Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อดิจิทัล

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อดิจิทัล

Published by Onanong Bunpeng, 2022-08-18 09:42:23

Description: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อดิจิทัล

Search

Read the Text Version

ความรเู้ บือ้ งต้น เกี่ยวกับสื่อดิจิทลั

จดั ทาโดย 1. น.ส อรอนงค์ บุญเพ็ง รหัสนักศึกษา 64302040021 2. น.ส เบญจรตั น์ ทองหลอ่ รหสั นกั ศกึ ษา 64302040022 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล

ความหมายของสื่อดิจิทลั สื่อดิจิทัล เป็นนวัตกรรมที่สร้างขึ้นมาทดแทนสิ่งที่มีอยู่เดิม เพื่อให้ราคาถูกลงและ รักษาไว้ซึ่งคุณภาพ เอื้อต่อประโยชน์การใช้สอย ที่มากกว่าเดิมและสื่อ ดิจิตอล (ตรงกันขา้ มกบั สื่ออนาลอ็ ก) มกั หมายถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งทางานโดยใช้รหัสดิจิตอล ในปัจจุบัน การเขียนโปรแกรมตั้งอยู่บนพื้นฐานของเลขฐานสอง ในกรณีนี้ ดิจิตอล หมายถึงการแยกแยะระหว่าง \"0\" กับ \"1\" ในการแสดงข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็น เคร่ืองจกั รทีม่ กั จะแปลข้อมูลดจิ ิตอลฐานสองแล้วจึงแสดงชั้นของเครื่องประมวลผลชั้น ของข้อมูลดิจิตอลที่เหนือกว่า สื่อดิจิตอลเช่นเดียวกับสื่อเสียง วิดีโอ หรือเนื้อหาดิจิตอล อื่น ๆ สามารถถูกสร้างขึ้น อ้างอิงถึงและได้รับการแจกจ่ายผ่านทางเครื่องประมวลผล ข้อมูลดิจิตอล สื่อดิจิตอลได้นามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงเมื่อเทียบกับสื่อ อนาลอ็ ก

1 ข้อความ (Text) 2 เสียง 3 ภาพน่ิง (Audio) องค์ประกอบ (Still Image) ของสื่อดิจิทัล 4 ภาพเคล่ือนไหว (Animation) 5 ภาพวีดีโอ (Video) องค์ประกอบของส่ือดิจติ อลเบอ้ื งตน้ จงึ นา่ จะเป็นอย่างเดียวกนั กับองคป์ ระกอบเบ้ืองตน้ ของ มลั ตมิ ีเดยี ด้วย ซง่ึ มกั ประกอบไปดว้ ยพ้ืนฐาน 5 ชนดิ

องคป์ ระกอบของส่อื ดิจิทัล 1. ข้อความ เป็นสว่ นท่ีเก่ยี วกบั เน้ือหาของ มลั ตมิ ีเดยี ใชแ้ สดงรายละเอียด หรอื เนอ้ื หาของเร่ืองที่ นาเสนอ ถอื วา่ เปน็ องคป์ ระกอบพน้ื ฐานทส่ี าคัญของ มลั ติมเี ดยี ระบบมลั ติมเี ดียทน่ี าเสนอผ่านจอภาพของ เครอื่ งคอมพิวเตอร์ นอกจากจะมีรปู แบบและสีของ ตวั อักษรให้เลือกมากมายตามความต้องการแลว้ ยัง สามารถกาหนดลกั ษณะของการปฏิสัมพันธ์ (โตต้ อบ) ในระหว่างการนาเสนอได้อกี ดว้ ย ซึง่ ปจั จบุ ัน มีหลาย รปู แบบ ไดแ้ ก่

องคป์ ระกอบของสอ่ื ดิจทิ ัล (ตอ่ ) 1. ข้อความ (ต่อ) 1.1 ข้อความทไี่ ดจ้ ากการพิมพ์ เปน็ ขอ้ ความปกติท่ีพบไดท้ ว่ั ไป ไดจ้ ากการพมิ พด์ ้วย โปรแกรมประมวลผลงาน (Word Processor) เชน่ NotePad, Text Editor, Microsoft Word โดย ตัวอกั ษรแต่ละตัวเกบ็ ในรหสั เชน่ ASCII.

องค์ประกอบของส่อื ดิจิทลั (ต่อ) 1. ข้อความ (ต่อ) 1.2 ข้อความจากการสแกน เป็นข้อความ ในลักษณะภาพ หรอื Image ไดจ้ ากการนาเอกสารท่ี พมิ พไ์ วแ้ ล้ว(เอกสารต้นฉบบั ) มาทาการสแกน ดว้ ย เครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) ซึง่ จะได้ผลออกมาเป็น ภาพ(Image) 1ภาพ ปัจจบุ ันสามารถแปลงข้อความ ภาพ เป็นขอ้ ความปกตไิ ด้ โดยอาศัยโปรแกรม OCR ขอ้ ความอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เป็นขอ้ ความทพี่ ฒั นาใหอ้ ย่ใู น รปู ของส่ือ ท่ีใช้ประมวลผลได้

องค์ประกอบของสอ่ื ดจิ ิทลั (ต่อ) 1. ข้อความ (ต่อ) 1.3 ข้อความอเิ ล็กทรอนกิ ส์ เป็น ข้อความท่พี ัฒนาให้อยใู่ นรูปของสือ่ ทใี่ ช้ ประมวลผลได้

องค์ประกอบของสอ่ื ดจิ ทิ ลั (ต่อ) 1. ขอ้ ความ (ต่อ) 1.4 ข้อความไฮเปอร์เทก็ ซ์ (HyperText) เปน็ รูปแบบของขอ้ ความ ที่ไดร้ บั ความนยิ มสูงมากในปัจจุบัน โดยเฉพาะการเผยแพรเ่ อกสารในรปู ของเอกสารเวบ็ เน่ืองจาก สามารถใช้เทคนิค การลงิ ก์ หรือเช่ือมข้อความไปยังขอ้ ความ หรอื จดุ อ่ืนๆ ได้

องค์ประกอบของส่อื ดจิ ิทลั (ตอ่ ) 2. เสียง ถูกจดั เกบ็ อยู่ในรูปของสัญญาณดจิ ติ อล ซง่ึ สามารถเลน่ ซา้ กลบั ไปกลบั มาได้ โดยใชโ้ ปรแกรมท่ี ออกแบบ มาโดยเฉพาะสาหรบั ทางานดา้ นเสยี ง หากใน งานมัลติมีเดยี มีการใชเ้ สียงทเี่ ร้าใจและสอดคลอ้ งกับ เนื้อหาใน การนาเสนอ จะช่วยให้ระบบมัลตมิ ีเดยี น้ันเกิด ความสมบูรณแ์ บบมากยิ่งขน้ึ นอกจากน้ยี ังช่วยสร้าง ความนา่ สนใจและนา่ ตดิ ตามในเร่อื งราวตา่ งๆ ได้เป็น อยา่ งดี ทง้ั น้เี นอ่ื งจากเสยี งมอี ิทธิพลตอ่ ผใู้ ชม้ ากกวา่ ขอ้ ความหรือภาพนง่ิ ดังนั้น เสยี งจึงเป็นองคป์ ระกอบที่ จาเป็นสาหรับมลั ตมิ เี ดยี ซึ่งสามารถนาเขา้ เสยี งผา่ นทาง ไมโครโฟน แผ่นซีดีดวี ีดี เทป และวทิ ยุ เป็นตน้

องคป์ ระกอบของสอื่ ดจิ ิทลั (ต่อ) 3. ภาพน่ิง เป็นภาพที่ไม่มกี ารเคลอื่ นไหว เช่น ภาพถา่ ย ภาพวาด และภาพลายเส้น เป็นตน้ ภาพน่งิ นับวา่ มีบทบาทตอ่ ระบบงานมลั ติมเี ดยี มากกวา่ ขอ้ ความ หรอื ตัวอกั ษร เนอ่ื งจากภาพจะใหผ้ ลในเชงิ การเรียนรู้ หรอื รับรดู้ ้วยการมองเหน็ ได้ดกี ว่า นอกจากน้ยี ัง สามารถถา่ ยทอดความหมายได้ลกึ ซึ่งมากกวา่ ข้อความ หรอื ตัวอักษรซง่ึ ข้อความหรอื ตวั อกั ษรจะมีข้อจากัด ทางด้านความแตกตา่ งของแต่ละภาษา แตภ่ าพนน้ั สามารถสื่อความหมายได้กบั ทกุ ชนชาติ ภาพนง่ิ มกั จะ แสดงอยบู่ นสอ่ื ชนิดตา่ งๆ เช่น โทรทศั น์ หนงั สือพิมพ์ หรอื วารสารวชิ าการ เป็นตน้ .

องค์ประกอบของส่ือดจิ ิทัล (ต่อ) 4. ภาพเคล่ือนไหว ภาพกราฟกิ ทีม่ ีการ เคลือ่ นไหวเพอื่ แสดงข้นั ตอนหรือปรากฏการณ์ ตา่ งๆ ทีเ่ กดิ ขนึ้ อย่างต่อเนอื่ ง เชน่ การเคล่ือนท่ี ของลูกสูบของเครื่องยนต์ เปน็ ต้น ท้งั น้เี พื่อ สร้างสรรคจ์ ินตนาการใหเ้ กิดแรงจูงใจจากผ้ชู ม การผลิตภาพเคล่ือนไหวจะตอ้ งใชโ้ ปรแกรมทม่ี ี คณุ สมบัติเฉพาะทางซึ่งอาจมปี ญั หาเกดิ ข้ึนอยบู่ า้ ง เก่ยี วกบั ขนาดของไฟล์ที่ตอ้ งใชพ้ ื้นทใี่ นการ จดั เกบ็ มากกว่าภาพน่งิ หลายเทา่

