หน่วยท่ี 5การแทนคา่ ขอ้ มูลชนิดของขอ้ มูล และ สญั ญาณการสอื่ สารขอ้ มลู เสนอ ครู เพียรวทิ ย์ ขาทวี จดั ทาโดย นายโสภณ เจรญิ ชพี ปวส.2 คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ (ม.6) เลขที่ 9
การแทนคา่ ขอ้ มลู ในชวี ติ ประจาวนั ของมนุษยต์ อ้ งพบเจอกบั จานวนและการคานวณอยทู่ ุกวนั ซง่ึ ตวั เลขทใี่ ชแ้ ทนการนบั ประกอบดว้ ยตวั เลข 10 ตวั คอื เลข0-9 ซงึ่ เรยี กวา่ ระบบเลขฐานสบิ (decimal number system) สาหรบัคอมพิวเตอรน์ นั้ สว่ นใหญท่ ใี่ ชก้ นั อยเู่ ป็นอุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกสท์ ที่ างานแบบดิจิทลั การเก็บขอ้ มูลจะแทนดว้ ยสญั ญาณไฟฟ้ า ท่ีมีแรงดนั 2สถานะ คอื ตา่ (low) สงู (hight)เทา่ นนั้ ซงึ่ เราสามารถใชต้ วั เลข 0 และ1 แทนระดบั แรงดนั ไฟฟ้ าเพ่ือทาใหอ้ ธิบายไดง้ ่ายข้ึน โดยตวั เลข 0 จะแทนแรงดนั ไฟฟ้ าตา่ และตวั เลข 1 จะแทนแรงดนั ไฟฟ้ าสูง ระบบตวัเลขทม่ี ีเพียงแคส่ องคา่ ในหน่ึงหลกั น้ี เรียกวา่ ระบบเลขฐานสอง (binarynumber system) ตวั อยา่ ง เลขฐานสองเชน่ 1102 ,101102
ชนิดของขอ้ มูล 1. ขอ้ มูลชนิดตวั อกั ษร (Character) คอื ขอ้ มูลทเี่ ป็นรหสั แทนตวั อกั ษรหรอืคา่ จานวนเต็ม ไดแ้ ก่ ตวั อกั ษร ตวั เลขและกลุม่ ตวั อกั ขระพิเศษใชพ้ ้ืนทใี่ นการเก็บขอ้ มูล 1 ไบต ์์ 2. ขอ้ มูลชนิดจานวนเตม็ (Integer) คอื ขอ้ มูลทเ่ี ป็นเลขจานวนเต็ม ไดแ้ ก่จานวนเตม็ บวก จานวนเต็มลบ และศูนย์ ขอ้ มลู ชนิดจานวนเตม็ ใชพ้ ้ืนทใี่ นการเก็บขอ้ มูล ขนาด 2 ไบต์ 3. ขอ้ มลู ชนิดจานวนเต็มทม่ี ีขนาด 2 เทา่ (Long Integer) คอื ขอ้ มลู ทเี่ ป็นเลขจานวนเต็ม ใชพ้ ้ืนทใ่ี นการเก็บเป็น 2 เทา่ ของ Integer คอื มีขนาด 4 ไบต ์์ 4. ขอ้ มูลชนิดเลขทศนิยม (Float) คอื ขอ้ มูลทเ่ี ป็นเลขทศนิยม ขนาด 4 ไบต์ 5. ขอ้ มลู ชนิดเลขทศนิยมอยา่ งละเอยี ด (Double) คอื ขอ้ มลู ทเี่ ป็นเลขทศนิยม ใชพ้ ้ืนทใี่ นการเก็บขอ้ มูลเป็น 2 เทา่ ของ float คอื มีขนาด 8 ไบต์
ความหมายของสญั ญาณอนาล็อก (Analog Signal) หมายถึงสญั ญาณขอ้ มลู แบบตอ่ เนื่อง(Continuouse Data) มขี นาดของสญั ญาณไมค่ งที่ มกี ารเปล่ยี นแปลงขนาดของสญั ญาณแบบคอ่ ยเป็นคอ่ ยไป มลี กั ษณะเป็นเสน้ โคง้ ตอ่ เน่ืองกนั ไป โดยการสง่ สญั ญาณแบบอนาล็อกจะถกู รบกวนใหม้ ีการแปลความหมายผิดพลาดไดง้ า่ ย เชน่ สญั ญาณเสยี งในสายโทรศพั ท์ เป็นตน้
ความหมายของสญั ญาณตจิ ติ อล เป็นสญั ญาณทางกายภาพทเ่ี ป็นตวั แทดบั ของคา่ ทแี่ ยกจากกนั (สญั ญาณทมี่ ีปรมิ าณไมต่ อ่ เนื่องในแกนเวลา) เชน่ กระแสบิตทไี่ ม่มีหลกั เกณฑห์ รอื สญั ญาณแอนะล็อกทถ่ี ูกทาเป็นบิตสตรมี สญั ญาณดจิ ทิ ลั สามารถอา้ งถึงอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงตอ่ ไปน้ี รูปคล่นื สญั ญาณตามแกนเวลาทต่ี อ่ เนื่องใด ๆ ที่ใชใ้ นการส่ือสารแบบดจิ ทิ ลัโดยเป็นตวั แทนของกระแสบติ หรอื ลาดบั อน่ื ๆ ของคา่ ไมต่ อ่ เน่ือง ขบวนสญั ญาณกระตุกทส่ี ลบั ไปมาระหวา่ งจานวนไมต่ อ่ เนื่องของระดบั แรงดนั ไฟฟ้ า หรอื ระดบั ของความเขม้ ของแสง ทร่ี ูก้ นั วา่ เป็นสญั ญาณทเ่ี ขา้ รหสั (องั กฤษ: line coded signal)หรือการสง่ สญั ญาณเบสแบนด์ ตวั อยา่ งเชน่ สญั ญาณทพ่ี บในอปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ดจิ ทิ ลั หรือในการส่ือสารแบบอนุกรม หรอื pulse code modulation (PCM) ทเี่ ป็นตวั แทนของสญั ญาณแอนะล็อกที่ถกู digitized สญั ญาณรบกวนและขอ้ ผดิ พลาดสญั ญาณรบกวน (Noise) เป็นผลกระทบอกี ดา้ นหน่ึงทท่ี าใหส้ ญั ญาณขอ้ มูลเกดิความสญู เสีย โดยสญั ญาณรบกวนมีอยหู่ ลายชนิด ประกอบดว้ ย- เทอรม์ ลั นอยส์ (Thermal Noise)- อมิ พลั สน์ อยส์ (Impulse Noise)- ครอสทอลก์ (Crosstalk)- เอกโค (Echo)- จติ เตอร(์ Jitter)
แนวทางในการป้ องกนั ขอ้ ผดิ พลาด1.การแกไ้ ขแบบไมส่ ง่ ขอ้ มูลซา้ (Hamming code)2.การแกไ้ ขแบบสง่ ขอ้ มลู ซา้ (Error Detection With Retransmission) เชน่ แบบหยุดคอย, แบบสง่ ยอ้ นกลบั , แบบตอ่ เนื่อง มาตรฐานการควบคุมความผิดเพ้ียนของขอ้ มลู เรยี กวา่ MNP : MicrocomNetworking Protocolพฒั นาโดยบรษิ ทั Microcom. เป็นมาตรฐานแบบ de facto
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: