Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

Description: เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เอกสารประกอบการเรียน

Keywords: เอกสารประกอบการเรียน

Search

Read the Text Version

~ก~

~ก~ ปกใน คำนำ เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมและความหลากหลาย ทางชีวภาพ จดั ทาข้ึนตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการ เรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในสาระท่ี 1 ส่ิงมีชีวติ กบั กระบวนการดารงชีวติ มีท้งั หมด 7 ชุด ดงั น้ี ชุดที่ 1 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ยนี และโครโมโซม ชุดท่ี 2 การแบ่งเซลล์ ชุดที่ 3 การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ชุดที่ 4 ความผดิ ปกติทางพนั ธุกรรม ชุดท่ี 5 การเปล่ียนแปลงทางพนั ธุกรรม ชุดท่ี 6 เทคโนโลยชี ีวภาพ ชุดที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพ เอกสารประกอบการเรียนเล่มน้ีเป็นชุดที่ 3 เรื่อง การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ขอให้ นกั เรียนอา่ นคาช้ีแจงใหเ้ ขา้ ใจก่อน และปฏิบตั ิตามดว้ ยความซื่อสัตยต์ ่อตนเอง เพื่อเป็นผลดีในการ สร้างองคค์ วามรู้ท่ียงั่ ยนื ผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ เอกสารประกอบการเรียนเล่มน้ี จะเป็นประโยชนต์ ่อการจดั การ เรียนรู้ และเป็นส่วนสาคญั ในการพฒั นากระบวนการเรียนรู้ตา่ งๆทางวทิ ยาศาสตร์ พรศิริ ทิพยส์ นั เทียะ

~จ~ สำรบญั เร่ือง หน้ำที่ ปกใน................................................................................................................................................ ก คานา................................................................................................................................................. ก สารบญั ............................................................................................................................................. จ สารบญั ภาพ ......................................................................................................................................ฉ คาแนะนาในการใชเ้ อกสารประกอบการเรียน...................................................................................1 สาหรับครู ..........................................................................................................................................1 คาแนะนาในการใชเ้ อกสารประกอบการเรียน...................................................................................2 สาหรับนกั เรียน .................................................................................................................................2 สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ช้ีวดั ..............................................................................................3 สาระสาคญั ........................................................................................................................................5 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้........................................................................................................................5 โครโมโซมกบั การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม...........................................................................6 โครงสร้างพ้ืนฐานของ DNA............................................................................................8 โครงสร้าง DNA กบั ความสัมพนั ธ์กบั หนา้ ท่ีสารพนั ธุกรรม ...........................................10 การศึกษาการถ่ายทอดทางพนั ธุกรรม..............................................................................12 การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมที่เป็นลกั ษณะเด่น....................................................13 ลกั ษณะตาบอดสี .............................................................................................................15 ภาวะพร่องเอนไซมก์ ลูโคส-6- ฟอสเฟต ดีไฮโดรจีเนส (G-6-PD) ..................................15 มลั ติเปิ ลแอลลีน (Multiple Allele) ..................................................................................16 บรรณานุกรม ...................................................................................................................................17

~ฉ~ สำรบญั ภำพ ภำพที่ หน้ำ ภาพที่ 1 แสดงโครโมโซม .................................................................................................................7 ภาพที่ 2 แสดงโครงสร้างของ DNA ..................................................................................................8 ภาพที่ 3 แสดงส่วนประกอบของ DNA ............................................................................................9 ภาพที่ 4 แสดงโครงสร้างยนี ............................................................................................................10 ภาพที่ 5 แสดงยนี ที่ควบลกั ษณะทางพนั ธุกรรม .............................................................................11 ภาพที่ 7 แสดงการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมที่เป็นลกั ษณะเด่น.............................................13 ภาพท่ี 8 แสดงตวั อยา่ งเพดีกรีการถ่ายทอดลกั ษณะการมีลกั ษณะนิ้วเกิน........................................14 ภาพท่ี 9 แสดงหมู่เลือดทีเกิดจากพอ่ แม่ที่มีเลือดหมู่ O และ AB.....................................................16

