยบู่ นแนวความลาดเทอันเดยี วกนั S คือ คา่ อทิ ธิพลของความลาดชนั (Slope-Gradient Factor) เปน็ อตั ราส่วนของการสูญเสยี ดิน จากความลาดชนั ระดับใดระดับหน่ึงต่อความลาดชนั มาตรฐานท่ี 9 เปอรเ์ ซน็ ต์ C คอื คา่ อิทธิพลของพืชหรือส่งิ ปกคลมุ (Cropping Management Factor) เป็นอัตราส่วนของ การสญู เสยี ดนิ ระหว่างพืนท่ีที่มพี ืชชนดิ ใดชนดิ หนงึ่ ปกคลุมอยู่กบั การสูญเสียดินจากบรเิ วณไถพรวนทปี่ ราศจาก พชื คลุมดิน ซ่ึงใชใ้ นการหาค่าความคงทนของดนิ P คอื ค่าอทิ ธพิ ลของมาตรการทใ่ี ช้ในการควบคุมการชะล้างพงั ทลายของดิน (Erosion-Control Factor) เปน็ คา่ อัตราสว่ นของการสูญเสียดินจากพืนท่ีทีม่ วี ิธีการอนรุ ักษด์ ินและน้าแบบต่างๆ เชน่ การไถพรวน ตามแนวระดบั (Contouring) การปลกู พืชเปน็ แถบ (Strip Cropping) การท้าขันบนั ได (Terracing) กบั บรเิ วณ ท่ีปลูกพืชขึนลงตามแนวขนานความลาดชนั 3. แปลงทดลองการสญู เสยี ดนิ และน้า (Runoff and Soil Erosion Plots) ที่มา: http://app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/194_48/chapter1.pdf
4. แบบฟอรม์ ทใ่ี ชใ้ นการดา้ เนนิ งานวิจยั ดา้ นอนุรักษด์ นิ และนา้ 8 แบบฟอรม์ ดงั นี 32 หมายเหตุ แบบบนั ทกึ ข้อมูลเพอื่ การจดั การอนรุ ักษด์ นิ และน้าเบืองต้น (โดย สุนยี ร์ ัตน์ โลหะโชติ ส้านักงานพฒั นาที่ดนิ เขต 7) ความชืนในดนิ (Soil Moisture Content) ปรมิ าณนา้ รอ้ ยละของนา้ ในดิน ในดิน ตัวอย่างที่ น้าหนกั นา้ หนัก นา้ หนกั กระบอก /ชันดนิ กระบอก กระบอกและ และดนิ อบแห้ง (ข-ก-ค) =ง (ง/ค-ก)x100 (กรมั ) =% (ก) ดนิ สนาม (ข) (ค) =กรัม =กรมั =กรัม ความหนาแนน่ รวมของดิน (Bulk Density) ตัวอย่างที่ นา้ หนัก น้าหนัก นา้ หนกั น้าหนัก ปริมาตรของ ความหนาแนน่ นา้ หนักดนิ /ชนั ดนิ กระบอก (ก) กระบอก กระบอก ดนิ แห้ง กระบอก (จ) รวมของดิน 1 ไร่ ท่ีลกึ D ซม. =กรัม และ และ (ง) = ค-ก (พท.หน้าตัด (Bulk density) = ฉx16,000xD ดนิ สนาม(ข) ดนิ อบแห้ง(ค) (กรัม) xความสงู ) (ฉ) = ง/จ (กก./ไร่) =กรมั =กรัม =ลบ.ซม (กรัม/ลบ.ซม) การค้านวณสารหรือธาตุอาหารท่ีสูญหายไปจากดินจากการชะล้างหน้าดิน (Soil Nutrients Loss and Recovery Amount) ตวั อยา่ ง ปรมิ าณดิน ระดับธาตุอาหารในดนิ ระดบั ธาตอุ าหารในดิน ดนิ ทีถ่ ูก ท่ีมีในปจั จบุ นั (ข) 1/ (ตอ่ ดิน 1 กก.) ทต่ี อ้ งใสก่ ลับสดู่ นิ (ค) กก./ไร่ ท่ี ชะลา้ ง ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม (กก./ไร)่ (ข1) (ข2) (ข3) ปุ๋ย Urea ปยุ๋ Super Phosphate ปุ๋ย KCl (ก) =0.1087 x (ข1) =5.729 x (ปรมิ าณOM; กก./ไร)่ (ข2) x (ก) =2.007 x (ข3) x (ก) หมายเหต: 1/ 2. ระดบั ธาตอุ าหารฟอสฟอรสั (P) 3. ระดับธาตุอาหารโพแทสเซยี ม 1. ระดับธาตอุ าหารไนโตรเจน (N) ต่้า = <10 (ppm = กรมั /ดนิ 1กก.) ตา้่ = <60 (ppm = กรมั /ดนิ 1 กก.) ปานกลาง= 10-15 ต้่า = <0.2 % หรอื = < 4.0 % OM ใชค้ ่าเฉล่ีย 12.5 (ppm=กรัม/ดิน 1 กก.) ปานกลาง= 60-90(ppm) ปานกลาง= 0.2-0.5 สงู = 15- 45 ใชค้ า่ เฉล่ยี 75 (ppm=กรมั /ดนิ 1 กก.) ใช้คา่ เฉล่ีย 0.35 % หรอื 7.0 % OM ใชค้ า่ เฉลย่ี 30 (ppm= กรัม/ดนิ 1 กก.) สงู = >0.5 หรือ >10% OM สงู = 90-120 (ppm) ใชค้ า่ เฉลยี่ 105 (ppm= กรัม/ดนิ 1 กก.)
