วชิ าการสอื่ สารและขอ้ มลู เครอื ขา่ ย บทที่6 อุปกรณ์เชอ่ื มต่อเครือข่ายประเภท LAN จัดทาโดย นานโสภณ เจริญชพี ปวส. 2 แผนกคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาเพชรบุรี
แบบฝึ กหัด เครอื ข่าย LAN แบบใช้สาย1. โครงการ IEEE 802 เป็นโครงการเกีย่ วกบั อะไร และจัดต้ังข้นึ เพ่ือจดุ ประสงคใ์ ด ? ตอบ ในปี ค.ศ. 1985 ทางสถาบนั IEEE ไดร้ ิเร่ิมโครงการสาคญั โครงการหน่ึง โดยต้ัง ชอ่ื โครงการน้ีวา่ โครงการหมายเลข 802 หรือ Project 802 โดยโครงการดังกลา่ วจัดต้งั ข้ึนเพอื่ ต้องการให้ผลิตภณั ฑอ์ ุปกรณ์สือ่ สารที่มาจากแหลง่ ผผู้ ลิตตา่ ง ๆ สามารถสอ่ื สาร ให้เป็นไปตามมาตรฐานเดียวกนั แตโ่ ครงการน้ีมไิ ด้มีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ นามาใชท้ ดแทน มาตรฐาน OSI โมเดลท่ีทางหนว่ ยงาน ISO จัดต้ังข้ึนแตอ่ ยา่ งใด เนื่องจากโครงการ หมายเลข 802 มวี ตั ถุประสงคเ์ พอื่ กาหนดหนา้ ที่และรายละเอียดของช้นั ส่อื สารฟิสคิ ลั ดาต้าลิงก์และมสี ว่ นขยายเพ่ิมเติมบางสว่ นอีกเลก็ น้อย ท่ีนามาใชง้ านเพือ่ การเชื่อมตอ่ เครือขา่ ยทอ้ งถิ่นเป็นหลักสาคญั2. จงสรุปการทางานของช้นั ส่อื สารยอ่ ย LLC และ MAC มาพอเข้าใจ ? ตอบ MAC (Medium Access Control) เป็นช้นั สื่อสารยอ่ ยท่ีทางานใกลช้ นิ ช้นั ฟิสิคัลมาก ภายในบรรจดุ ้วยสว่ นของเฮดเดอร์ ฟิสิ คัลแอดเดรส รหัสการตรวจสอบและการควบคมุ ขอ้ มูล MAC ไดม้ กี ารกาหนดรูปแบบ ของขอ้ มูลที่เรียกวา่ เฟรม ซ่ึงรูปแบบของเฟรมจะมคี วามแตกตา่ งกนั โดยจะข้นึ อยูก่ บั แลน แตล่ ะชนิด ตวั อยา่ งเชน่ CSMA/CD ท่ีใชใ้ นอีเทอรเ์ น็ตกม็ รี ูปแบบเฟรมแบบหน่ึง ในขณะท่ีโทเค็นริงกม็ รี ูปแบบเฟรมอกี แบบหน่ึง เป็นตน้ รูปแบบของเฟรมจะประกอบ ด้วบฟิลดท์ ี่ใชส้ าหรบั การตรวจสอบข้อผดิ พลาด ตาแหนง่ ท่ีอยขู่ องเวริ ค์ สเตชนั่ และการ ควบคมุ อีกหลายๆ อยา่ ง ดังน้นั MAC จึงเป็นช้นั ส่อื สารที่มคี วามสาคัญมากในเครือขา่ ย ทอ้ งถ่ิน LLC (Logical Link Control) เป็นช้นั สือ่ สารยอ่ ยท่ีรับผดิ ชอบงานด้านพื้นฐานเก่ียวกบั ลอจิคัลแอดเดรส การคงบคมุ ผดิ พลาด รวมถึงเป็นสว่ นเชื่อมตอ่ กบั ช้นั ส่ือสารเนต็ เวริ ์ก
3.MAC Address กบั การด์ เครือขา่ ยมีความสมั พนั ธ์กนั อยา่ งไร ? ตอบ การ์ดเครือขา่ ยมลี กั ษณะเป็นแผงวงจร ท่ีเสียบเข้ากบั สล็อตภายในเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ และถือเป็นสว่ นสาคญั ในการสง่ แพก็ เกต็ จริงๆ ผา่ นส่อื กลาง ซ่ึงเครือขา่ ย ท้องถ่ินตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเป็นอีเทอร์เน็ต โทเค็นริง หรือ FDDI จาเป็นต้องใชก้ าร์ดเครือขา่ ย ท้ังสน้ิ โดยการด์ เครือขา่ ยจะมีหมายเลยแมคแอดเดรสท่ีใชอ้ า้ งอิงตาแหนง่ ท่ีอยูเ่พ่อื รับสง่ ขอ้ มลู บนเครือขา่ ย โดยชดุ หมายเลขแมคแอดเดรสน้ีจะถูกบรรจไุ วใ้ น หนว่ ยความจารอม บนการเครือขา่ ยที่ถูกบรรจุพรอ้ มเสรจ็ มาจากโรงงาน และเมอ่ื เร่ิมตน้ ทางาน ชดุ หมายเลข แมคแอดเดรสน้ีกจ็ ะถูกคัดลอกไวใ้ นหนว่ ยความจาหลกั เพอื่ นาไปใชอ้ า้ งอิงตอ่ ไป4จงบอกความแตกตา่ งระหวา่ ง MAC Address กบั IP Address ? ตอบ แมว้ า่ ท่ีอยู่IP และที่อยู่MAC จะตอบสนองวตั ถุประสงค์ของการมอบรหัสเฉพาะ ในเครือขา่ ยใหก้ บั โฮสต์ แตข่ ้ึนอยูก่ บั สถานะและฟงั กช์ นั ท้งั สองมคี วามแตกตา่ งกนั เม่อื ทางานเลเยอรข์ องแอดเดรสถูกเรียกใชใ้ นขณะที่ฟงั กช์ นั MAC Address ใน Data Link Layer, IP แอดเดรสจะทางานใน Network Layer ที่อยู่MAC จะระบุเอกลักษณ์เฉพาะของสว่ นติดตอ่ กบั ฮาร์ดแวรข์ องเครือขา่ ยในขณะท่ี IP Address จะระบุเฉพาะสว่ นติดตอ่ ซอฟตแ์ วรข์ องเครือขา่ ย นอกจากน้ีหากพจิ ารณาการ กาหนดที่อยทู่ ่ีอยู่MAC จะได้รบั การกาหนดใหก้ บั อะแดปเตอรอ์ ยา่ งถาวรและไม่ สามารถเปลี่ยนแปลงไดเ้ นื่องจากเป็นท่ีอยทู่ างกายภาพ ในทางตรงกนั ขา้ มที่อยู่ IP ท้ัง แบบคงท่ีหรือแบบไดนามกิ สามารถแกไ้ ขไดข้ ้ึนอยกู่ บั ข้อกาหนดเน่ืองจากเป็นเอนทิตี หรือที่อยูท่ างตรรกะ นอกจากน้ีท่ีอยู่MAC มปี ระโยชน์เมือ่ พดู ถึง Local Area Networks ถ้ารูปแบบน้ีถือวา่ อยู่IP จะใชท้ ี่อยยู่ าว 32 หรือ 128 บิตในขณะท่ีท่ีอยู่MAC ใชท้ ี่อยยู่ าว 48 บิต ในมุมมองแบบงา่ ยที่อยู่ IP สามารถไดร้ บั การพิจารณาเพอ่ื สนับสนุนการใชง้ าน ซอฟต์แวรแ์ ละท่ีอยู่MAC ถือไดว้ า่ เป็นการสนับสนุนการใชง้ านฮารด์ แวร์ของเครือขา่ ย แมจ้ ะมีความแตกตา่ งกนั กต็ ามเครือขา่ ยไอพยี งั มีการทาแผนท่ีระหวา่ งท่ีอยู่MAC และที่ อยู่ IP ของอุปกรณ์เรียกวา่ ARP หรือ Address Resolution Protocol