~1~ คำแนะนำในกำรใช้เอกสำรประกอบกำรเรียน สำหรับครู เอกสารเล่มน้ีเป็นเอกสารท่ีใชป้ ระกอบการเรียน ชุดท่ี 3 เรื่อง การถ่ายทอดลกั ษณะทาง พนั ธุกรรม ใชเ้ วลาในการศึกษา 3 ชวั่ โมง ครูควรเตรียมความพร้อมและปฏิบตั ิตามคาแนะนา ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ครูตอ้ งศึกษาเน้ือหาที่จะสอนและศึกษาเอกสารประกอบการเรียนใหเ้ ขา้ ใจก่อนโดยละเอียด 2. ครูเตรียมวสั ดุอุปกรณ์และห้องเรียนใหเ้ อ้ือตอ่ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 3. ครูช้ีแจงให้นกั เรียนเขา้ ใจบทบาทของตนเอง แนะนาข้นั ตอนการใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรู้ แนวปฏิบตั ิในระหวา่ งการดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ 4. ครูใชก้ ระบวนการจดั กิจกรรการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ตามข้นั ตอน ดงั น้ี 4.1 ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement) 4.2 ข้นั สารวจและคน้ หา (Exploration) 4.3 ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation) 4.4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) 4.5 ข้นั ประเมินผล (Evaluation) 5. ครูมีบทบาทหนา้ ที่ใหค้ าแนะนาและเป็นผอู้ านวยความสะดวกในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เนน้ ย้าใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิกิจกรรมตามข้นั ตอนดว้ ยความต้งั ใจ มีความซ่ือสัตย์ มีวนิ ยั และมี ความรับผดิ ชอบ จึงจะทาใหก้ ารเรียนรู้โดยใชเ้ อกสารประกอบการเรียนน้ีเกิดประโยชน์สูงสุด

~2~ คำแนะนำในกำรใช้เอกสำรประกอบกำรเรียน สำหรับนักเรียน เอกสารเล่มน้ี เป็นเอกสารท่ีใชป้ ระกอบการเรียน และเป็ นเอกสารที่นกั เรียนสามารถศึกษา ไดด้ ว้ ยตนเอง ให้นกั เรียนอา่ นคาแนะนา ทาตามคาช้ีแจงแต่ละข้นั ตอนต้งั แต่ตน้ จนจบ นกั เรียนจะ ไดร้ ับความรู้อยา่ งครบถว้ น โดยปฏิบตั ิตามข้นั ตอนดงั ต่อไปน้ี 1. ศึกษาจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เพอ่ื ใหท้ ราบวา่ เมื่อเรียนจบบท แลว้ นกั เรียนสามารถเรียนรู้อะไรไดบ้ า้ ง 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน แลว้ ตรวจคาตอบท่ีเฉลยไว้ ทา้ ยแบบกิจกรรมของแต่ละเรื่อง เพื่อใหร้ ู้วา่ นกั เรียนมีความรู้ พ้นื ฐานมากนอ้ ยเพยี งใด 3. ศึกษาเอกสารและปฏิบตั ิกิจกรรมตามที่กาหนดไวเ้ พื่อเป็นการทบทวนใหม้ ีความรู้ความ เขา้ ใจในเน้ือหามากยง่ิ ข้ึน 4. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน เพ่ือวดั ความรู้ความเขา้ ใจอีกคร้ังหน่ึง

~3~ สำระ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ และตวั ชีว้ ดั สำระท่ี 1 ส่ิงมชี ีวติ กบั กระบวนกำรดำรงชีวติ มำตรฐำน ว 1.2 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคญั ของการถ่ายทอดลกั ษณะทาง พนั ธุกรรม วิวฒั นาการของสิ่งมีชีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเ้ ทคโนโลยชี ีวภาพที่มีผล ต่อมนุษยแ์ ละสิ่งแวดลอ้ ม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวทิ ยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สำระท่ี 8 ธรรมชำติของวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี มำตรฐำน ว8.1 ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา ความรู้ การแกป้ ัญหา รู้วา่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติท่ีเกิดข้ึนส่วนใหญ่มีรูปแบบท่ีแน่นอนสามารถ อธิบายและตรวจสอบได้ ภายใตข้ อ้ มูลและเคร่ืองมือท่ีมีอยใู่ นช่วงเวลาน้นั ๆเขา้ ใจวา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คม และส่ิงแวดลอ้ ม มีความเกี่ยวขอ้ งสัมพนั ธ์กนั ตัวชี้วดั ว 1.2 ม. 4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพนั ธุกรรม การแปรผนั ทาง พนั ธุกรรม มิวเทชนั และการเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ

~4~ ข้นั ตอนกำรดำเนินกจิ กรรม เรื่อง กำรถ่ำยทอดลกั ษณะทำงพนั ธุกรรม ข้นั ที่ 1 การสร้างความสนใจ (Engagement Phase) (เวลา 20 นาที) 1. ครูต้งั คาถามกระตุน้ ความคิดแลว้ ใหน้ กั เรียนตอบเพ่ือนาเขา้ สู่กิจกรรมท่ี 1 - โครโมโซมสามารถนาลกั ษณะต่างๆถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกหลานไดอ้ ยา่ งไร? - นกั เรียนคิดวา่ หมูเ่ ลือดของลูกตอ้ งเหมือนกบั หมู่เลือดของพ่อแมเ่ สมอไปหรือไม่ ? 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เร่ือง การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ข้นั ที่ 2 การสารวจและคน้ ควา้ (Exploration Phase) (เวลา 60 นาที) 1. นกั เรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 3 การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม 2. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มปฏิบตั ิตามข้นั ตอนในกิจกรรมที่ 1 โครงสร้างดีเอนเอ 3. นกั เรียนแต่ละกลุ่มปฏิบตั ิตามข้นั ตอนในกิจกรรมที่ 2 เพดดีกรี 4. นกั เรียนร่วมกนั บนั ทึกผลและตอบคาถามทา้ ยกิจกรรมที่ 1 และกิจกรรมท่ี 2 ข้นั ท่ี 3 การอธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation Phase) (เวลา 60 นาที) 1. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมานาเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา้ ช้นั เรียน 2. ครูและนกั เรียนร่วมกนั วเิ คราะห์และอภิปรายผลการปฏิบตั ิกิจกรรม ข้นั ที่ 4 การขยายความรู้ (Elaboration Phase) (เวลา 20 นาที) 1. ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายสรุปองคค์ วามรู้ท่ีไดจ้ ากการเรียนรู้เกี่ยวกบั การถ่ายทอด ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม จากเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 3 การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ข้นั ท่ี 5 การประเมิน (Evaluation Phase) (เวลา 20 นาที) 1. นกั เรียนทาใบงานที่ 1 เร่ือง การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม โดยให้ นกั เรียนแต่ละคนตรวจคาตอบดว้ ยตนเอง

~5~ สำระสำคญั พันธุศาสตร์ (Genetics) เป็ นวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเก่ียวกับการถ่ายทอดลักษณะทาง พนั ธุกรรมจากรุ่นหน่ึงไปสู่อีกรุ่นหน่ึง โดยลักษณะต่างๆของสิ่งมีชีวิตจะถูกควบคุมด้วยหน่วย ควบคุมลกั ษณะ เรียกว่า ยีน (gene) ซ่ึงจะควบคุมให้สิ่งมีชีวิตน้นั มีโครงสร้าง รูปร่างส่วนประกอบ และลกั ษณะอื่นๆสอดคลอ้ งกบั รุ่นพอ่ แม่และถ่ายทอดไปยงั ลูก การศึกษากระบวนการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ทาไดจ้ ากการสืบประวตั ิลกั ษณะ ของบุคคลในครอบครัวยอ้ นหลงั ไปหลายๆรุ่นแล้วนามาเขียนแผนผงั เพดดีกรี (pedigree) จาก การศึกษาเพดดีกรีอาจพบลกั ษณะบางประการที่ผิดปกติที่แสดงออกมาหรือาจเป็ นลกั ษณะแฝงอยู่ และอาจถ่ายทอดสู่รุ่นลูกต่อไป จุดประสงค์กำรเรียนรู้ หลงั จากที่ศึกษาเน้ือหาและทากิจกรรมในเอกสารประกอบการเรียนน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ ทาส่ิงต่อไปน้ี 1. อธิบายโครงสร้างและบทบาทของ DNA 2. ระบุความสมั พนั ธ์ของโครโมโซมกบั การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม 3. อธิบายสัญลกั ษณ์และการเขียนเพดดีกรีการถ่ายทอดลกั ษณะพนั ธุกรรม 4. สรุปความรู้เร่ืองการถ่ายทอดลกั ษณะพนั ธุกรรมของหมู่เลือดและสามารถใชป้ ระโยชน์