องค์ประกอบของส่ือดจิ ทิ ลั (ต่อ) 5. วดิ โี อ เป็นองคป์ ระกอบของมลั ติมีเดียท่ีมีความสาคัญเป็นอย่างมาก เน่ืองจาก วดิ ีโอในระบบดจิ ิตอล สามารถ นาเสนอขอ้ ความหรือรูปภาพ (ภาพนงิ่ หรอื ภาพเคล่ือนไหว) ประกอบกับเสียงไดส้ มบูรณ์มากกวา่ องค์ประกอบชนิดอื่นๆ อยา่ งไรกต็ าม ปัญหาหลกั ของ การใชว้ ดิ ีโอในระบบมลั ติมเี ดียก็คือ การสิ้นเปลืองทรัพยากรของพ้นื ทีบ่ นหน่วยความจาเปน็ จานวนมาก เนือ่ งจากการนาเสนอวดิ ีโอดว้ ยเวลาท่ีเกิดขน้ึ จรงิ (Real-Time) จะต้อง ประกอบดว้ ยจานวนภาพไม่ต่ากว่า 30 ภาพตอ่ วนิ าที(Frame/Second) ถา้ หากการ ประมวลผลภาพดงั กลา่ วไมไ่ ด้ผา่ นกระบวนการบบี อดั ขนาดของสญั ญาณมากอ่ น การนาเสนอ ภาพเพยี ง 1 นาทอี าจต้องใช้หน่วยความจามากกว่า 100 MB ซงึ่ จะทาใหไ้ ฟลม์ ีขนาดใหญ่ เกนิ ขนาดและมีประสทิ ธิภาพในการทางานทดี่ ้อยลงน้นั เอง

ขอ้ ดี และ ข้อเสยี ของสอ่ื ดิจทิ ัล

ข้อดี ของสื่อดิจิทัล สามารถแลกเปล่ยี นขอ้ มูล ช่วยสรา้ งผลงานและ ความรูใ้ นสง่ิ ท่ีสนใจร่วมกันได้ รายไดใ้ ห้แก่ผ้ใู ชง้ าน เกดิ การจา้ งงานแบบใหม่ๆ เปน็ คลังขอ้ มูลความรขู้ นาดย่อม ท่สี ามารแลกเปล่ียนความรู้ได้ คลายเครียดไดส้ าหรับ ผูใ้ ชท้ ีต่ อ้ งการหาเพื่อน ประหยดั ค่าใช้จา่ ยในการตดิ ตอ่ สื่อสาร กับคนอื่น สะดวกและรวดเรว็ คุยเล่นสนกุ ๆ

ข้อเสยี ของสือ่ ดิจิทลั เวบ็ ไซตใ์ หบ้ ริการบางแหง่ อาจจะ ถา้ หมกมุ่นมากเกนิ ไปอาจ เปดิ เผยขอ้ มลู สว่ นตัวมากเกนิ ไป ทา ให้เสยี การเรียนหรือผล อาจโดนหลอกลวงผ่าน การเรยี นตกตา่ ลงได้ อินเทอรเ์ น็ต หรอื การนดั เจอ เลน่ ส่ือเปน็ เวลานาน เพื่อจุดประสงค์ร้าย อาจสายตาเสยี ได้หรือ บางคนอาจตาบอดได้ เป็นชอ่ งทางในการถกู ละเมดิ ลิขสิทธ์ิ ขโมยผลงาน หรอื ถูกแอบอ้าง

ขอ้ สรุป ของส่ือดิจิทัล ในยคุ ท่เี ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร (ไอซีที) ในสาขาตา่ งๆ เช่น การโทรคมนาคม (Telecommunication) คอมพวิ เตอร์ (computer) อินเทอรเ์ น็ต (Internet) และการกระจายภาพและเสียง (Broadcast) ประสานกันรวมเป็นหนึ่ง เดียว หรอื ท่เี รียกว่า “การหลอมรวมของส่ือดจิ ติ อล (Digital Convergence)” ทา ให้เกดิ บรกิ ารใหมๆ่ ที่ใช้เทคโนโลยดี ังกล่าว ออกมามากมาย อาทิ โทรศัพทท์ างไกลผ่านเครือขา่ ยไอพี (ไอพโี ฟน) โทรทศั นท์ ีร่ บั ชมผ่านทางอนิ เทอรเ์ นต็ (IPTV) วทิ ยุ ออนไลน์ คลปิ วดิ โี อบนเว็บไซต์ เช่น ยทู ูปด์ อทคอม หรอื แม้แต่โมบายทวี ี ท่เี ป็นการดูโทรทัศน์ผ่านมือถือ เป็นต้น.... เปน็ สื่อท่ีใชก้ บั เปน็ เปน็ ศนู ย์กลาง สะดวก เปน็ ศนู ยก์ ารของ กระบวนการใน การ แหลง่ ข้อมลู ในการติดตอ่ รวดเร็ว สง่ิ อานวยสะดวก ทางานขององค์กรทงั้ สาคญั และ สื่อสารได้สะดวก ภาครฐั และเอกชน แหลง่ ท่ใี ช้ และรวดเรว็ และ และมคี วาม ประหยดั รวดเร็ว ทันสมัย เรียนรู้ คา่ ใช้จา่ ย

THANK YOU