5อเี ทอร์เนต็ และ IEEE 802.3 มีความสมั พนั ธ์กนั อยา่ งไร จงอธิบาย ? ตอบ สำหรับมำตรฐำน802.3 จะอธบิ ำยถึง LAN ทงั ้ หมดทีใ่ ช้หลกั กำร ของ CSMA/CD (CarrierSense MultipleAccess with Collision Detection) ทมี่ อี ตั รำกำรสง่ ข้อมลู ตงั ้ แต่ 1 Mbps ถึง 100Mbps และใช้สำยส่งชนิดตำ่ งๆ นอกจำกนมี ้ ำตรฐำน IEEE802.3 และอเี ทอร์เนต็ ยังมบี ำงส่วน ของสว่ นหวั ของข้อมลู (Header) แตกต่ำงกันบ้ำง (ฟิ ลด์ควำมยำวของ IEEE802.3 ถูกใช้บง่ บอกชนิด ของ Packet ในมำตรฐำนอเี ทอร์เน็ต)3. จงสรุปมาตรฐานการเช่ือมตอ่ เครือขา่ ยแบบ Fast Ethernet มาพอเขา้ ใจ ? ตอบ ast Ethernet เชน่ เดียวกบั เทคโนโลยเี ครือขา่ ยอื่น ๆ ระบบเครือขา่ ย Fast Ethernet สามารถทางานบนสือ่ สายสญั ญาณ ตา่ ง ๆ ท่ีสามารถใชไ้ ดด้ ีบนเครือขา่ ยแบบน้ี ได้แก ่ สายตีเกลียวแบบ Unshield Twisted Pair (UTP) แบบ Categories 5 และ 3 รวมท้ังสาย Fiber Optic ระบบเครือขา่ ย LAN เชน่ ระบบ Ethernet และ Fast Ethernet จดั ได้วา่ เป็นเครือขา่ ยท่ีไม่ ข้ึนอยูก่ บั สายสือ่ สญั ญาณท่ีใช้ หมายความวา่ การทางานข้นั พน้ื ฐานของมนั ไมข่ ้ึนกบั สายสญั ญาณท่ีใชง้ านอยู่การทางานข้ันพืน้ ฐานไดแ้ ก ่กฎกติกาการเขา้ ถึง (Access) เครือขา่ ย เชน่ CSMA/CD เป็นเร่ืองของการ Interface ระหวา่ ง LAN Card หรือ NIC (Network Interface Card) หาใชอ่ ยทู่ ี่สายสญั ญาณไม่4. จงสรุปมาตรฐานการเชื่อมตอ่ เครือขา่ ยแบบ Gigabit Ethernet มาพอเข้าใจ ? ตอบ Gigabit Ethernet (IEEE802.3z)เป็นมาตรฐานใหมข่ องเทคโนโลยีเครือขา่ ยทอ้ งถ่ิน (LAN-Local Area-Network) ท่ีพฒั นามาจาก เครือขา่ ยแบบ Ethernet แบบเกา่ ที่มี ความเรว็ 10 Mbps ใหส้ ามารถรบั สง่ ขอ้ มูลไดท้ ่ีระดับความเร็ว 1 Gbps ท้งั น้ีเทคโนโลยนี ้ี ยงั คงใชก้ ลไก CSMS/CD ในการรว่ มใชส้ อื่ เหมอื นEthernet แบบเกา่ หากแตม่ ีการพฒั นา และดดั แปลงใหส้ ามารถรองรับความเรว็ ในระดับ1 Gbps ได้ Gigabit Ethernet เป็นสว่ นเพมิ่ ขยายจาก 10 Mbps และ 100 Mbps Ethernet (มาตราฐาน IEEE 802.3 และ IEEE802.3u ตามลาดบั ) โดยท่ีมนั ยงั คงความเข้ากนั ไดก้ บั มาตราฐาน แบบเกา่ อยา่ ง100% Gigabit Ethernet ยงั สนับสนุนการทางานใน mode full-duplex โดย จะเป็นการทางานในการเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ ง Switch กบั Switch และระหวา่ ง Switch กบั
End Station สว่ นการเชื่อมตอ่ ผา่ น Repeater, Hub ซ่ึงจะเป็นลกั ษณะของShared-media (ซ่ึงใชก้ ลไก CSMA/CD) Gigabit Ethernet จะทางานใน mode Half-duplexซ่ึงสามารถ จะใชส้ ายสญั ญาณได้ท้งั สายทองแดงและเสน้ ใยแกว้ นาแสง5. จงสรุปมาตรฐานการเชอ่ื มตอ่ เครือขา่ ยแบบ 10Gigabit Ethernet มาพอเข้าใจ ? ตอบ เทคโนโลยี Ethernet ได้ขยบั อตั ราการรบั สง่ ขอ้ มลู จาก 100 Mbps เป็น 1 Gbps ซ่ึง ถือวา่ เป็นเร่ืองใหญพ่ อสมควรสาหรบั ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ทุกวนั น้ี Gigabit Ethernet เร่ิมเอามาใชง้ านมากข้ึนในฐานะที่เป็นคแู่ ขง่ กบั เทคโนโลยีความเร็วสงู อยา่ ง ATM .. แมว้ า่ ประสทิ ธิภาพ และความสามารถ ของ Gigabit Ethernet ยงั สกู้ บั ATM ไมไ่ ด้ แต่ Gigabit Ethernet กย็ งั มจี ุดเดน่ ที่ราคาถูก และ Ethernet เองกเ็ ป็นมาตรฐานของ LAN มานานแลว้ .. วนั น้ี Ethernet ปรบั ตัวอีกคร้ังโดยการเพม่ิ อตั ราการรับสง่ ขอ้ มลู เป็น 10 Gbps และยงั ขยายการใชง้ านไปถึงระดบั MAN และ WAN ด้วย .. 10 GbE จะดีแค่ ไหน .. ติดตามไดใ้ นบทความนี่6. จงสรุปเครือขา่ ยแบบโทเคน็ บัสมีลักษณะทางกายภาพเป็นแบบไหนและการเขา้ ถึงข้อมูล เป็นแบบใด ? ตอบ โทเคนบัสมกี ารตอ่ เช่อื มแบบเป็นเสน้ ตรง สถานีตา่ งๆ เชื่อมตอ่ เขา้ ที่จดุ ใดๆ แต่ ในทางตรรกะ สถานีจะถูกจัดกลุม่ ในลักษณะวง แตล่ ะสถานีจะทราบหมายเลขที่อยขู่ อง สถานีท่ีอยูท่ างดา้ ยซา้ ยและด้านขวาของตนเองตลอดเวลา เมอ่ื เริ่มต้นการทางานสถานีที่ มีหมายเลขสงู สดุ ของวงน้นั ๆ สามารถสง่ เฟรมขอ้ มูลออกมาได้เป็นลาดบั แรก หลงั จาก น้นั กจ็ ะสง่ เฟรม โทเคน ไปยงั สถานีขา้ งเคียงของตนเอง Token Bus เป็นระบบเครือขา่ ยท่ี เปิ ดโอกาสให้สถานีตา่ งๆ ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกนั สง่ เฟรมข้อมูลของตนเองโดยสามารถคานวณระยะเวลาการรอคอยสงู สดุ ได้ลว่ งหนา้ ถา้ สมมตุ ิให้มีสถานีจานวน A แหง่ อยใู่ นระบบ แตล่ ะสถานีใชเ้ วลาในการสง่ เฟรมข้อมูล คร้งั ละ S วนิ าที เวลาสงู สดุ ที่แตล่ ะสถานีจะตอ้ งรอคอย คือ A x S วนิ าที ผทู้ ่ีอยใู่ นวงการ คอมพวิ เตอรส์ าหรับโรงงานจึงชอบแนวความคิดของระบบเครือขา่ ยแบบวงแหวน แตก่ ็ ไมช่ อบลักษณะการเชอื่ มตอ่ ทางกายภาพเพราะการเสยี หายของเคเบิลที่จดุ ใดกต็ ามจะทา ใหร้ ะบบท้ังระบบใชก้ ารไมไ่ ด้ ยิ่งกวา่ น้ันการเดินสายเคเบิลแบบวงแหวนกไ็ มเ่หมาะกบั
ลักษณะสายการผลิตภายในโรงงาน ผลท่ีได้รับคือ การพฒั นามาตรฐานใหมเ่รียกวา่ IEEE 802.4 (ไอ อี อี อี 802.4) ท่ีนาจุดเดน่ ของระบบ IEEE 802.3 (ไอ อี อี อี 802.3)มา รวมเขา้ กบั ความสามารถในการคานวณระยะเวลาการรอคอยสงู สดุ ไดล้ ว่ งหนา้ ของ ระบบวงแหวน7. จงสรุปเครือขา่ ยแบบโทเค็นริงลกั ษณะทางกายภาพเป็นแบบไหนและการเขา้ ถงึ ขอ้ มูล เป็นแบบใด ? ตอบ เป็นเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ที่บริษัทไอบีเอม็ ไดพ้ ฒั นาข้ึนโดยการเชื่อมโยงเครือขา่ ย คอมพวิ เตอรท์ ้ังหมดใชร้ ูปแบบวงแหวน โดยดา้ นหน่ึงเป็นตวั รบั สญั ญาณ และอีกดา้ น หน่ึงเป็นตวั สง่ สญั ญาณการเชอื่ มตอ่ แบบน้ีทาให้คอมพวิ เตอรท์ ุกเครื่องสามารถสง่ ข้อมลู ถึงกนั ได้ โดยผา่ นไปในเสน้ ทางวงแหวนน้นั การสง่ ผา่ นขอ้ มูลจะเวยี นไปในทิศทาง เดียวกนั การติดตอ่ สอ่ื สารระหวา่ งกนั น้ีจะมีการจดั ลาดับใหผ้ ลดั กนั สง่ เพ่ือวา่ การรบั สง่ ขอ้ มูลจะได้ไมส่ บั สนและมีรูปแบบที่ชดั เจน เครือขา่ ยโทเคน็ ริงที่ใชก้ นั อยูใ่ นขณะน้ีมี ความเรว็ ในการรับสง่ สญั ญาณ 16 ล้านบิตตอ่ วินาทีข้อมูลจะไมช่ นกนั เพราะการรับสง่ มี ลาดบั แนน่ อนข้อมลู ท่ีรับสง่ จะมลี กั ษณะเป็นชดุ ๆ แตล่ ะชดุ มีการกาหนดตาแหนง่ แนน่ อนวา่ มาจากสถานีใด จะสง่ ไปยงั สถานีปลายทางที่ใด ดังน้ันถ้าสถานีใดพบข้อมลู ท่ี มกี ารระบุตาแหนง่ ปลายทางมาเป็นของตวั เอง กส็ ามารถคัดลอกขอ้ มลู น้ันเข้าไปได้และ ตอบรบั วา่ ไดร้ ับขอ้ มูลน้นั แลว้8. จงสรุปหลกั การทางานของโทเค็น เป็นอยา่ งไร ? ตอบ เป็นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรท์ ่ีบริษทั ไอบีเอม็ ได้พฒั นาข้ึนโดยการเช่อื มโยงเครือขา่ ย คอมพวิ เตอรท์ ้งั หมดใชร้ ูปแบบวงแหวน โดยดา้ นหน่ึงเป็นตัวรับสญั ญาณ และอีกดา้ น หน่ึงเป็นตวั สง่ สญั ญาณการเช่อื มตอ่ แบบน้ีทาให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถสง่ ข้อมลู ถึงกนั ได้ โดยผา่ นไปในเสน้ ทางวงแหวนน้ัน การสง่ ผา่ นข้อมูลจะเวียนไปในทิศทาง เดียวกนั การติดตอ่ ส่อื สารระหวา่ งกนั น้ีจะมกี ารจดั ลาดับใหผ้ ลัดกนั สง่ เพอ่ื วา่ การรับสง่ ขอ้ มูลจะได้ไมส่ บั สนและมีรูปแบบท่ีชดั เจน เครือขา่ ยโทเคน็ ริงที่ใชก้ นั อยูใ่ นขณะน้ีมี ความเร็ว ในการรบั สง่ สญั ญาณ 16 ล้านบิตตอ่ วินาทีข้อมลู จะไมช่ นกนั เพราะการรบั สง่ มี ลาดับแนน่ อนขอ้ มลู ท่ีรับสง่ จะมีลักษณะเป็นชดุ ๆ แตล่ ะชดุ มกี ารกาหนดตาแหนง่ แนน่ อนวา่ มาจากสถานีใดจะสง่ ไปยงั สถานีปลายทางที่ใด
9.จงสรุปหลกั การทางานของเครือขา่ ยแบบ FDDI เป็นอยา่ งไร ? ตอบ FDDI เป็นมาตรฐานการตอ่ ระบบเครือขา่ ยโดยอาศยั แบบ Fiber Optic ซ่ึงจะ สามารถรบั สง่ ข้อมูลไดท้ ี่ความเร็วสูงถึง 100 Mbps เทา่ กบั Fast Ethernet หรือสิบเทา่ ของ Ethernet พ้ืนฐานลกั ษณะของ FDDI จะตอ่ เป็น Ring ท่ีมสี ายสองช้นั เดินคขู่ นานกนั เพอ่ื สารองในกรณีเกิดสายขาดข้ึน วงจรจะไดต้ ัดสว่ นที่ขาดออกแลว้ วนสายท่ีเหลือให้ ครบรอบเป็น Ring ตามเดิมในแบบเดียวกบั สาย Token-Ring ของ IBM ลักษณะการ รับสง่ ขอ้ มลู ของ FDDI กใ็ ชว้ ิธี Token-Passing เชน่ เดียวกบั Token-Ring สว่ นสายท่ีตอ่ น้นั จะไดร้ ะยะระหวา่ งแตล่ ะเครื่องไมเ่กนิ 2 กิโลเมตร และระยะรวมท้ังหมดไมเ่กิน 100 กโิ ลเมตรใบงานรูปแบบการเชื่อมตอ่ เพ่มิ เติม1. ให้นักศกึ ษาอธิบายเกยี่ วกบั รูปแบบเครือขา่ ย 2 ประเภท1.1. Client/Server มีลกั ษณะอยา่ งไร และมีข้อดี-ขอ้ เสยี อยา่ งไรโครงสร้างเครือขา่ ย (Topology)1. ลกั ษณะการเชื่อมตอ่ เครือขา่ ย1.1 การเช่ือมตอ่ แบบจดุ ตอ่ จดุ (Point to Point) แบบจดุ ตอ่ จดุ (point-to-point) คือ วธิ ีเช่ือมตอ่ สอื่สงขอ้ มลู ระหวา่ งอุปกรณ์ 2 อปุ กรณ์ โดยมเี สน้ ทางเพียง 1 เสน้ เทา่ น้ัน เชน่ ลักษณะการเชอ่ื มตอ่ระหวา่ งเคร่ืองคอมพิวเตอร์พซี ีแตล่ ะเครื่องมีเพียงสายเพยี ง 1 สายตอ่ เชื่อมโยงกนั ในการทางานหรือในเคร่ืองที่ทาหน้าที่เป็นเครื่องปลายทาง 1 เคร่ือง เช่อื มตอ่ กบั เคร่ืองเมนเฟรมโดยใชส้ าย 1เสน้ หรือในอีกกรณีหน่ึงเคร่ืองคอมพิวเตอร์ 2 เคร่ืองส่ือสารกนั โดยใชก้ ารสง่ ข้อมลู ผา่ นคล่ืนไมโครเวฟข้อดี 1. มีความเรว็ ในการสอื่ สารขอ้ มลู สงู โปรแกรมท่ีใชใ้ นการควบคมุ การสอื่ สารกเ็ ป็นแบบพื้นฐานไมซ่ บั ซ้อน 2. สามารถรบั สง่ ขอ้ มลู ได้ปริมาณมากและไมม่ ีปัญหาเร่ืองการจัดการการจราจรในสือ่ สง่ ขอ้ มลู ไมเ่หมือนกบั แบบที่ใชส้ ื่อสง่ ขอ้ มูลรว่ มกนั 3. มคี วามทนทานตอ่ ความ
เสียหายเมื่อส่อื สง่ ขอ้ มูลหรือสายใดสายหน่ึงเสียหายใช้ การไมไ่ ด้ ไมส่ ง่ ผลตอ่ ระบบเครือขา่ ยโดยรวม แตเ่ กิดเสียหายเฉพาะเคร่ืองตน้ สายและปลายสายเทา่ น้ันข้อเสีย 1. จานวนสายท่ีใชต้ ้องมจี านวนมากและอินพุด/เอาต์พุตพอร์ต (i/o port) ตอ้ งใชจ้ านวนมากเชน่ กนั เพราะแตล่ ะเครื่องตอ้ งตอ่ เช่ือมไปยงั ทุก ๆ เคร่ืองทาใหก้ ารติดต้งั หรือแกไ้ ขระบบทาไดย้ าก 2. สายที่ใชม้ จี านวนมาก ทาให้ส้นิ เปลืองพ้ืนที่ในการเดินสาย 3. เนื่องจากอปุ กรณ์ตอ้ งการใชอ้ นิ พุด/เอาต์พุตพอรต์ จานวนมาก ดังน้นั ราคาของอปุ กรณต์ อ่ เชอ่ื มจึงมรี าคาแพงและจากขอ้ เสียข้างตน้ ทาใหโ้ ทโพ โลยแี บบสมบูรณจ์ ึงถูกทาไปใชค้ อ่ นข้างอยใู่ นวงแค1.2 การเชื่อมตอ่ แบบหลายจดุ (Multipoint or Multidrop) แบบหลายจดุ หรือ มลั ติดรอปไลน์(multidrop lime) หมายถึง ส่ือสง่ ข้อมูล 1 ส่อื มอี ปุ กรณห์ ลายๆ อปุ กรณ์ ใชส้ อ่ื สง่ ขอ้ มลู หรือสายรว่ มกนั ดงั รูปท่ี 2.3 นอกจากน้ีถา้ สอื่ สง่ ขอ้ มลู เป็นคลื่นวทิ ยุ แบบหลายจุดใชค้ ลนื่ วิทยุในอากาศรว่ มกนั การใชค้ ล่ืนวทิ ยุรว่ มกนั ทาไดโ้ ดยแบง่ ความถี่ออกเป็นชว่ งความถี่ของอปุ กรณ์แตล่ ะตวัซ่ึงถือวา่ เป็นการใชส้ ่ือสงข้อมูลรว่ มกนั ในแบบแบง่ สว่ นท่ีเรียกวา่ การแบง่ ปันสว่ น (spatiallyshare) หรืออาจผลัดกนั ใชส้ ่ือสง่ ข้อมลู โดยกาหนดระยะเวลาการใชท้ ่ีเรียกวา่ การแบง่ ปันเวลา(time share)ข้อดี 1. ประหยดั สายสง่ ข้อมลู 2. การเพมิ่ เติมโหนดสามารถเพมิ่ ได้โดยง่ายด้วยการเชือ่ มตอ่ เข้ากบั สายสง่ ที่ใชง้ านรว่ มกนั ไดท้ ันที ขอ้ เสีย 1. หากสายสง่ ข้อมูลขาด จะมผี ลกระทบตอ่ ระบบเครือขา่ ย 2. ไมเ่หมาะกบั การสง่ ขอ้ มูลแบบตอ่ เนื่องท่ีมีข้อมูลคราวละมากๆในเวลาเดียวกนั2. โครงสร้างของเครือขา่ ย (Network Topology) แบง่ เป็น 6 ชนิด2.1 โครงสรา้ งแบบบัส (Bus Topology) -เป็นเครือขา่ ยที่เชือ่ มตอ่ คอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณ์ตา่ ง ๆด้วยสายเคเบ้ิลยาว ตอ่ เนื่องไปเรื่อย ๆ โดยจะมคี อนเนก็ เตอรเ์ ป็นตวั เชอื่ มตอ่ คอมพิวเตอร์ และอปุ กรณ์เขา้ กบั สายเคเบิ้ล ในการสง่ ขอ้ มูล จะมีคอมพวิ เตอร์เพียงตัวเดียวเทา่ น้ันท่ีสามารถสง่ข้อมลู ได้ในชว่ งเวลาหน่ึงๆ การจดั สง่ ขอ้ มูลวธิ ีน้ีจะตอ้ งกาหนดวธิ ีการ ที่จะไมใ่ หท้ ุกสถานีสง่ข้อมลู พรอ้ มกนั เพราะจะทาใหข้ ้อมลู ชนกนั วิธีการที่ใชอ้ าจแบง่ เวลาหรือใหแ้ ตล่ ะสถานีใช้ความถี่ สญั ญาณที่แตกตา่ งกนั การเซตอปั เคร่ืองเครือขา่ ยแบบบสั น้ีทาได้ไมย่ ากเพราะ
คอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณ์แตล่ ะชนิด ถูกเช่ือมตอ่ ดว้ ยสายเคเบ้ิลเพียงเสน้ เดียวโดยสว่ นใหญ่เครือขา่ ยแบบบัส มกั จะใชใ้ นเครือขา่ ยขนาดเลก็ ซ่ึงอยใู่ นองค์กรที่มีคอมพิวเตอร์ใชไ้ มม่ ากนักข้อดี คือ ใชส้ ่ือนาข้อมลู นอ้ ย ชว่ ยให้ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย และถ้าเคร่ืองคอมพวิ เตอร์เคร่ืองใดเคร่ืองหน่ึงเสยี กจ็ ะไมส่ ง่ ผลตอ่ การทางานของระบบโดยรวม แตม่ ีขอ้ เสยี คือ การตรวจจุดที่มปี ัญหา กระทาไดค้ อ่ นข้างยาก และถ้ามจี านวนเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ในเครือขา่ ยมากเกนิ ไป จะมีการสง่ ข้อมลู ชนกนั มากจนเป็นปัญหา2.2 โครงสร้างแบบดาว (Star Topology) - เป็นเครือขา่ ยที่เชื่อมตอ่ คอมพิวเตอร์ เข้ากบั อปุ กรณ์ท่ีเป็น จดุ ศนู ยก์ ลาง ของเครือขา่ ย โดยการนาสถานีตา่ ง ๆ มาตอ่ รว่ มกนั กบั หนว่ ยสลับสายกลางการติดตอ่ สอ่ื สารระหวา่ งสถานีจะกระทาได้ ดว้ ยการ ติดตอ่ ผา่ นทางวงจรของหนว่ นสลบั สายกลางการทางานของหนว่ ยสลับสายกลางจึงเป็นศูนยก์ ลางของการติดตอ่ วงจรเชือ่ มโยงระหวา่ งสถานีตา่ ง ๆ ที่ตอ้ งการติดตอ่ กนั ขอ้ ดี คือ ถ้าต้องการเช่อื มตอ่ คอมพวิ เตอรเ์ คร่ืองใหมก่ ส็ ามารถทาไดง้ ่ายและไมก่ ระทบตอ่ เคร่ืองคอมพวิ เตอรอ์ ืน่ ๆ ในระบบ ข้อเสยี คือ คา่ ใชจ้ า่ ยในการใชส้ ายเคเบิ้ลจะคอ่ นขา้ งสูง และเม่ือฮบั ไมท่ างาน การส่อื สารของคอมพวิ เตอรท์ ้งั ระบบกจ็ ะหยดุ ตามไปด้วย ขอ้ จากดั ถ้าฮบั เสยี หายจะทาให้ท้ังระบบตอ้ งหยดุ ซะงัก และมคี วามสิน้ เปลืองสายสญั ญาณมากกวา่ แบบอ่ืนๆ2.3 โครงสรา้ งแบบวงแหวน (Ring Topology) -เป็นเครือขา่ ยที่เชอ่ื มตอ่ คอมพวิ เตอร์ดว้ ยสายเคเบิลยาวเสน้ เดียว ในลกั ษณะวงแหวน การรบั สง่ ขอ้ มูลในเครือขา่ ยวงแหวน จะใชท้ ิศทางเดียวเทา่ น้ัน เมือ่ คอมพิวเตอรเ์ ครื่องหน่ึงสง่ ข้อมลู มนั กจ็ ะสง่ ไปยงั คอมพิวเตอร์เครื่องถดั ไป ถา้ ข้อมลูที่รับมาไมต่ รงตามท่ีคอมพวิ เตอร์เคร่ืองต้นทางระบุ มนั กจ็ ะสง่ ผา่ นไปยงั คอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปซ่ึงจะเป็นข้นั ตอนอยา่ งน้ีไปเร่ือย ๆ จนกวา่ จะถึงคอมพิวเตอร์ปลายทางทถ่ี ูกระบุตามท่ีอยู่ข้อดี ของโครงสรา้ ง เครือขา่ ยแบบวงแหวนคือ ใชส้ ายเคเบ้ิลนอ้ ย และถ้าตัดเคร่ืองคอมพวิ เตอรท์ ่ีเสียออกจากระบบ กจ็ ะไมส่ ง่ ผลตอ่ การทางานของระบบเครือขา่ ยน้ี และจะไมม่ กี ารชนกนั ของขอ้ มลู ท่ีแตล่ ะเครื่องสง่ขอ้ เสยี ถ้าเครื่องใดเครื่องหน่ึงในเครือขา่ ยเสยี หาย อาจทาให้ท้งั ระบบหยุดทางานได้
2.4 โครงสร้างแบบต้นไม้(Tree Topology) -มลี ักษณะเชื่อมโยงคล้ายกบั โครงสร้างแบบดาวแต่จะมโี ครงสรา้ งแบบตน้ ไม้โดยมสี ายนาสญั ญาณแยกออกไปเป็นแบบกิ่งไมเ่ป็นวงรอบโครงสรา้ งแบบน้ีจะเหมาะกบั การประมวลผลแบบกลุม่ จะประกอบดว้ ยเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ระดบั ตา่ งๆกนั อยูห่ ลายเครื่องแลว้ ตอ่ กนั เป็นช้นั ๆ ดูราวกบั แผนภาพองคก์ ร แตล่ ะกลุม่ จะมีโหนดแมล่ ะโหนดลูกในกลุม่ น้นั ท่ีมีการสมั พนั ธก์ นั การสอ่ื สารข้อมลู จะผา่ นตัวกลางไปยงัสถานีอ่ืนๆไดท้ ้ังหมด เพราะทุกสถานีจะอยูบ่ นทางเชอื่ ม และรับสง่ ข้อมูลเดียวกนั ดังน้นั ในแต่ละกลุม่ จะสง่ ข้อมลู ได้ทีละสถานีโดยไมส่ ง่ พร้อมกนัขอ้ ดี 1. รองรับการขยายเครือขา่ ยในแตล่ ะจุด 2. รองรบั อปุ กรณ์จากผผู้ ลิตท่ีแตกตา่ งกนั ขอ้ เสีย1.ความยาวของแตล่ ะเซก็ เมนตอ์ าจแตกตา่ งกนั ไปข้ึนอยกู่ บั สายสญั ญาณท่ีใช้2.หากสายสญั ญาณแบ๊กโบนเสยี หาย เครือขา่ ยจะไมส่ ามารถส่ือสารกนั ได้ 3.การติดต้ังทาไดย้ ากกวา่ โพโลยแี บบอน่ื2.5 โครงสรา้ งแบบผสม (Hybrid Topology) -เป็นเครือขา่ ยท่ีผสมผสานกนั ท้งั แบบดาว,วงแหวนและบัส เชน่ วิทยาเขตขนาดเล็กที่มีหลายอาคาร เครือขา่ ยของแตล่ ะอาคารอาจใชแ้ บบบสัเช่อื มตอ่ กบั อาคารอ่ืนๆท่ีใชแ้ บบดาว และแบบวงแหวน ขอ้ ดี - สามารถเข้าถึงเครือขา่ ยท่ีอยใู่ นระยะไกลได้ - ทาให้การส่อื สารข้อมูลมปี ระสิทธิภาพ ข้อเสีย - ดูแลระบบยาก และเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยในการดูแลรกั ษาสูง - โครงสร้างมคี วามซบั ซ้อนมรี ูปแบบไมแ่ นน่ อน2.6 โครงสรา้ งแบบเมซ (Mesh Topology) - มกี ารทางานโดยเครื่องคอมพวิ เตอร์แตล่ ะเคร่ืองจะมีชอ่ งสญั ญาณจานวนมาก เพ่ือที่จะเช่อื มตอ่ กบั เคร่ืองคอมพวิ เตอรเ์ ครื่องอื่นๆทุกเครื่องโครงสรา้ งเครือขา่ ยคอมพิวเตอรน์ ้ีเครื่องคอมพิวเตอร์แตล่ ะเครื่องจะสง่ ขอ้ มลู ไดอ้ สิ ระไมต่ ้องรอการสง่ข้อมูลระหวา่ งเคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ คร่ืองอืน่ ๆ ทาให้การสง่ ข้อมลู มีความรวดเรว็ แตค่ า่ ใชจ้ า่ ยสายเคเบ้ิลกส็ ูงด้วยเชน่ กนั เป็นรูปแบบที่ถอื วา่ สามารถป้องกนั การผิดพลาดท่ีอาจจะเกดิ ข้ึนกบั ระบบไดด้ ีที่สุด เป็นรูปแบบท่ีใชว้ ิธีการเดินสายของแตเ่ ครื่องไปเช่อื มการติดตอ่ กบั ทุกเคร่ืองในระบบเครือขา่ ย คือเคร่ืองทุกเครื่องในระบบเครือขา่ ยน้ี ต้องมสี ายไปเชอ่ื มกบั ทุก ๆ เคร่ือง ระบบน้ียากตอ่ การเดินสายและมรี าคาแพง จึงมคี อ่ ยมผี นู้ ิยมมากนัก ขอ้ ดี 1. อตั ราความเรว็ ในการสง่ ข้อมลูความเชื่อถือได้ของระบบ 2. งา่ ยตอ่ การตรวจสอบความผิดพลาด 3. ขอ้ มลู มีความปลอดภยั และมี