~6~ โครโมโซมกบั กำรถ่ำยทอดลกั ษณะทำงพนั ธุกรรม ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีนิวเคลียส ซ่ึงนิวเคลียสมีโครโมโซม (Chromosome) ท่ีมี ลกั ษณะเหมือนเส้นดา้ ย โครโมโซมเหล่าน้ีมียนี (Gene) ที่ควบคุมลกั ษณะพนั ธุกรรมของเราท้งั หมด เทคนิคที่นิยมใชใ้ นการศึกษาจานวนและขนาดของโครโมโซม คือ การทาคาริโอไทป์ (Karyotype) โดยการสกดั แยกเอาโครโมโซมออกมาจากเซลล์ แลว้ ยอ้ มสีโดยวธิ ีเฉพาะ นาโครโมโซมมาจดั เขา้ คู่ กันตามขนาด รูปร่างเป็ นคู่ๆ สามารถใช้ในการตรวจสอบความผิดปกติท่ีเกิดข้ึนกับจานวน โครโมโซม และรูปร่างของโครโมโซมกไ็ ด้ โครโมโซม คือ เส้นใยของ DNA และโปรตีนต่างๆ ที่อยูร่ วมกนั และขดกนั แน่นจนเห็น เป็ นรูปร่างข้ึน โดยทั่วไปโครโมโซมแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ โครโมโซมร่างกาย (autosome)และ โครโมโซมเพศ (sex chromosome) โดยโครโมโซมของพวกยคู าริโอตประกอบดว้ ยสาย DNA และ โปรตีนฮีสโตน

~7~ ภำพที่ 1 แสดงโครโมโซม ท่ีมา: http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/science04/27/images/c2.jpg

~8~ โครงสร้ำงพืน้ ฐำนของ DNA ดีเอ็นเอ (deoxyribonucleic acid : DNA) เป็ นสารจาพวกกรดนิวคลีอิก ประกอบดว้ ยหน่วย ยอ่ ยท่ีเรียกวา่ นิวคลีโอไทด์ (nucleotide) มีโครงสร้างพ้ืนฐานประกอบดว้ ย 1. น้าตาล ใน DNA จะมีน้าตาลชนิดดีออกซีไรโบส ซ่ึงมีคาร์บอน 5 อะตอม 2. ไนโตรจีนสั เบส ซ่ึงมีอยู่ 4 ชนิด ไดแ้ ก่ - อะดีนีน (adenine หรือ A) - ไทมีน (thymine หรือ T) - ไซโทซีน (cytosine หรือ C) - กวานีน (guanine หรือ G) 3. หมู่ฟอสเฟต คือ PO43- ภำพท่ี 2 แสดงโครงสร้ำงของ DNA ที่มา: http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/science04/27/images/dna4.jpg

~9~ DNA ประกอบดว้ ยนิวคลีโอไทด์หลายๆนิวคลีโอไทด์ เรียงต่อกนั เป็ นสายยาวๆสองสาย พนั กันเป็ นเกลียวคู่วนขวา แต่ละนิวคลีโอไทด์ภายในสายเดียวกัน จะเชื่อมต่อกันระหว่างหมู่ ฟอสเฟตและน้าตาล ส่วนระหวา่ งสายยาวสองสายจะยึดกนั ดว้ ยพนั ธะไฮโดรเจนระหวา่ งหมู่เบสที่ เหมาะสมเสมอ ดงั น้ี  เบสอะดีนีนจบั คูก่ บั เบสไทมีน ดว้ ยพนั ธะสอง (A - T)  เบสกวานีนจบั คูก่ บั เบสไซโทซีน ดว้ ยพนั ธะสาม (C – G) เนื่องจากแตล่ ะสายของ DNA ประกอบดว้ ยนิวคลีโอไทดจ์ านวนมากนบั ลา้ นหน่วย และใน ลาดบั ของ นิวคลีโอไทดจ์ ะมีขอ้ มูลทางพนั ธุกรรม การเรียงลาดบั เบสของนิวคลีโอไทด์ จึงไมไ่ ด้ มากมายหลายรูปแบบและส่งผลให้ DNA มีความแตกต่างกนั ภำพที่ 3 แสดงส่วนประกอบของ DNA ที่มา: http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/science04/28/PIX/DNA-DoubleHelix.jpg

~ 10 ~ โครงสร้ำง DNA กบั ควำมสัมพนั ธ์กบั หน้ำทส่ี ำรพนั ธุกรรม 1. การจบั คูเ่ บสใน DNA มีความจาเพาะเจาะจง ความจาเพาะเจาะจง ทาให้เซลล์ตอ้ งจาลอง DNA ข้ึนมาใหม่ โดยมีลกั ษณะเหมือน DNA ตน้ แบบ ดงั น้นั ขอ้ มูลทางพนั ธุกรรมจึงสามารถถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นได้ 2. ลาดบั ของนิวคลีโอไทดใ์ น DNA การเรียงลาดบั ของนิวคลีโอไทด์ สามารถควบคุมให้เซลล์สังเคราะห์โปรตีนและสารต่างๆ ไดเ้ พอ่ื แสดงลกั ษณะทางพนั ธุกรรมใหป้ รากฏ 3. ลาดบั นิวคลีโอไทดใ์ น DNA เกิดการเปล่ียนแปลงได้ การเปล่ียนแปลงลาดบั นิวคลีโอไทด์ ทาให้เกิดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ีแตกต่างไปจากเดิม และส่งผลให้สิ่งมีชีวิตมีความหลากหลายทางพันธุกรรม เกิดจากการแลกเปล่ียนชิ้นส่วนของ โครโมโซมจากแบ่งเซลลส์ ืบพนั ธุ์ หรือ เกิดมิวเทชนั ทาใหเ้ กิดววิ ฒั นาการ ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมกาหนดโดยยนี (gene) เป็นลาดบั เบสของนิวคลีโอไทดช์ ่วงหน่ึงๆ บน DNA ท่ีมีขอ้ มูลสาหรับสงั เคราะห์โปรตีนแต่ละชนิด DNA เป็นส่วนประกอบของโครโมโซม ยนี จึงอยบู่ นโครโมโซม ภำพท่ี 4 แสดงโครงสร้ำงยนี ท่ีมา: http://www.phanphit.ac.th/arunya/Biology/bio011.htm

~ 11 ~ ยีนท่ีควบคุมลกั ษณะทางพนั ธุกรรมจะอยู่เป็ นคู่ๆ ในตาแหน่งเดียวกนั บนโฮโมโลกัส โครโมโซม จะควบคุมลกั ษณะเดียวกนั เรียกยีนที่ควบคุมลกั ษณะเดียวกนั แต่ให้รูปแบบลกั ษณะ ตา่ งกนั วา่ แอลลีล (allele) กาหนดให้ A แทนยนี ที่ควบคุมลกั ษณะเด่น a แทนยนี ท่ีควบคุมลกั ษณะดอ้ ย ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ีปรากฏจะข้ึนอยกู่ บั แอลลีลในแต่ละโครโมโซม เช่น ยนี ที่ควบคุม ลกั ษณะคางบุ๋ม ปรากฏอยา่ งนอ้ ย 2 แบบ เรียกวา่ แอลลีล N และ n ดงั น้นั จีโนไทป์ (genotype) ของลกั ษณะคางบุ๋มจึงมีได้ 3 แบบ คือ NN Nn และnn ฟี โนไทปน์ (phenotype) ของลกั ษณะคางบุ๋มจึงมีได้ 2 แบบ คือ ลกั ษณะคางบุ๋ม และ ลกั ษณะคางไม่บุ๋ม ภำพที่ 5 แสดงยนี ทค่ี วบลกั ษณะทำงพนั ธุกรรม ทม่ี ำ : https://krunichatcha.files.wordpress.com/2014/05/f10-05a_homologous_chro_c.jpg