33 การค้านวณปริมาณการชะล้างพังทลายดิน (Actual Soil Loss Amount) กก./ไร่ โดยวิธีการ ใช้หลกั วดั (Stacking method) แปลงท่ี ความลึก ขนาดของ ขนาดของพืนท่ี ความหนาแนน่ ปรมิ าณการ ระดับการ ของหน้าดิน พืนที่ (ไร)่ ดนิ รวม ชะลา้ งพังทลายดิน ชะลา้ ง ท่สี ญู หายไป (ตารางเมตร) (ข)/1,600= (ค) (Bulk Density) (Actual Soil Loss พงั ทลาย เฉลี่ย ซม./ปี (ข) (กรัม/ลบซม.) Amount) กก./ไร่ (จ) ของดนิ 1/ (ก) (ง) (ก)x(ค1)0x0(ง)x10=(จ) หมายเหตุ: หรือ = BD x 100 x พืนท่ี (ตร.ม.) x ความลกึ ของชนั ดินทส่ี ญู หายไป (ม.) หน่วยเป็น กิโลกรมั /ไร่ 1,600 ตร.ม. หรอื = BD x100 x พนื ท่ี (ตร.ม.) x ความลกึ ของชันดนิ ท่ีสญู หายไป (ม.) x 6.26 (ไร่) หน่วยเป็น ตัน/เฮคแตร์ 1,000 กก. x 1,600 ตร.ม. หรอื = BD x พนื ที่ (ตร.ม.) x ความลกึ ของชนั ดินทส่ี ญู หายไป (ม.) x 6.26 (ไร)่ หนว่ ยเปน็ ตัน/เฮคแตร์ 1,600 ทังนี นักวิจัยสามารถวัดอัตราการกร่อนดินและธาตุอาหารจากการพังทลายของดิน โดยวิธีการใช้ หมุดปัก (Erosion stake) โดยท้าการวัดระดับความเปล่ียนแปลงของดินจากจุดอ้างอิง โดยการวัดความสูงของ หมุดที่โผล่พ้นจากดินขึนมา ทุกๆ 3 เดือน และหลังจากอ่านทุกครังจะกดหมุดให้อยู่ในระดับศูนย์ทุกครังแล้วน้า ความสงู ของหมุดทุกตัวที่อา่ นได้มาหาค่าเฉลยี่ ใน 1 ปี จากนนั จึงใชส้ ูตรคา้ นวณ (หน่วยเป็นน้าหนกั ต่อพนื ที)่ ดงั นี น้าหนกั ดินทสี่ ูญเสียไป=ความหนาแน่นรวมของดนิ ×ขนาดของพนื ท่ี×ความหนาของดนิ ทีส่ ูญเสยี ไป โดย อาจารยจ์ อม มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้ 5. ระดบั การสูญเสียดนิ และปรมิ าณการสูญเสยี ดิน ระดับการสูญเสียดนิ ปริมาณการสญู เสยี ดนิ (กก./ไร-่ ป)ี ปริมาณการสูญเสียดิน (ตนั /ไร่-ป)ี นอ้ ยมาก < 960 <0.96 น้อย ปานกลาง 970 – 4,960 0.97-4.96 รนุ แรง 4,970-20,000 4.97-20.0 รุนแรงมาก 20,001-100,000 20.01-100.0 >100.01 ที่มา : Navanugraha, 1993 >100,001
34 แบบเสนอแผนบูรณาการ ประกอบการเสนอของบประมาณแผนบรู ณาการวิจัยและนวัตกรรม ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ------------------------------------ ชอื่ แผนบูรณาการ (ภาษาไทย)………………………………………………....................................................................... (ภาษาอังกฤษ).………………………………………………….................................................................. โครงการวจิ ยั ภายใต้แผนบรู ณาการ โครงการวจิ ยั ท่ี 1 .................................................................................................................................... โครงการวิจยั ที่ 2 .................................................................................................................................... ส่วน ก : ลกั ษณะแผนบูรณาการ แผนบรู ณาการใหม่ แผนบูรณาการต่อเนื่องปนี ีเป็นปที ี่0(รายงานผลการด้าเนินงานในข้อที่ 11) ระยะเวลา.......ปี………เดอื น เรมิ่ ตน้ ปงี บประมาณ พ.ศ. ……… - ปีงบประมาณ พ.ศ. ……….. สว่ นข:องค์ประกอบในการจัดท้าแผนบูรณาการ 1. หนว่ ยงานเจา้ ภาพบรู ณาการ……………………………………………………………………………………………………………. ผ้อู ้านวยการแผนบูรณาการ คา้ น้าหนา้ ชอื่ -สกลุ ทอี่ ยู่ เบอรโ์ ทร อีเมล 2.หน่วยงานเอกชนหรือชุมชนท่ีร่วมลงทุนหรือดา้ เนินการ การรว่ มลงทนุ การรว่ มลงทนุ ล้าดบั ท่ี บริษัท/ชุมชน แนวทางร่วมด้าเนินการ ในรปู แบบตัวเงนิ ในรปู แบบอ่ืน (in-kind) 1 (in-cash) 2 3.ค้าส้าคัญ (keyword) ค้าสา้ คญั (TH) ............................................................................................................................. ............. คา้ สา้ คัญ (EN) ………………………………………………………………………………………………................................ 4. เปา้ หมาย .................................................................................................................................. ............................................... ................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................... 5. ความส้าคัญและท่มี าของปัญหา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
35 6. วัตถุประสงค์หลกั ของแผนบรู ณาการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. ระยะเวลาการวิจยั ระยะเวลาแผนบูรณาการ …………..ป…ี …………เดือน วนั ท่ีเร่มิ ตน้ ……………เดือน........................ป.ี .................วนั ที่สินสุด……………เดือน................ปี.................... ความสอดคล้องของโครงการภายใตแ้ ผนบูรณาการ ................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ ......... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. การบรหิ ารจัดการแผนบูรณาการ ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 8. ผลผลิตผลลัพธ์ และผลกระทบจากงานวจิ ยั (Output/Outcome/Impact) ผลงานท่ีคาด รายละเอยี ดของ จา้ นวนนบั ผลลพั ธ์ที่ ผลกระทบที่ วา่ จะไดร้ ับ ผลผลติ คาดวา่ คาดวา่ จะ ปี ปี ปี ปี ปี รวม หน่วยนบั จะได้รับ 2562 2563 2564 2565 2566 ได้รบั 1. ต้นแบบ ต้นแบบ ผลติ ภณั ฑ์ – เรือ่ ง ระดับ อุตสาหกรรม 13. องค์ ความรู้ใหม่ 9. แนวทางการนา้ ผลงานไปใชป้ ระโยชน์ …………………………………………………………....……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 10. หน่วยงานท่ีนา้ ผลการวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 11. สรปุ ผลการดา้ เนินงานทีผ่ า่ นมา (กรณีเปน็ แผนบูรณาการต่อเนือ่ ง) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
36 โครงการวจิ ัย/ชดุ โครงการวจิ ยั แบบฟอร์มข้อเสนอฉบบั สมบรู ณ์ (Full Proposal) ส้าหรบั โครงการ ประกอบการเสนอของบประมาณบรู ณาการวิจัยและนวตั กรรม ประจา้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ส้าหรับเปา้ หมายท่ี 1 2 และ 3) ------------------------------------ ชือ่ โครงการวจิ ยั /ชุดโครงการ (ภาษาไทย) .......................................................................................................... (ภาษาอังกฤษ) .......................................................................................................... ชื่อแผนบูรณาการ (ภาษาไทย) ………………………………………………………............................................................. (ภาษาอังกฤษ) ……………………………………………………….......................................................... ส่วน ก : ลกั ษณะโครงการวิจยั /ชดุ โครงการวิจยั ใหม่ ต่อเน่อื ง ระยะเวลา ....... ปี ………เดอื น ปีนีเป็นปีที่ 0 (ระยะเวลาด้าเนินการวิจัยไม่เกิน 5 ปี) ประเภทโครงการ โครงการวจิ ยั ชุดโครงการวิจยั ประเภทงานวจิ ยั พนื ฐาน (basic Research) พัฒนาและประยุกต์ (Development) วิจยั เชิงปฏบิ ตั ิการ (Operational Research) วจิ ัยทางดา้ นคลนิ ิก (Clinical Trial) วิจัยต่อยอด (Translational research) การขยายผลงานวิจัย (Implementation) ประเภทการใช้งบประมาณ จัดจา้ งหนว่ ยงานอืน่ วจิ ยั หนว่ ยงานดา้ เนินการวิจัยเอง สว่ น ข : องคป์ ระกอบในการจดั ท้า 1. ผรู้ ับผดิ ชอบ คา้ น้าหน้า ชอ่ื -สกลุ ตา้ แหนง่ ในโครงการ หนว่ ยงาน สดั สว่ นการ มีส่วนรว่ ม หัวหน้าโครงการ ผู้ร่วมวจิ ัย ผูร้ ว่ มวจิ ัย
37 โครงการวิจยั /ชุดโครงการวจิ ยั 2. สาขาที่สอดคลอ้ งกบั งานวิจัย 2.1 สาขาการวจิ ยั หลัก OECD 1. วทิ ยาศาสตร์ธรรมชาติ สาขาการวิจัยยอ่ ย OECD 1.1 วทิ ยาศาสตร์ธรรมชาติ : วทิ ยาศาสตร์ธรรมชาติ ด้านการวจิ ยั เกษตร 2.2 สาขา ISCED 00 Generic programmes and qualifications 000 Generic programmes and qualifications not further defined 0000 Generic programmes and qualifications not further defined 3. ค้าสา้ คัญ (keyword) ค้าส้าคัญ (TH) ………………………….…………………………………………………………..........................……………… คา้ ส้าคญั (EN) ……………….……………………………………………………………….…………….…………………………… 4. เป้าหมายการวจิ ัย ................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... 5. ความส้าคญั และท่ีมาของปญั หาท่ีทา้ การวจิ ัย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. วัตถปุ ระสงค์ของโครงการวิจัย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. ขอบเขตของการวิจัย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. ทฤษฎี สมมตุ ฐิ าน และกรอบแนวคดิ ของโครงการวิจัย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 9. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (information) ทเี่ กีย่ วขอ้ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
38 โครงการวจิ ยั /ชดุ โครงการวิจยั 10. ระดบั ความพร้อมทมี่ ีอยู่ในปจั จุบัน 10.1 ระดับความพร้อมทางเทคโนโลยี (Technology Readiness Level: TRL) (ส้าหรับเปา้ หมายท่ี 1, 2) TRL ณ ปัจจุบัน ไมร่ ะบุ อธบิ าย .............................................................................................................................................. TRL เมือ่ งานวจิ ัยเสรจ็ สนิ ไม่ระบุ อธบิ าย ................................................................................................................................................ 10.2 ระดบั ความพรอ้ มทางสงั คม (Societal Readiness Level: SRL) (สา้ หรับเปา้ หมายท่ี 2) SRL ณ ปัจจุบนั ไม่ระบุ อธิบาย ................................................................................................................................................ SRL เม่ืองานวจิ ยั เสรจ็ สนิ ไม่ระบุ อธบิ าย ................................................................................................................................................ 11. ศกั ยภาพองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีจะพัฒนา 11.1) ศกั ยภาพทางการตลาดของเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทีจ่ ะพัฒนา ส้าหรบั เปา้ หมายที่ 1 (หากระบุ เปน็ ตัวเลขได้ โปรดระบุ) 11.1.1) ขนาดและแนวโน้มของตลาด/โอกาสทางการตลาด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 11.1.2) ลกั ษณะเฉพาะ/ความใหม่ของผลงานวิจัยทแี่ ตกตา่ งจากท่มี ีในปจั จุบัน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 11.2) ผลกระทบของโครงการที่มีต่อสังคม ในรูปแบบของการกระจายรายได้ (Income distribution) และการแกไ้ ขปัญหาของชุมชน สา้ หรับเป้าหมายท่ี 2 11.2.1) ความต้องการของชุมชน/ปัญหาของชุมชน ............................................................................................................................. .................................................... .............................................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... .................................................................................. 11.2.2) ผลกระทบท่ีเกิดจากงานวิจัยในรูปแบบของการลดผลกระทบทางลบ หรือขยายผลกระทบ ทางบวก (หากระบเุ ป็นตวั เลขได้ โปรดระบ)ุ ........................................................................................................................................................................... ...... ............................................................................................................................ ..................................................... ............................................................................................................................. ....................................................