ความเป็นสว่ นตวั ข้อเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยสายเคเบิ้ลสูง เชน่ ถา้ ในกรณีที่จานวนโหนดมากเชน่ ถ้าจานวนโหนดท้งั หมด ในเครือขา่ ยมอี ยู่ 100 โหนด จะต้องมจี านวนจดุ เชอ่ื มตอ่ ถึง 4,950 เสน้ เป็นต้นตอบ ข้อดีของการตอ่ แบบ Client / Server· ให้ประสิทธิภาพในการแบง่ ปันการใชง้ านทรพั ยากรแกไ่ คลเอนต์ได้ดีกวา่ เน่ืองจากคอมพิวเตอรท์ ่ีถูกนามาใชเ้ ป็นเซิรฟ์ เวอรม์ กั เป็นเครื่องท่ีมีประสทิ ธิภาพสูง· การรักษาความปลอดภยั สามารถทาไดด้ กี วา่ เนื่องจากการดูแลความปลอดภยั เป็นไปในรูปแบบรวมศูนย์ (Centralized) ผใู้ ชง้ านที่จะเขา้ มาสเู่ครือขา่ ยเพอ่ื ใชง้ านเซิรฟ์ เวอรจ์ ะต้องได้รับอนุญาตเสียกอ่ น· งา่ ยตอ่ การบริหารจดั การหากเครือขา่ ยถูกขยายขนาด รวมท้ังมีผูใ้ ชง้ านเพิ่มข้นึ· สามารถติดต้งั แอพพลิเคชนั (Application) ไวท้ ่ีเซิรฟ์ เวอรเ์ พยี งชดุ เดียว และแบง่ ใชง้ านแก ่ผใู้ ชง้ านเป็นจานวนมาก ทาใหป้ ระหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยในเรื่องซอฟตแ์ วรไ์ ด้ดี· สามารถสารองหรือทาสาเนาขอ้ มลู ที่ศูนยก์ ลาง ทาใหส้ ะดวกรวดเร็วขอ้ ด้อยของการตอ่ แบบ Client / Server· คา่ ใชจ้ า่ ยในการติดต้งั เซิรฟ์ เวอร์ 1 ตัวสูงกวา่ คอมพิวเตอร์ทัว่ ไป อกี ท้งั ผูด้ ูแลจะตอ้ งมคี วามรู้พอสมควร· จะตอ้ งมีผดู้ ูแลและจัดการเซิรฟ์ เวอร์เป็นการเฉพาะ1.1.1 Web Server ทาหนา้ ท่ีอยา่ งไรตอบ - Web server คือโปรแกรมที่มีหน้าท่ีให้บริการดา้ นการจดั การเวบ็ ไซต์โดยสว่ นมากโปรแกรมที่นิยมใชเ้ ป็น Web server จะเป็น Apache web server 1.1.2 Mail server ทาหนา้ ท่ีอยา่ งไร
ตอบ คือ เครื่องบริการรับ-สง่ จดหมายสาหรบั สมาชิก บริการท่ีมใี ห้ใชเ้ ชน่ รบั -สง่ จดหมาย ท้ังแบบที่เป็นข้อความและรูปภาพ โดยสง่ ในรูปแบบ Attach file และมีท่ีเกบ็ ข้อมลู ผตู้ ิดตอ่ เรียกวา่Address book เป็นตน้ ตวั อยา่ ง mail server ท่ีเป็นท่ีรูจ้ กั ทว่ั ไป เชน่ hotmail.com หรือ thaimail.com เป็นตน้1.1.3 File Server ทาหนา้ ท่ีอยา่ งไรตอบ ทาหนา้ ท่ีจัดเกบ็ ไฟล์ โดยการจดั เกบ็ ไฟล์จะทาเสมือนเป็นฮาร์ดดิสกร์ วมศูนย์เสมือนวา่ผใู้ ชง้ านทุกคนมีที่เกบ็ ข้อมูลอยทู่ ่ีเดียว เพราะควบคมุ -บริหารง่าย การสารองข้อมูล การ Restoreง่าย ขอ้ มลู ดังกลา่ ว Shared ให้กบั Client ได้ โดยสว่ นมากข้อมลู ท่ีอยใู่ น File Server คือโปรแกรมและข้อมูล (Personal Data File)1.1.4 Print Server ทาหนา้ ที่อยา่ งไรตอบ Print Server คืออปุ กรณเ์ สริมที่ทาให้เคร่ืองพิมพข์ องคณุ สามารถแบง่ ปันการใช้งานในระบบเครือขา่ ยได้ง่าย สะดวก และรวดเรว็ ยง่ิ ข้ึน อธิบายงา่ ยๆ กค็ ือทาให้ เครื่องพิมพ์ หรือPrinter ของคณุ สามารถใชง้ านรว่ มกนั ได้ผา่ นทางระบบเครือขา่ ย (ตอ่ สายแลนเช่อื มเข้าหากนั )ทาใหเ้ คร่ืองพมิ พข์ องคณุ กลายมาเป็นคอมพวิ เตอร์เคร่ืองหน่ึง มี IP Address เชน่ เดี่ยวกบัคอมพวิ เตอร์1.2. Peer to Peer มีลกั ษณะอยา่ งไร และมขี อ้ ดี-ขอ้ เสียอยา่ งไรตอบ ข้อดี (Advantages) ไมต่ อ้ งการระบบปฏิบัติการ (OS) สาหรับเครือขา่ ย ไม่จาเป็นต้องใช้Server เพราะแตล่ ะเครื่องสามารถเข้าถึงขอ้ มูลได้ ไมต่ ้องใชผ้ เู้ ช่ยี วชาญเพราะผใู้ ช้แตล่ ะคนสามารถไฟล์ท่ีต้องการแบง่ ปันไดด้ ว้ ยตนเอง การต้งั คา่ ไดง้ ่ายกวา่ ระบบเครือขา่ ยแบบไคลเอนต์เซิรฟ์ เวอร์ (Client/Server Networksและ ไมจ่ าเป็นต้องมีความรู้เฉพาะทาก หากคอมพวิ เตอรเ์ คร่ืองหน่ึงลม้ เหลวจะไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ สว่ นอ่ืนๆของเครือขา่ ยแตน่ ั่นก็หมายความวา่ ผอู้ ื่นจะไมส่ ามารถเข้าถึงไฟลง์ านได้ขอ้ เสยี (Disadvantages) คอมพิวเตอรอ์ าจมกี ารเขา้ ถึงโดยบุคคลอนื่ ซ่ึงอาจทาใหป้ ระสทิ ธิภาพการใชง้ านลดลงไฟลแ์ ละโฟลเดอร์ไมไ่ ดม้ กี ารสารองขอ้ มูลจากสว่ นกลาง ไฟล์และทรพั ยากรที่
ไมไ่ ดอ้ ยใู่ น “พ้นื ที่แบง่ ปัน”อาจจะยากตอ่ การเข้าถึงหากผใู้ ชม้ ีการ จัดเกบ็ ที่ไมเ่ป็นระบบเป็นความรบั ผดิ ชอบของผใู้ ชแ้ ตล่ ะคนที่จะไมใ่ ห้ไวรัสติดเขา้ มาในระบบเครือขา่ ยระบบรักษาความปลอดภยั มนี อ้ ยหรือไมม่ ีเลยซ่ึงบอ่ ยคร้งั ท่ีผใู้ ชไ้ มม่ ีการระบุตวั ตนใน การเข้าระบบ(log on)2. ระบบเครือขา่ ยท้องถ่ิน (Local Area Network :LAN) ท่ีนิยมสูงสดุ มีอยู่ 3 ชนิดคือตอบ 1. เครือขา่ ยสว่ นบุคคล หรือแพน ( Personal Area Network: PAN ) 2. เครือขา่ ยเฉพาะท่ี หรือแลน ( Local Area Network: LAN ) 3. เครือขา่ ยนครหลวง หรือแมน (Metropolitan Area Network: MAN)2.1 อเี ทอร์เน็ต (Ethernet) ให้นกั ศึกษาสรุป ขอ้ แตกตา่ งรูปแบบการเชื่อมโยงเครือขา่ ยอีเทอรเ์ น็ตตามมาตรฐานตอ่ ไปน้ีตอบ 2.1.1 10Base5 เป็นคร้งั แรกที่มจี าหนา่ ยในทอ้ งตลาดของ อีเทอรเ์ น็ต 10BASE5 ใชส้ ายโคแอกเชียลความหนาและความแข็งสงู ถึง 500 เมตร (1,600 ฟุต) สามารถเชอ่ื มตอ่ สถานีได้สงู สดุ 100 สถานีโดยใช้ กอ๊ ปป้ี แวมไพร์ และแชร์ โดเมนการชนกนั แบบเดียวกบั 10 Mbit / sแบนด์วธิ ท่ี ใชร้ ว่ มกนั ระบบยากที่จะติดต้งั และบารุงรักษา 10BASE5 ถูกทดแทนโดยทางเลือกท่ีถูกกวา่ และสะดวกสบายกวา่ มาก: แรกโดย 10BASE2 ข้ึนอยกู่ บั สาย Coaxial ทินเนอรแ์ ละเมอ่ืEthernet ผา่ นคู่Twisted ได้รับการพฒั นาโดย 10BASE-T และตัวสบื ทอด 100BASE-TX และ1000BASE-T ณ วนั ท่ี 2003 IEEE 802.3 ได้ เลิกใช้มาตรฐานน้ีสาหรับการติดต้งั ใหม่ 2.1.2 10Base2 เป็น Ethernet ที่ใช้สายโคแอกเซียล บาง ตัวที่เชือ่ มตอ่ กบั ข้วั ตอ่ BNC ในชว่ งกลางถึงปลายยุค 80 น้ีเป็นมาตรฐานอเี ทอร์เน็ต 10 Mbit / s แตเ่ นื่องจากความต้องการท่ียงิ่ ใหญ่สาหรบั เครือขา่ ยความเร็วสูงตน้ ทุนต่าของ สายเคเบิลประเภท 5 และความนิยมของเครือขา่ ยไร้สาย 802.11 ท้งั 10BASE2 และ 10BASE5 ไดก้ ลายเป็น ลา้ สมยั แมว้ า่ อปุ กรณ์จะยงั อยูใ่ นบางพืน้ ที่กต็ าม [1] นบั จาก 2011 IEEE 802.3 ได้ เลิกใช้มาตรฐานน้ีสาหรบั การติดต้งั ใหม่ 2.1.3 10BaseT เป็นเทคโนโลยอี ีเธอร์เน็ตผา่ นคบู่ ิด ใช้ สายเคเบิลคบู่ ิด สาหรบั ช้นั ทางกายภาพ ของเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ อเี ธอรเ์ นต็ เป็นเซตยอ่ ยของ อเี ธอร์เน็ต ทุกช้นั Early Ethernetใช้ สายเคเบิลครู่ ว่ มหลายสาย แตใ่ นปี 1984 StarLAN แสดงศกั ยภาพของ คบู่ ิดแบบไมห่ ุ้มฉนวน
สิง่ น้ีนาไปสกู่ ารพฒั นา 10BASE-T และสบื ทอด 100BASE-TX , 1000BASE-T และ10GBASE-T รองรับความเร็ว 10, 100 Mbit / s และ 1 และ 10 Gbit / s ตามลาดับ [เป็น]มาตรฐานเหลา่ น้ีใชข้ ้ัวตอ่ 8P8C , [b] และสายเคเบิลจาก Cat 3 ไป Cat 82.2 ไอบีเอม็ โทเค็นริง (IBM Token Ring) ให้นกั ศึกษาสรุปกลไกการสง่ ข้อมูลตอบ โปรโตคอล CSMA/CD ที่ใชง้ านบนเครือขา่ ยอเี ทอร์เนต็ เป็นกลไกการสง่ ขอ้ มูลบนเครือขา่ ยที่มโี อกาสเกิดการชนกนั ของกลุม่ ข้อมลู สงู เม่ือการจราจรบนเครือขา่ ยหนาแนน่ ในขณะเดียวกนั โปรโตคอล Token Passing ท่ีใชง้ านบนเครือขา่ ยโทเค็นริงน้นั จะไมก่ อ่ ให้เกดิ การชนกนั ของกลุม่ ข้อมูลเลย กลไกการทางานของ Token Passing กค็ ือ ในชว่ งเลาหน่ึงจะมีเพียงโหมดเดียวท่ีสามารถสง่ ขอ้ มูลในขณะน้นั ได้ นัน่ กค็ ือโหมดที่ครอบครองโทเคน็ โดยโทเคน็ จะไปพรอ้ มกบั ขอ้ มลู ท่ีสง่ ไปยงั โหมดภายในวงแหวน หากโหมดใดได้รบั ขอ้ มลู พร้อมรหสั โทเค็นแล้วตรวจสอบพบวา่ ไมใ่ ชข่ อ้ มูลที่สง่ มายงั ตน กจ็ ะสง่ ทอดไปยงั โหมดถดั ไปภายในวงแหวนไปเร่ือยๆจนกระทงั่ ถึงโหมดปลายทางที่ต้องการ เม่อื ครบรอบวงแล้วรหัสโทเค็นกจ็ ะเขา้ สสู่ ภาวะวา่ งอีกคร้งั หน่ึง ดว้ ยการสง่ ทอดรหสั วา่ งไปตามวงแหวนผา่ นโหมดตา่ งๆ เป็นวงรอบและพรอ้ มท่ีจะใหโ้ หมดอนื่ ๆ ครอบครองโทเคน็ เพื่อการสง่ ขอ้ มูลในรอบตอ่ ไป สาหรับสายเคเบิ้ลที่ใชง้ านบนเครือขา่ ยไอบีเอม็ โทเคน็ ริง สามารถใชส้ ายแบบเอสทีพหี รือยูทีพีกไ็ ด้ พร้อมหวั ปลก๊ั เชื่อมตอ่ชนิด IBM-Type12.3 เอฟดีดีไอ (Fiber Data Distributed Interface :FDDI) ให้นักศึกษาสรุปหนว่ ยงานใดเป็นผู้กาหนดมาตรฐาน และอธิบายลักษณะของการสง่ ขอ้ มลู บนเครือขา่ ย เอฟดีดีไอ รวมท้งั อธิบายการทางานของวงแหวนท้ัง 2 วงด้วยตอบ เอฟดีดีไอ หรือเรียกอกี ชือ่ เต็มวา่ Fiber Distributed Data Interface:FDDI คือ หนว่ ยงานANSI ไดท้ าการกาหนดโปรโตรคลอที่ใชง้ านบนเครือขา่ ยท้องถิ่น โดยมีการควบคมุ แบบโทเคร็ ิง ดว้ ยการสง่ ขอ้ มูลที่มคี วามเรว็ ถึง 100 เมกะบิตตอ่ วินาทีบนสายเคเบิลใยแกว้ นาแสง กลไกการสง่ ขอ้ มลู บนเครือขา่ ยเอฟดีดีไอจะใช้Token Passing เชน่ เดียวกบั ไอบีเอม็ โทเค็นริง แตเ่ อฟดีดีไอ(FDDI) จะทางานด้วยความเรว็ ท่ีสงู กวา่ ประกอบกบั เครือขา่ ยเอฟดีดีไอยงั สามารถที่จะ