~ 12 ~ กำรศึกษำกำรถ่ำยทอดทำงพนั ธุกรรม การศึกษาการถ่ายทอดทางพนั ธุกรรมสามารถเขียน เป็ นแผนผงั แสดงลกั ษณะบุคคลที่ ถ่ายทอดในแต่ละรุ่น เรียกวา่ เพดดีกรี (pedigree) โดยใชส้ ัญลกั ษณ์ต่างๆส่ือความหมายแทนบุคคล ต่างๆ ท้งั ผูท้ ี่แสดงและไม่แสดงลกั ษณะท่ีกาลงั ศึกษา หากลกั ษณะใดมีการถ่ายทอดลกั ษณะทาง พนั ธุกรรม เพดดีกรีจะช่วยใหส้ งั เกตเห็นแบบแผนการถ่ายทอดไดง้ ่าย การเขียนแผนผงั เพดดีกรี โดยใชส้ ญั ลกั ษณ์แทนบุคคล ตวั อยา่ งเช่น  แสดงเพศชาย  แสดงเพศหญิง  แสดงลกั ษณะท่ีศึกษาในเพศชาย  แสดงลกั ษณะท่ีศึกษาในเพศหญิง --- แสดงชายและหญิงท่ีแตง่ งานกนั แสดงครอบครัวที่แตง่ งานมีลูก 3 คน

~ 13 ~ กำรถ่ำยทอดลกั ษณะทำงพนั ธุกรรมทเ่ี ป็ นลกั ษณะเด่น การถ่ายทอดลกั ษณะการมีลกั ยมิ้ และการมีนิ้วเกิน เป็ นการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ท่ีเป็นลกั ษณะเด่น จากเพดดีกรีจะเห็นวา่ ผทู้ ี่แสดงลกั ษณะทางพนั ธุกรรมเป็นลกั ษณะเด่น เช่น ผมู้ ี ลกั ยมิ้ และนิ้วเกินทุกคน จะมีพอ่ หรือแมท่ ่ีแสดงลกั ษณะดงั กล่าวเช่นกนั ภำพท่ี 7 แสดงกำรถ่ำยทอดลักษณะทำงพนั ธุกรรมทเ่ี ป็ นลักษณะเด่น ท่ีมา: http://www.vcharkarn.com/uploads/48/48576.jpg

~ 14 ~ ภำพท่ี 8 แสดงตวั อย่ำงเพดกี รีกำรถ่ำยทอดลกั ษณะกำรมีลักษณะนิว้ เกนิ ท่ีมา: http://www.vcharkarn.com/uploads/48/48579.jpg ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมที่ไดร้ ับความสนในศึกษามากลุ่มหน่ึง คือ ลกั ษณะความผดิ ปกติทาง พนั ธุกรรม ความรู้และความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ภาวะผิดปกติ หรือโรที่เกิดจากปัจจยั พนั ธุกรรม จะช่วย ในการวางแผนดา้ นสาธารณะสุขเพ่อื การป้องกนั และบาบดั รักษาความผดิ ปกติเหล่าน้ี คนมีโครโมโซมอยู่ 23 คู่ จดั เป็ นออโตโซม (autosome) หรือโครโมโซมร่างกาย 22 คู่ และ โครโมโซมเพศ (sex chromosome) 1 คู่ ออโตโซมจะมีขนาดและรูปร่างเหมือนกนั ส่วนโครโมโซม เพศมี 2 แบบ คือ โคโมโซม X และโครโมโซม Y - เพศหญิงจะมีโครโมโซมเพศเป็น XX - เพศชายจะมีโครโมโซมเพศเป็น XY ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมที่มีโอกาสพบในเพศชายและเพศหญิงเท่าๆกนั คือ มียนี ที่ควบคุมลกั ษณะ เหล่าน้นั อยบู่ นออโตโซม ส่วนลกั ษณะทางพนั ธุกรรมบางลกั ษณะควบคุมโดยยนี ท่ีอยบู่ น โครโมโซมเพศ ทาใหพ้ บในเพศชายและเพศหญิงในสดั ส่วนท่ีต่างกนั เช่น ลกั ษณะตาบอดสี และ G-6-PD เป็นตน้

~ 15 ~ ลกั ษณะตำบอดสี ลกั ษณะตาบอดสี เป็นลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ีคบคุมดว้ ยยนี ดอ้ ยที่อยบู่ นโครโมโซม X กำหนดให้ c แทนแอลลีนที่ควบคุมลกั ษณะตาบอดสี C แทนแอลลีนที่ควบคุมลกั ษณะตาปกติ ดงั น้นั สัญลกั ษณ์แทนยนี จึงเขียนเป็ น Xc และ XC ซ่ึงมีจีโนไทป์ และฟี โนไทป์ ของลกั ษณะ ตาบอดสี ดงั น้ี จีโนไทป์ ฟี โนไทป์ ชำย หญงิ XcY Xc Xc ตาบอดสี XC Y XC Xc ตาปกติ ตาปกติ XC XC ภำวะพร่องเอนไซม์กลโู คส-6- ฟอสเฟต ดีไฮโดรจเี นส (G-6-PD) เป็ นลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ีคบคุมดว้ ยยนี ดอ้ ยท่ีอยบู่ นโครโมโซม X ผปู้ ่ วยมีอาการแพย้ า และอาหารบางชนิดอยา่ งรุนแรง เช่น แพย้ าปฏิชีวนะ ยารักษาโรคมาลาเลีย และยาแกป้ วดลดไขบ้ าง ชนิด เป็นตน้ ในประเทศไทยพบผขู้ าดเอนไซมน์ ้ีถึงร้อยละ 12 ของประชากรเพศชาย ลกั ษณะดอ้ ยท่ีควบคุมดว้ ยยนี ที่อยบู่ นโครโมโซม X จะพบมากในเพศชาย และพบมากวา่ ลกั ษณะ ดอ้ ยที่ควบคุมดว้ ยยนี บนออโตโซม เน่ืองจากเพศชายมีโครโมโซม X เพยี ง 1 โครโมโซม ซ่ึงรับมา จากแม่

~ 16 ~ มลั ตเิ ปิ ลแอลลนี (Multiple Allele) มลั ติเปิ ลแอลลีน (Multiple Allele) คือ การที่ยนี 1 โลคสั มีจานวนแอลลีนมากกวา่ 2 แบบ เช่น ยีนที่กาหนดลักษณะหมู่เลือดระบบ ABO ของคนมี 3 แอลลีน คือ IA IB และ i ทาหน้าที่ ควบคุมการสังเคระห์แอนติเจนบนผิวเซลล์เม็ดเลือดแดง โดยยีนเด่นคือ IA และ IB ทาให้เซลล์ สังเคราะห์แอนตอเจนชนิด A และ B ตามลาดบั ส่วนยีนดอ้ ย คือ i เป็ นแอลลีลที่ไม่สามารถสังเค ระห์แอนิเจนชนิด A หรือ B ได้ จึงไม่ปรากฏแอนติจนท้งั สองชนิดท่ีผิวเมด็ เลือดแดง หมูเ่ ลือด ABO มีจีโนไทป์ และฟี โนไทป์ ดงั น้ี จีโนไทป์ ฟี โนไทป์ IA IA , IA i หมู่เลือด A IB IB , IB i หมูเ่ ลือด B หมู่เลือด AB IA IB หมู่เลือด O ii ภำพที่ 9 แสดงหมู่เลือดทเี กดิ จำกพ่อแม่ทม่ี ีเลือดหมู่ O และ AB ที่มา: http://af1ed7f0-a-62cb3a1a-s-sites.googlegroups.com

~ 17 ~ บรรณำนุกรม เกริก ท่วมกลาง และจินตนา ทว่ มกลาง. (2555). การพฒั นาสื่อนวตั กรรมทางการศึกษาเพ่ือเลื่อน วทิ ยฐานะ.กรุงเทพฯ: สถาพรบุค๊ ส์. ปรีชา สุวรรณพินิจ, นงลกั ษณ์ สุวรรณพินิจ และปิ ยดา สุวรรณพินิจ. (2553). ประมวลคำศัพท์ ชีววทิ ยำ ระดับมัธยมศึกษำ. กรุงเทพฯ : ไฮเอด็ พบั ลิชช่ิง. รัฐศาสตร์ เกตุผาสุข. (2556). คู่มือเตรียมสอบ PAT ชีววทิ ยำ. กรุงเทพฯ : ซีเอด็ ยเู คชน่ั . ลาวลั ย์ บวั แกว้ . (2557). ชีววทิ ยำ (พืน้ ฐำน) ม.4-5-6. นนทบุรี : ธิงค์ บียอนด์ บุค๊ ส์. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). หนังสือเรียนรำยวชิ ำพืน้ ฐำน ชีววทิ ยำ กล่มุ สำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนทเ่ี น้นวทิ ยำศำสตร์. กรุงเทพฯ : สกสค. ลาดพร้าว. อุษณีย์ ยศยง่ิ ยวด. (2554). พจนำนุกรมชีววทิ ยำ. พิมพค์ ร้ังท่ี 3. กรุงเทพฯ : นานมีบุค๊ ส์พบั ลิเคชน่ั ส์.