39 โครงการวจิ ัย/ชดุ โครงการวิจยั 12. วิธีการดา้ เนินการวจิ ยั ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 13. สถานที่ทา้ การวจิ ยั ในประเทศ/ ชอื่ ประเทศ/ พืนที่ท่ีทา้ วจิ ัย ชือ่ สถานท่ี ต่างประเทศ จังหวัด ในประเทศ กรุงเทพมหานคร หอ้ งปฏิบตั ิการ ในประเทศ กระบี่ ภาคสนาม ตา่ งประเทศ สา้ นกั งาน 14. ระยะเวลาการวิจัย ระยะเวลาโครงการ 1 ปี 0 เดอื น วนั ท่ีเรม่ิ ตน้ 1 ตลุ าคม 2562 วนั ท่สี นิ สดุ 30 กันยายน 2563 แผนการด้าเนนิ งานวิจยั (ปที เ่ี ริ่มต้น – สินสดุ ) ปี กจิ กรรม ร้อยละของ รวม (งบประมาณ) รวม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. กจิ กรรมใน 2563 ปีงบประมาณ 2563 2563 xxx 0 2564 100 2564 2564 100 15. งบประมาณของโครงการวิจยั 15.1 แสดงรายละเอียดประมาณการงบประมาณตลอดโครงการ (กรณีของบประมาณเป็นโครงการ ตอ่ เนอ่ื ง ระยะเวลาดาเนนิ การวิจยั มากกว่า 1 ปี ให้แสดงงบประมาณตลอดแผนการดาเนนิ งาน) ปีทีด่ า้ เนนิ การ ปีงบประมาณ งบประมาณท่ีเสนอขอ ปที ่ี 1 2563 ปที ่ี 2 2564 รวม
15.2 แสดงรายละเอียดประมาณการงบประมาณปีทเ่ี สนอขอ 40 ประเภทงบประมาณ รายละเอยี ด โครงการวจิ ัย/ชดุ โครงการวจิ ยั งบประมาณ (บาท) งบบุคลากร งบด้าเนินการ : คา่ ตอบแทน งบดา้ เนนิ การ : ค่าใชส้ อย งบลงทนุ : ครุภัณฑ์ รวม 15.3 เหตผุ ลความจ้าเปน็ ในการจดั ซือครภุ ัณฑ์ (พร้อมแนบรายละเอยี ดครภุ ณั ฑ์ที่จะจดั ซือ) ครภุ ัณฑท์ ่ขี อสนับสนนุ ลกั ษณะการ การใช้ประโยชน์ ครภุ ณั ฑ์ สถานภาพการ ใชง้ านและ ของครุภัณฑน์ ี ชอ่ื ครุภณั ฑ์ สถานภาพ ใกลเ้ คยี งท่ีใช้ ณ ใช้งาน ณ ความ เม่อื โครงการ ปจั จุบัน (ถ้ามี) ปจั จบุ นั จ้าเป็น สนิ สุด ไมม่ ีครภุ ณั ฑน์ ี ไม่มีครภุ ณั ฑน์ ี 16. ผลผลติ ผลลพั ธ์ และผลกระทบจากงานวิจยั (Output/Outcome/Impact) ผลงานทค่ี าด รายละเอียดของ จา้ นวนนับ หนว่ ยนบั ผลลัพธ์ ผลกระทบ วา่ จะไดร้ บั ผลผลิต ที่คาดวา่ ที่คาดวา่ จะ ปี ปี ปี ปี ปี รวม จะไดร้ บั 2562 2563 2564 2565 2566 ไดร้ บั 1. ต้นแบบ ต้นแบบ ผลติ ภัณฑ์ – เรอ่ื ง ระดับ อุตสาหกรรม 13. องค์ ความรู้ใหม่ 17. สถานที่ใช้ประโยชน์ ช่อื สถานท่ี ในประเทศ/ ชอ่ื ประเทศ/ ตา่ งประเทศ จงั หวดั ในประเทศ กรุงเทพมหานคร ในประเทศ กระบ่ี ตา่ งประเทศ
41 โครงการวิจัย/ชุดโครงการวจิ ยั 18. แผนการถา่ ยทอดเทคโนโลยีหรือผลการวจิ ยั สกู่ ลุ่มเป้าหมาย (ถ้ามี) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 19. การตรวจสอบทรัพยส์ ินทางปัญญาหรอื สิทธิบัตรทีเ่ ก่ียวข้อง ไมม่ ีการตรวจสอบทรพั ยส์ ินทางปัญญา และ/หรือ สิทธบิ ตั รท่ีเกยี่ วข้อง ตรวจสอบทรัพย์สินทางปัญญาแล้ว ไม่มีทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา และ/หรือ สทิ ธบิ ัตรที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบทรัพย์สินทางปญั ญาแลว้ มที รัพย์สินทางปญั ญา และ/หรอื สิทธิบัตรที่เกี่ยวข้อง รายละเอยี ดทรัพย์สินทางปัญญาทเ่ี กยี่ วข้อง หมายเลขทรพั ย์สนิ ประเภททรัพยส์ ิน ช่ือทรัพย์สินทางปญั ญา ชอื่ ผ้ปู ระดษิ ฐ์ ช่ือผูค้ รอบครอง สทิ ธิ์ ทางปญั ญา ทางปัญญา 20. มาตรฐานการวิจยั (ถ้ามี) มกี ารใช้สตั ว์ทดลอง มีการวิจยั ในมนุษย์ มีการวจิ ัยทเี่ กยี่ วข้องกบั งานด้านเทคโนโลยชี วี ภาพสมัยใหม่ มีการใช้ห้องปฎบิ ตั ิการทีเ่ กี่ยวกับสารเคมี 21. หนว่ ยงานร่วมลงทนุ ร่วมวจิ ัย รับจา้ งวิจัย หรอื Matching Fund ประเภท ชอ่ื หนว่ ยงาน/บริษทั แนวทางร่วมด้าเนนิ การ การรว่ มลงทุน จ้านวนเงนิ (In cash (บาท)) ภาคการศึกษา ไม่ระบุ (มหาวิทยาลยั / ไมร่ ะบุ สถาบนั วจิ ัย) ภาคอุตสาหกรรม (รัฐวิสาหกิจ/ บรษิ ทั เอกชน) *กรณมี กี ารลงทุนรว่ มกับภาคเอกชน ใหจ้ ดั ทา้ หนงั สือแสดงเจตนาการรว่ มทนุ วิจัยพฒั นาประกอบการเสนอขอ 22. ลงลายมอื ช่ือ หัวหนา้ โครงการวจิ ัย/ชุดโครงการวจิ ยั พร้อมวัน เดือน ปี ลงชื่อ................................................. () หวั หน้าโครงการวจิ ัย/ชดุ โครงการวจิ ัย วนั ที่.......... เดอื น ....................... พ.ศ. ..........
42 แบบ ต-1 ช/ด สา้ นักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ แบบรายงานความกา้ วหนา้ แผนงานวิจัย/โครงการวจิ ัย 1. รายละเอยี ดเก่ียวกับแผนงานวจิ ยั /โครงการวจิ ยั ช่อื เรอ่ื ง (ภาษาไทย)........................................................................................................................................ (ภาษาองั กฤษ)................................................................................................................................ ชอื่ ผู้วิจัย (นาย นางสาว นาง ยศ) ...................................................................................................................... หน่วยงานที่สงั กัด .............................................................................................................................................. หมายเลขโทรศัพท์ ............................ โทรสาร .............................. e-mail .................................................... ไดร้ บั อนุมตั งิ บประมาณ ประจ้าปงี บประมาณ พ.ศ. ........................................................................................ งบประมาณท่ีไดร้ บั ....................................................... บาท ระยะเวลาท้าการวิจยั .................................. ปี เร่ิมทา้ การวจิ ัยเมื่อ (เดือน ป)ี .............................................. ถึง (เดือน ป)ี ................................................... 2. รายละเอียดเกี่ยวกับผลงานความก้าวหน้าของการวิจยั 2.1 วัตถุประสงค์ของแผนงานวิจัย/โครงการวจิ ัย (โดยสรุป) ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................... .................................... 2.2 แสดงตารางเปรียบเทียบผลการด้าเนินงานตามแผนการด้าเนินงานวิจัยท่ีได้เสนอไว้กับงานวิจัยท่ีได้ ดา้ เนินการจริง ในรูปของแผนการดา้ เนินงานตลอดแผนงานวิจัย/โครงการวิจัย ว่ามีกิจกรรม/ขันตอนปฏิบัติ ตามลา้ ดบั อยา่ งไร ระยะเวลา แผนทวี่ างไว้ งานทีด่ ้าเนินการ งบประมาณ การใชจ้ ่ายเงิน ที่ได้รบั (บาท) (บาท) ไตรมาสที่ 1 (ต.ค.-ธ.ค. 59) ไตรมาสที่ 2 (ม.ค.-ม.ี ค. 60) ไตรมาสที่ 3 (เม.ย.-ม.ิ ย. 60) ไตรมาสท่ี 4 (ก.ค.-ก.ย. 60) 2.3 แสดงรายละเอียดของผลการด้าเนินงาน พร้อมสรุปและวิเคราะห์ผลที่ได้ด้าเนินการไปแล้ว [ทังนี ให้แนบ บทความ ผลงานความก้าวหน้าทางวิชาการของแผนงานวิจัย/โครงการวิจัย ระหว่างท่ีท้าการวิจัยท่ีเคยพิมพ์ ในวารสารทางวิชาการแล้วหรือบทความทจี่ ะน้าไปเผยแพร่ทางสอื่ มวลชนได้ (ถ้าม)ี ] ............................................................................................................................. ...................................... .............................................................................................................................................. ...................... ............................................................................................................ ....................................................
43 แบบ ต-1 ช/ด 2.4 ระบุรายละเอียดท่ีไดแ้ กไ้ ขปรับปรุงตามขอ้ เสนอแนะของผ้ปู ระเมนิ (ถ้าม)ี ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................. ....................................... ................................................................................................................................................................ 2.5 งบประมาณท่ีได้ใช้จ่ายไปแลว้ นับตงั แต่เริม่ ท้าการวจิ ยั เป็นเงินทงั สนิ ).............................................บาท 2.6 งานตามแผนงานวิจยั /โครงการวจิ ยั ท่จี ะทา้ ต่อไป ............................................................................................................................. ..................................... .................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................................... .............................................................................................................................. .................................... 2.7 ค้าชแี จงเก่ยี วกับปัญหา/อุปสรรค และวธิ ีการแก้ไข (ถา้ มี) ............................................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................................... (ลงชือ่ ) ................................................................. (..............................................................) ผูอ้ า้ นวยการแผนงานวจิ ยั /หัวหน้าโครงการวิจยั วันที่ ......... เดอื น ........................ พ.ศ. …........ ผลการประเมินรายงานความกา้ วหนา้ ของแผนงานวจิ ัย/โครงการวจิ ัย สรปุ ความเหน็ ของการประเมิน สนับสนุนใหด้ ้าเนินการต่อไป ไม่สนบั สนุนให้ดา้ เนินการตอ่ ไป ระบุเหตุผล .................................................................................................................................... .............................. ............................................................................................................................. ...................................... (ลายเซน็ ) (............................................................) หัวหนา้ สว่ นราชการระดบั กรมหรือเทยี บเท่า/กระทรวง วันท.่ี ............เดือน .......................... พ.ศ. ................. หมายเหตุ :แบบฟอร์มนีใช้ส้าหรับข้อเสนอการวิจยั ทังแผนงานวิจยั และโครงการวิจยั
44 แบบการบันทกึ การดา้ เนินงานโครงการวจิ ัย ไตรมาส.............เดือน.................................พ.ศ................. 1. ช่อื โครงการ : ....................................................................................................................................................................... รหสั : ....................................................................................................................................................................... ระยะเวลาด้าเนนิ งาน : .........................ปี เร่มิ ปี .....................................สินสุดปี............................................. 2. ผู้รับผิดชอบโครงการวจิ ัย/นกั วิจัย หน่วยงาน : .......................................................................................................................................................................... คณะผู้ท้าการวิจยั .....................................................ทีป่ รึกษาโครงการวิจัย (1) ……………………………......…… หวั หน้าโครงการวจิ ยั ตา้ แหน่ง..................................สงั กัด....................................... (2) ……………………………...……... ผูร้ ว่ มวจิ ัย ตา้ แหนง่ ..................................สงั กดั ....................................... (3) ……………………………......…… ผรู้ ่วมวิจยั ต้าแหนง่ ..................................สงั กดั ....................................... (4) …………………...…………...…… ผูร้ ว่ มวิจัย ต้าแหนง่ ..................................สงั กดั ....................................... 3. สถานท่ดี ้าเนินงาน หมู่ท.่ี ..............บา้ น.....................ตา้ บล.......................อา้ เภอ........................จงั หวดั ......................ลุ่มนา้ ย่อย............... จดุ พิกดั : .............................................................................................................................................................................. ชุดดิน ..................................................................... กลุ่มชดุ ดิน..................................................................................... 4. ต้ารบั การวิจัย 5. แบบงานวจิ ัย/วิธกี ารทางสถติ ิทใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์ 6. แผนผงั แปลงวิจัย 7. ข้อมูลประจ้าโครงการวิจัย - ข้อมูลเร่ิมตน้ ของดนิ (bench mark) และข้อมูลรายละเอียดพนื ฐานที่ส้าคัญของพนื ท่ี (site characteri- zation) - ข้อมูลภูมอิ ากาศ สถติ จิ ากสถานีตรวจวดั ทใ่ี กล้ทีส่ ุด ขอ้ มลู ปัจจุบนั (ปีท่ที า้ การวิจัย) 8. แผนการด้าเนนิ การ/กิจกรรม/การใชง้ บประมาณ 9. การเกบ็ ตัวอยา่ ง 10. การรายงานผลการด้าเนินงานด้วยภาพดจิ ิตอล 11. ผลการดา้ เนนิ งานในแต่ละกิจกรรมตามแผนการการดา้ เนนิ งาน สัมพันธ์กบั แผนในขอ้ 8 กจิ กรรม ผลงานสะสม ผลงานของเดือน รายละเอียดของกิจกรรม ท่ีไดด้ ้าเนนิ งาน 1............................................................ (%) (%) 2........................................................... 12. บนั ทกึ เหตุการณ/์ สาเหตุทม่ี ผี ลกระทบทังดา้ นบวกและลบตอ่ การดา้ เนนิ งานวิจัย 13. ปญั หา อปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ (ลงชอ่ื ) ............................................................................... (.............................................................................) หัวหนา้ โครงการ วันที่............เดอื น.............................พ.ศ.…................
45 (แบบฟอรม์ วจ.3) รายงานผลการวจิ ัยฉบับสมบรู ณ์ ชอื่ แผนงานวิจยั /โครงการวิจัย (ภาษาไทย).............................................................. (ภาษาองั กฤษ).......................................................... โดย (ช่อื ผ้ดู า้ เนนิ การวิจัย).................................................... (ช่อื ผู้ร่วมด้าเนินการวิจยั )............................................. ทะเบียนวิจัยเลขที.่ ..................................................................... ระบหุ น่วยงาน/กลุ่ม/กอง/ส้านัก................................................. กรมพัฒนาทีด่ นิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เดือน..................... พ.ศ....................
46 แบบ วจ.3 แบบรายงานผลการวิจัยฉบับสมบรู ณ์ ทะเบยี นวิจยั เลขท่ี (รายละเอียดการกา้ หนดรหสั ทะเบยี นวิจัยของกรมฯ ดจู ากคู่มือการด้าเนินงานวชิ าการ กรมพัฒนาท่ดี นิ ) ช่ือแผนงานวิจยั /โครงการวิจยั ……………………………………...................................................................................... ช่ือผู้รับผดิ ชอบ…………………………………………………................................................................................................ หน่วยงาน........…………………………………………………………………………………............................................................. ทป่ี รกึ ษาโครงการ…………………………..................…….…หน่วยงาน…………………………............................................. ผู้รว่ มด้าเนินการ……………..………………............................................................................................................…….. หน่วยงาน………………………………….......................................................................................................................... เริ่มต้น เดอื น............................พ.ศ......................สินสุดเดอื น...................................พ.ศ……….............................. รวมระยะเวลาทงั สนิ ...........ป.ี ...............เดือน สถานทด่ี า้ เนนิ การ (จงั หวัด อ้าเภอ ตา้ บล หมูบ่ า้ น) พกิ ัด ชุดดนิ กลมุ่ ชดุ ดิน ชนดิ ดิน ………………………………………………………………… ............. ............ …............. ….…........ ค่าใช้จ่ายในการดา้ เนนิ งานทังสิน ปีงบประมาณ งบบุคลากร งบด้าเนนิ งาน รวม แหล่งงบประมาณทีใ่ ช.้ ...................................................................................................................... พร้อมนไี ดแ้ นบรายละเอียดประกอบตามแบบฟอรม์ ที่กา้ หนดมาด้วยแลว้ ลงชอื่ …………...........................…………………… (.............................................................) ผรู้ ับผิดชอบโครงการ ลงชื่อ………...........………..............……………… (.............................................................) ประธานคณะท้างานกลนั่ กรองโครงการวจิ ยั ระดบั หน่วยงาน วนั ที่ ................เดือน....................พ.ศ. .......................
47 ทะเบยี นวจิ ัยเลขท.่ี ............................................................................................................................................ ชอ่ื แผนงานวจิ ยั /โครงการวิจยั (ภาษาไทย) .................................................................................................... (ภาษาอังกฤษ) ................................................................................................. กลมุ่ ชุดดนิ ที่ ..........................ชุดดิน (ภาษาไทย).................. (ภาษาองั กฤษ)................................................ สถานที่ด้าเนนิ การ............................................................................................................................................ ผรู้ ่วมดา้ เนินการ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ (เรียงล้าดับตามแบบฟอรม์ ชุดโครงการวิจัย/โครงการวจิ ยั ) ................................................ ................................................ ........................................................... ................................................ ............................................... ........................................................... ................................................ ................................................ ........................................................... บทคัดยอ่ ภาษาไทย (Abstract-Thai) ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. ......................................................................... ............................................................................................. .... บทคดั ย่อภาษาอังกฤษ (Abstract-English) ........................................................................................................................ .................................................. ............................................................................................................................. ............................................. .................................................................................................................................... ...................................... หลกั การและเหตผุ ล ...................................................................................................... ....................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ....................................................................................................................................... ...................................... วตั ถุประสงค์ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ การตรวจเอกสาร ....................................................... ......................................................................................................... ............. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ระยะเวลาและสถานที่ดา้ เนนิ การ ระยะเวลาด้าเนินการ............................................................................................................................. .............. สถานทีด่ า้ เนินการ .............................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ อุปกรณแ์ ละวิธกี าร อุปกรณ์......................................................................................................................................... ....................... ............................................................................................................ ................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................. ................................
48 วิธกี าร............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................................. ............................. ผลการวจิ ยั และวจิ ารณ์ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. สรุปผลและข้อเสนอแนะ ........................................................... ............................................................................................................. .. ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................... .............................................................................................................. .. ประโยชนท์ ี่ได้รบั ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. .................................................................................................................................................................... ...... ............................................................................................................................ .............................................. การเผยแพร่ผลงานวิจยั ............................................................................................................................. ............................................. .............................................................................................................................................. ............................ ...................................................................................................... .................................................................. .. ............................................................................................................................. ............................................. เอกสารอ้างองิ ............................................................................................................................... ........................................... ....................................................................................... ................................................................................. .. ............................................................................................................................. ............................................. .............................................................................................................................. ............................................ ภาคผนวก (รายละเอยี ดภาคผนวกให้ขึนหน้าใหม)่ หมายเหตุ :1. รายงานนีใช้กระดาษ A4 ตังค่าหน้ากระดาษ ดังนี บน (Top) 0.8 นิว ล่าง (Bottom) 0.8 นิว ซา้ ย (Left) 1.25 นิว และ ขวา (Right) 0.8 นิว โดยใช้ตวั อักษร TH SarabunPSK 2. การพิมพ์หัวข้อของเนือเร่ืองใช้ตัวอักษรขนาด 16 ตัวหนา จัดก่ึงกลางหน้า ส่วนหัวข้อย่อย ใช้ตัวอักษรขนาด 15 ตวั หนา จัดชิดซา้ ย สา้ หรบั เนือเรอ่ื งใชต้ วั อกั ษรขนาด 15 จดั ชดิ ขอบ 3. รายงานนี กอง/สา้ นัก/ส้านักงานพัฒนาท่ีดินเขต รวบรวมส่ง กลุ่มระบบงานวิจัย กองแผนงาน จา้ นวน 1 เล่ม พรอ้ มไฟลข์ ้อมลู CD จา้ นวน 1 แผ่น 4. ก้าหนดการสง่ วจ.3 หลังสนิ สุดปีงบประมาณ ไม่เกิน 6 เดอื น 5. ตดิ ตอ่ สอบถามข้อมลู เพ่ิมเติมไดท้ ี่ คณุ วไิ ลพร น้อยบรุ ี หรือ คุณประภานชิ ธุนนั ทา กลุ่มระบบงานวิจยั กองแผนงาน โทร./โทรสาร 0 2562 0731
แบบฟอร์มท่ี 249 แบบรายงานผลสัมฤทธ์หิ รือประโยชนท์ ีไ่ ด้รับจากการใช้จา่ ยงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 กรมพฒั นาที่ดนิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไตรมาสท.่ี ........................................................... โครงการ/กิจกรรม ....................................................................................................................................... ผรู้ ับผดิ ชอบ ....................................................................................................................................... หน่วยงาน ............................................................................................................................. .......... 1. ข้อมลู เกี่ยวกบั โครงการ/กิจกรรม ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 2. แนวทางการดา้ เนนิ งานโครงการ/กจิ กรรม ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 3. ผลสมั ฤทธ์หิ รือประโยชนท์ ไี่ ด้รบั ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 4. ปัญหา/อปุ สรรค ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 5. ข้อเสนอแนะหรือแนวทางการแก้ไขปัญหา ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................
Search