ออกแบบเพ่ือรอบรบั ในความเสียหาของระบบไดด้ ี ด้วยการเพิ่มวงแหวนในระบบเครือขา่ ยอกีรวมเป็น 2 วงแหวนด้วยกนั ซ่ึงประกอบดว้ ยวงแหวนปฐมภมู ิและวงแหวนทุติยภูมิวงแหวนปฐมภูม(ิ Primary Ring) คือ วงแหวนหลักดา้ นนอกซ่ึงใชเ้ ป็นสายสง่ ข้อมูลหลักภายในระบบเครือขา่ ย โดยรหัสโทเคน็ จะวง่ิ วนรอบวงแหวนทิศทางใดกท็ ิศทางหน่ึงวงแหวนทุติยภูม(ิ Secondary Ring) คือวงแหวนสารองที่อยดู่ ้านในสดุ โทเค็นท่ีอยใู่ นวงแหวนดา้ นในจะวง่ิ ในทิศทางตรงกนั ขา้ มกบั วงแหวนดา้ นนอกโดยวงแหวนทุตยิ ภูมิจะถูกใชง้ านก็ตอ่ เมือ่ วงแหวนปฐมภมู เิ กดิ ปัญหาเทา่ น้ัน เชน่ สายเคเบิลที่วงแหวนในปฐมภมู เิ กดิ การขาดและเม่เื หตุการณเ์ ชน่ น้ีเกดิ ข้ึน วงจรภายในวงแหวนทุตยิ ภูมิกจ็ ะเร่ิมทางานทันทดี ้วยการเช่ือมตอ่ เข้ากบั วงแหวนปฐมภูมิ ทาให้สามารถประคับประคองระบบใหย้ งั คงสามารถทางานตอ่ ไปได้ โดยเทเคน็ เองกย็ งั คงสามารถวิ่งภายในรอบวงแหวนไดเ้ ชน่ เดิม ทาให้เครือขา่ ยสามารถดาเนินการตอ่ได้ตามปกติอุปกรณ์สาหรับเช่ือมต่อเครือข่ายประเภท LANการ์ด (lan) เครื่องพซี จี ะเช่ือต่อกนั เป็ นระบบ LAN ขึ้นมาน้นั แต่ละเครื่องต้องติดต้งั การ์ด LANเครื่องร่นุ ใหม่ๆอาจจะมกี าร์ด LAN ฝังตัวอย่ใู นบอร์ดให้แล้ว (Lan Onboard) หรือในโน๊ตบ๊คุใหม่ๆกม็ กั จะมพี อร์ต LAN มาให้แล้ว โดยส่วนใหญ่จะมคี วามเรว็ 1000หรือ100 เมกกะบติ (ถ้าเป็ นรุ่นเก่าจะมคี วามเรว็ เพยี ง 10 เมกกะบติ ต่อวินาทีเท่าน้นั ) เรยี กว่าเป็ น Fast Ethernet และบางแบบก็อาจใช้ได้ท้งั 2 ความเรว็ โดยสามารถปรบั แบบอัตโนมตั แิ ล้วแต่จะไปเชื่อมต่อกบัอปุ กรณ์ Hub หรือ Switch แบบใดการ์ด LAN ร่นุ ใหมจ่ ะมคี ณุ สมบัติ Plug&Play หรือ PnP มกัเสียบเข้ากับสล๊อตแบบ PCI (การ์ดร่นุ เก่าจะใช้กบั สล๊อตแบบ ISA ซึ่งไม่ค่อยพบแล้ว จึงไม่ขอกล่าวถงึ ) โดยมชี ่องด้านหลงั เครื่องให้เสียบสายได้
ฮบั (hub) เป็ นอุปกรณ์ทรี่ วมสัญญาณท่มี าจากอปุ กรณ์รับส่งหลายๆ สถานี เข้าด้วยกนั ฮับเปรียบเสมือนเป็ นบสั ท่ีรวมอย่ทู ี่จดุ เดยี วกนั ฮบั ท่ีใช้งานอย่ภู ายใต้มาตรฐานการรับส่งแบบอเี ทอร์เนต็ หรือ IEEE802.3 ข้อมลู ทร่ี ับส่งผ่านฮบั จากเคร่ืองหนึง่ จะกระจายไปยงั ทกุ สถานที ต่ี ่ออย่บู นฮบั น้นั ดังน้นั ทกุ สถานีจะรับสัญญาณข้อมลู ที่กระจายมาได้ท้งั หมด แต่จะเลือกคัดลอกเฉพาะข้อมลู ท่สี ่งมาถึงตนเท่าน้นั การตรวจสอบข้อมลู จงึ ต้องดทู ่ีแอดเดรส(address)ที่กากับมาในกล่มุ ของข้อมลู หรือแพก็ เก็ตสวิตซ์(switch) เป็ นอปุ กรณ์รวมสัญญาณท่ีมาจากอุปกรณ์รบั ส่งหลายสถานเี ช่นเดียวกับฮบั แต่มีข้อแตกต่างจากฮับ กล่าวคือ การรบั ส่งข้อมลู จากสถานี (อปุ กรณ์) ตวั หนึ่ง จะไมก่ ระจายไปยงั ทกุสถานี (อุปกรณ์) เหมือนฮบั ท้งั น้ีเพราะสวิตช์จะรับกล่มุ ข้อมลู (แพก็ เกต็ ) มาตรวจสอบก่อน แล้วดูว่ามา แอดเดรสของสถานปี ลายทางไปทีใ่ ด สวิตช์จะนาแพ็กเกต็ หรือกล่มุ ข้อมลู น้นั ส่งต่อไปยงัสถานี (อปุ กรณ์) เป้าหมายให้อย่างอตั โนมตั ิ สวิตช์จะลดปัญหาการชนกันของข้อมลู เพราะไม่ต้องกระจายข้อมลู ไปทกุ สถานี และยังมขี ้อดใี นเรื่องการป้องกนั การดกั จบั ข้อมลู ทก่ี ระจายไปในเครือข่าย
เราเตอร์ (router) ในการเชื่อมโยงเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกัน หรือเช่ือมโยงอุปกรณ์หลายอย่างเข้าด้วยกนั ดังน้นั จึงมเี ส้นทางการเข้าออกของข้อมลู ได้หลายเส้นทาง และแต่ละเส้นทางอาจใช้เทคโนโลยีเครือข่ายทต่ี ่างกนั อปุ กรณ์จัดเส้นทางจะหาเส้นทางทีเ่ หมาะสมให้การที่อปุ กรณ์จดั หาเส้นทางเลือกเส้นทางได้ถกู ต้องเพราะแต่ละสถานภี ายในเครือข่ายมแี อดเดรสกากับ อุปกรณ์จดั เส้นทางต้องรบั ร้ตู าแหน่งและสามารถนาข้อมลู ออกทางเส้นทางได้ถูกต้องตามตาแหน่งแอดเดรสท่กี ากบั อย่ใู นเส้นทางน้นั รวมท้งั การจัดรูปแบบและนาเสนอข้อมลู โดยกาหนดสาย UTP (Unshield Twisted Pair) สายทใ่ี ช้กับ LAN เรียกว่าสาย UTP (Unshield TwistedPair) ซงึ่ ใช้หวั ต่อแบบ RJ-45 ซึ่งมที ้งั หมด 8 ขา สายแบบนี้ทเี่ ข้าหัวไว้แล้วจะหาซื้อได้ตามร้านขายอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ทว่ั ไป หรือจะซื้อแบบเป็ นม้วนมาตัดเข้าหวั เองกไ็ ด้ แต่ต้องมเี ครื่องมือหรือคมี เข้าหัว RJ-45 โดยเฉพาะ มขี ้อจากดั คือ จะต้องยาวไม่เกิน 100 เมตร จากเครื่องไปยังSwitch และแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทตามลักษณะการใช้งาน คือ• สายตรง (Straight-through Cable) คือสายปกติท่ใี ช้เช่ือมระหว่างการ์ด LAN และ Hub /Switch• สายไขว้ (Crossover Cable) ใช้ต่อการ์ด LAN บนคอมพวิ เตอร์ 2 เคร่ืองหรือพอร์ตของ Hubหรือ Switch 2 ตัวโดยตรง เพ่ือเพม่ิ ขยายพอร์ต ซง่ึ วิธกี ารเข้าหวั จะต่างจากปกติ
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: