เอกสารประกอบการเรยี น ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั Covid-19 ปีการศกึ ษา 1/2563 วชิ า วิทยาการคำนวณ 3 ว23301 ครปู ระจำวชิ า นางสาวครูวลิ าวลั ย์ จลุ นนั ท์
ใบความรทู้ ่ี 1 การใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัยและมคี วามรบั ผิดชอบ การใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ อย่างปลอดภยั และมคี วามรบั ผดิ ชอบ ด้านความปลอดภัย การทาธรุ กรรม การซ้ือสนิ คา้ ออนไลน์ ออนไลน์ 1. ไม่ซื้อสนิ คา้ ออนไลน์ผ่าน WIFI สาธารณะ 1. ใช้งานอุปกรณเ์ ทคโนโลยสี ่วนตวั 2. เลือกซ้ือเวบ็ ไซตท์ ีข่ ึ้นตน้ ดว้ ย https:// 2. ไมใ่ ช้งานผา่ น WIFI สาธารณะ เทา่ น้ัน 3. ต้ังรหัสผ่านใหม้ คี วามปลอดภยั 3. เก็บหลักฐานการส่งั ซื้อ 4. ออกจากระบบทกุ ครงั้ หลงั ใช้งาน 4. ตรวจสอบคุณสมบัติของสนิ ค้า 5. ใช้บรกิ าร SMS แจ้งเตอื น 5. อ่านรวี วิ ก่อนตัดสินใจสั่งซ้ือ 6. จากัดวงเงินในการทาธุรกรรม 6. ตรวจสอบประวตั ฉิ ้อโกง ด้านความรบั ผดิ ชอบ ความเป็น ความถกู ต้อง ความเปน็ การเข้าถึง สว่ นตัว แมน่ ยา เจ้าของ ขอ้ มูล (Information (Information Privacy) (Information Property) (Data Accuracy) Accessibility) เปน็ สทิ ธิ การเผยแพร่ เปน็ กรรมสทิ ธใ์ิ น การเขา้ ถึงขอ้ มูล ของเจ้าของ ขอ้ มลู ขา่ วสาร การถือครอง ของผอู้ น่ื โดย สามารถกาหนด ตา่ งๆจะตอ้ งให้ ไม่ไดร้ บั ความ ความเปน็ สว่ นตวั ความสาคัญกับ ทรพั ยส์ นิ ซ่งึ อาจ ยนิ ยอมถอื เปน็ ของขอ้ มูลตนเอง ความถกู ตอ้ ง เปน็ ทรพั ยส์ นิ ในการเผยแพร่ แมน่ ยาของขอ้ มลู การผดิ จรยิ ธรรม ใหก้ ับผอู้ น่ื เปน็ อยา่ งมาก ทวั่ ไปทจ่ี ับตอ้ งได้ หรอื ทรพั ยส์ นิ ท่ี จับตอ้ งไมไ่ ด้ เชน่ ทรพั ยส์ นิ ทาง ปญั ญา
ใบความรทู้ ี่ 2 กฎหมายคอมพวิ เตอร์ กฎหมายคอมพวิ เตอร์ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ คือพระราชบญั ญัติทวี่ า่ ด้วยการกระทาผิด เกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นพ.ร.บ.ทตี่ ้ังขึ้นมาเพื่อป้องกนั ควบคุมการกระทาผิดท่ีจะเกิดข้นึ ไดจ้ ากการใช้คอมพวิ เตอร์ หากใครกระทาความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอรน์ ี้ ก็จะต้องได้รบั การลงโทษตามท่ี พ.ร.บ.กาหนด 13 ขอ้ สรปุ เกีย่ วกบั กบั การกระทาความผดิ เกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2560 หรอื พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ ฉบบั ท่ี 2 1. การฝากรา้ นใน Facebook, IG ถอื เปน็ สแปม ปรบั 200,000 บาท 2. ส่ง SMS โฆษณา โดยไม่รบั ความยินยอม ใหผ้ ู้รบั สามารถปฏเิ สธขอ้ มูลน้นั ได้ ไม่เช่นนน้ั ถอื เปน็ สแปม ปรบั 200,000 บาท 3. สง่ Email ขายของ ถอื เปน็ สแปม ปรบั 200,000 บาท 4. กด Like ไดไ้ ม่ผดิ พ.ร.บ.คอมพ์ฯ ยกเว้นการกดไลค์ เปน็ เรอ่ื งเกยี่ วกบั สถาบัน เสี่ยง เขา้ ขา่ ยความผิดมาตรา 112 หรอื มคี วามผดิ รว่ ม 5. กด Share ถอื เปน็ การเผยแพร่ หากขอ้ มูลทแี่ ชรม์ ผี ลกระทบตอ่ ผอู้ ่ืน อาจเขา้ ขา่ ย ความผดิ ตาม พ.ร.บ.คอมพฯ์ โดยเฉพาะทก่ี ระทบต่อบุคคลท่ี 3 6. พบขอ้ มูลผิดกฎหมายอยู่ในระบบคอมพวิ เตอรข์ องเรา แตไ่ ม่ใช่สง่ิ ทเ่ี จา้ ของ คอมพิวเตอรก์ ระทาเอง สามารถแจง้ ไปยังหนว่ ยงานทรี่ บั ผิดชอบได้ หากแจง้ แล้วลบ ขอ้ มลู ออกเจา้ ของกจ็ ะไม่มคี วามผดิ ตามกฎหมาย เช่น ความเหน็ ในเวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ รวมไปถงึ เฟซบกุ๊ ทใี่ หแ้ สดงความคิดเหน็ หากพบวา่ การแสดงความเหน็ ผดิ กฎหมาย เมอ่ื แจ้งไปทห่ี น่วยงานทร่ี บั ผิดชอบเพื่อลบได้ทนั ที เจา้ ของระบบเว็บไซตจ์ ะไมม่ ี ความผดิ 7. สาหรบั แอดมนิ เพจ ทเี่ ปดิ ใหม้ ีการแสดงความเหน็ เมอ่ื พบขอ้ ความทผ่ี ดิ พ.ร.บ. คอมพ์ฯ เมอื่ ลบออกจากพื้นทท่ี ต่ี นดแู ลแลว้ จะถอื เป็นผพู้ ้นผิด 8. ไม่โพสตส์ ่งิ ลามกอนาจาร ทท่ี าใหเ้ กดิ การเผยแพรส่ ่ปู ระชาชนได้ 9. การโพสเกยี่ วกบั เดก็ เยาวชน ตอ้ งปดิ บงั ใบหนา้ ยกเวน้ เมอ่ื เป็นการเชิดชู ช่ืนชม อย่างใหเ้ กยี รติ 10. การใหข้ อ้ มูลเกย่ี วกบั ผเู้ สียชีวิต ต้องไม่ทาใหเ้ กดิ ความเสอื่ มเสยี เช่ือเสยี ง หรอื ถกู ดู หมิ่น เกลียดชัง ญาติสามารถฟ้องรอ้ งไดต้ ามกฎหมาย 11. การโพสต์ด่าว่าผ้อู ื่น มีกฏหมายอาญาอยูแ่ ล้ว ไมม่ ีขอ้ มูลจรงิ หรอื ถกู ตัดต่อ ผถู้ กู กล่าวหา เอาผดิ ผูโ้ พสต์ได้ และมีโทษจาคุกไมเ่ กนิ 3 ปี ปรบั ไม่เกนิ 200,000 บาท 12. ไม่ทาการละเมิดลิขสิทธผ์ิ ู้ใด ไม่ว่าขอ้ ความ เพลง รปู ภาพ หรอื วดิ โี อ 13. ส่งรูปภาพแชรข์ องผู้อนื่ เช่น สวสั ดี อวยพร ไมผ่ ดิ ถา้ ไม่เอาภาพไปใช้ในเชิงพาณิชย์ หารายได้
COPYRIGHT ใบความรทู้ ่ี 3 ลิขสิทธิ์ (Copyright) ลขิ สทิ ธิ์ ลขิ สทิ ธิ์ เปน็ ผลงานทเ่ี กดิ จากการใชส้ ตปิ ญั ญา ความรคู้ วามสามารถ และความอตุ สาหะพยายามในการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ซ่งึ ถอื วา่ เปน็ ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาประเภทหน่ึง ทท่ี างกฎหมายใหค้ วามคุม้ ครอง โดยเจา้ ของลขิ สทิ ธจ์ิ ะเปน็ ผเู้ ดยี วทจี่ ะกระทาการใดๆ เก่ยี วกบั งานทส่ี รา้ งสรรค์ได้ การคมุ้ ครองลขิ สทิ ธิ์ ลขิ สทิ ธจ์ิ ะมีตลอดอายผุ สู้ รา้ งสรรค์ และจะมตี อ่ ไปอกี 50 ปี นบั แตผ่ สู้ รา้ งสรรคถ์ งึ แก่ความตาย กรณีเปน็ นติ บิ คุ คล ลขิ สทิ ธจ์ิ ะมีอยู่ 50 ปี นับแตไ่ ด้สรา้ งสรรคง์ านนั้นขน้ึ พระราชบญั ญตั ลิ ขิ สทิ ธิ์ พ.ศ.2537 ได้มกี ารยกเว้นในงานบางประเภท ทจ่ี ะมีอายกุ ารคุ้มครองลขิ สทิ ธติ์ า่ งออกไป คือ ศิลปะประยกุ ต์ ทจ่ี ะมีอายกุ ารคุ้มครองลขิ สทิ ธเ์ิ พยี ง 25 ปเี ทา่ นัน้ การใชส้ ทิ ธ์ิของผู้อนื่ โดยชอบธรรม (Fair Use) เป็นหลกั ขอ้ ยกเวน้ ของกฎหมายลขิ สิทธ์ิ (Copyright Act) มี วตั ถุประสงค์เพอื่ ให้เกิดความสมดุลระหวา่ งการปกป้อง ผลประโยชน์อันชอบธรรมของเจา้ ของลขิ สทิ ธิ์ กับการรกั ษา ประโยชน์ของสาธารณชนท่จี ะไดร้ บั จากการใช้งานอันมลี ิขสทิ ธิ์ โดยไม่ตอ้ งไดร้ บั ความยนิ ยอมจากเจ้าของลขิ สทิ ธ์ิ ซ่ึงได้กลา่ วไวใ้ น พระราชบัญญตั ิลิขสทิ ธิ์ พ.ศ.2537 ในมาตรา 32 – 43 โดยการกระทาที่เป็นขอ้ ยกเวน้ การละเมดิ ลิขสทิ ธิ์ สามารถจาแนก เป็นหลักเกณฑ์ ไดด้ งั น้ี 1. การกระทานั้นเป็นการกระทาเพื่อใช้ในการวจิ ยั หรอื ศกึ ษา 2. การกระทาน้ันไมไ่ ด้เป็นการกระทาเพอ่ื หากาไร 3. การกระทานั้นไมข่ ดั ตอ่ การแสวงหาผลประโยชน์ของ เจา้ ของลขิ สิทธ์ิ และไม่กระทบกระเทือนถงึ สทิ ธิอันชอบดว้ ย กฎหมายของเจา้ ของลิขสิทธเ์ิ กนิ สมควร
ใบความรทู้ ่ี 4 การสืบคน้ แหลง่ ขอ้ มลู การสบื คน้ แหลง่ ขอ้ มลู การสืบคน้ แหลง่ ข้อมูล คือ กระบวนการคน้ หาขอ้ มูล ที่ต้องการ โดยใช้โปรแกรมในคอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื การสืบค้นหา และอาจจะค้นหาจากแหลง่ อน่ื ๆ ท่ไี ม่ใช้อินเทอรเ์ น็ต การสบื คน้ หาแหลง่ ขอ้ มลู สามารถทาได้ ดังนี้ การสืบค้นข้อมูลดว้ ยมือ เปน็ การสบื คน้ จากเอกสาร เช่น จากหนังสอื ตารา ตามสถานทตี่ า่ ง ๆ หรอื หอ้ งสมดุ การสืบคน้ ขอ้ มูลดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์ เชน่ การสบื คน้ ขอ้ มลู จากระบบออนไลนจ์ ากโปรแกรมคน้ หา Search Engine Search Engine โปรแกรมทอ่ี อกแบบมาเปน็ เครอื่ งมือสาหรบั ใช้ ค้นหา Web Search Engine เวบ็ ไซตท์ ใ่ี ช้สาหรบั คน้ หาขอ้ มลู ประโยชน์ของ Search Engine 1. ค้นหาเวบ็ ไซตท์ ตี่ อ้ งการไดง้ ่าย สะดวกและรวดเรว็ 2. ค้นหาขอ้ มลู ได้อยา่ งละเอียด และหลากหลายรปู แบบ 3. คน้ หาขอ้ มูลไดจ้ ากเวบ็ ไซตเ์ ฉพาะทางตา่ งๆ ได้ 4. คน้ หาขอ้ มลู ได้อยา่ งหลากหลาย 5. รองรบั การค้นหาได้หลายภาษา รวมทงั้ ภาษาไทย Search Engine ทน่ี ยิ มใช้ในปจั จบุ นั http://www.google.com www.bing.com http://www.yahoo.com
การดาเนนิ การ ใบความรทู้ ี่ 5 การดาเนินการสบื คน้ ขอ้ มลู บนอนิ เทอรเ์ นต็ สืบค้นข้อมลู บนอนิ เทอรเ์ น็ต 1 กาหนดวัตถปุ ระสงคก์ ารสบื ค้น ผสู้ บื ค้นหรอื ผู้วจิ ยั ทีจ่ ะนาข้อมูล สารสนเทศไปใช้ ควรตงั้ วตั ถปุ ระสงค์การสืบค้นทชี่ ัดเจน ทาให้สามารถกาหนดขอบเขตของแหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศท่ีจะสืบคน้ ให้แคบลง กาหนดประเภทของเครอื่ งมือหรอื โปรแกรมสาหรบั การสบื คน้ ทางอินเทอรเ์ น็ต ที่เรยี กวา่ search engine ใหเ้ หมาะสม 2 ประเภทของขอ้ มลู สารสนเทศทส่ี ามารถสบื ค้นได้ ข้อมูลสารสนเทศท่ี อยบู่ นอนิ เทอรเ์ น็ตมีมากมายหลายประเภท มลี กั ษณะเป็นมัลติมีเดยี คอื มีทั้งที่เป็นข้อความ (text) ภาพวาด (painting) ภาพเขยี น หรอื ภาพลายเส้น (drawing) ภาพไดอะแกรม (diagram) ภาพถ่าย (photograph) เสยี ง(sound) การสืบคน้ ทีม่ ีประสิทธภิ าพทส่ี ดุ คอื การสบื คน้ ข้อมูลสารสนเทศประเภทขอ้ ความ 3 การสบื ค้นตอ้ งอาศัยอปุ กรณ์และความรู้ ต้องมีการจดั เตรยี มอปุ กรณด์ งั ต่อไปนี้ คือ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ อปุ กรณ์เช่ือมต่อ อนิ เทอรเ์ น็ต นอกจากอุปกรณ์ ตา่ งๆ ดังกล่าวข้างตน้ แลว้ ยงั ตอ้ งมีความรู้ และทักษะพื้นฐานในการใช้งานคอมพิวเตอร์ (computer literacy) ความรภู้ าษาองั กฤษ และยงั ตอ้ งมีการจัดสรรเวลาให้เหมาะสมอีกดว้ ย 4 บรกิ ารบนอนิ เทอรเ์ น็ต บรกิ ารทีส่ ามารถใช้ช่วยในการสบื ค้นข้อมูลซ่ึงมีมากมายหลายบรกิ าร เช่น บรกิ ารเครอื ขา่ ยใยแมงมุมโลก หรอื Word-Wide-Web (WWW) บรกิ ารสอบถามผา่ นทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรอื การสนทนาออนไลน์กบั ผู้ใช้งาน 5 เครอ่ื งมอื หรอื โปรแกรมสาหรบั การสบื คน้ เครอื่ งมอื หรอื โปรแกรมสาหรบั การสบื ค้น มอี ยมู่ ากมายและมใี หบ้ รกิ าร อยตู่ ามเวบ็ ไซตต์ ่างๆ ที่ให้บรกิ ารการสบื ค้นขอ้ มลู โดยเฉพาะ การเลือกใช้น้ันข้ึนกบั ประเภทของขอ้ มลู ทีต่ ้องการสบื ค้นจากโปรแกรมค้นหาต่างๆ
ใบความรทู้ ี่ 6 PROMPT PROMPT Presentation การนาเสนอขอ้ มลู ตอ้ งชดั เจน ตรงตามเนื้อหา กระชับ Relevance การพจิ ารณาความสมั พนั ธ์ ความสอดคลอ้ งของข้อมลู กบั สงิ่ ทตี่ อ้ งการ Objectivity ข้อมูลทนี่ ามาใช้ต้องมีวตั ถุประสงคท์ ชี่ ดั เจน ไมม่ ีเจตนา แอบแฝง หรอื เปน็ ข้อมูลทแี่ สดงความคดิ เห็น Method มกี ารวางแผนการเกบ็ รวบรวมข้อมูลอยา่ งเปน็ ระบบ Provenance มีการระบแุ หลง่ ทม่ี าของข้อมลู อยา่ งชดั เจน เชอ่ื ถือได้ Timeliness ขอ้ มูลตอ้ งเปน็ ปัจจบุ ัน ทนั สมยั
ใบความรทู้ ี่ 7 เหตผุ ลวิบตั ิ (Logical Fallacy) Logical Fallacy เหตุผลวิบตั /ิ ตรรกะวิบตั ิ เหตุผลวบิ ัติ (Logical Fallacy) หรอื ตรรกะวิบตั ิ เป็น การอา้ งเหตผุ ลทบี่ กพรอ่ งอนั เกดิ จากความผดิ พลาดใน กระบวนการคดิ หาเหตผุ ล (reasoning process) ทงั้ แบบอปุ นัยเละนิรนัยซ่ึงสง่ ผลให้การอา้ งเหตุผลนั้นเป็น การอา้ งหตผุ ลทว่ี บิ ัติ (fallacious argument) เหตผุ ลวิบัตสิ ามารถแบง่ ได้ 2 ประเภท คือ เหตผุ ลวบิ ัติแบบเปน็ ทางการ เกิดจากการให้เหตุผลทใ่ี ชห้ ลกั ตรรกะทไ่ี ม่ถกู ตอ้ ง แต่เขยี นในรปู แบบทเ่ี ปน็ ทางการทาใหด้ ูสมเหตสุ มผล เหตุผลวบิ ตั ิแบบไม่เปน็ ทางการ เกิดจากการใหเ้ หตุผลทไ่ี มเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การใช้ตรรกะ ในการพจิ ารณาแต่เปน็ การสนั นิษฐาน หรอื เลน่ สานวน ซ่ึงเกิดจากการใชภ้ าษาชักนาให้เกิดความเขา้ ใจผิด เช่น การพดู กากวม หรอื การพดู มากเกนิ ความจาเปน็
ใบความรทู้ ่ี 8 การรวบรวมขอ้ มูล การรวบรวมขอ้ มลู สามารถแบง่ ประเภทของข้อมูลตามแหล่งที่มา ได้เป็น 2 กลมุ่ คอื ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) ขอ้ มูลปฐมภมู ิ (Primary data) คอื ขอ้ มลู ที่เกบ็ รวบรวม มาจากแหลง่ ขอ้ มลู ขน้ั ต้นหรอื ได้มาจากแหล่งขอ้ มูลโดยตรง เช่น การสัมภาษณ์ (interview) การสารวจ (survey) การสังเกต (observe) การทดลอง (experiment) ข้อมูลทตุ ิยภูมิ (Secondary Data) ขอ้ มูลทุติยภมู ิ (Secondary Data) เป็นขอ้ มูลที่มีการรวบรวม ไวแ้ ล้วโดยผู้อนื่ การนาข้อมลู ทตุ ิยภูมิมาใช้จะต้องตรวจสอบ คณุ ภาพของข้อมูลกอ่ น ซึ่งการรวบรวมข้อมูลจากแหลง่ ข้อมูล ทตุ ิยภูมิ สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 รปู แบบ ขอ้ มูลจากแหลง่ ข้อมูลภายใน เปน็ ข้อมูลที่เกดิ ขึน้ ภายในหนว่ ยงาน หรอื ภายในขององค์กรของผู้ใช้งาน ขอ้ มลู จากแหลง่ ขอ้ มูลภายนอก เปน็ ข้อมลู ทไ่ี ด้จากการรวบรวมข้อมูล ของบคุ คล หน่วยงาน หรอื องค์กรภายนอก
ใบความรทู้ ่ี 9 การประมวลผล (Data Processing) DATA PROCESSING การประมวลผล DATA PROCESSING INFORMATION การประมวลผล (Data Processing) เปน็ การประมวลผลทางขอ้ มูล เปน็ การนาขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ รวบรวมได้มาผา่ นกระบวนการตา่ ง ๆ เพอื่ แปรสภาพขอ้ มลู ใหอ้ ยใู่ นรปู แบบทตี่ อ้ งการ เรยี กว่า ขอ้ มลู สนเทศหรอื สารสนเทศ (Information) Information คือ ผลลพั ธ์ทไ่ี ดจ้ ากขอ้ มลู ทไ่ี ดร้ วบรวม และนาเข้าส่กู ระบวนการประมวลผล ซ่ึงผลลพั ธ์ทไ่ี ด้ สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการวเิ คราะหท์ ิศทาง หรอื การตัดสินใจได้ทันที โดยวิธกี ารประมวลผล จาแนกได้ 3 วิธี การประมวลผลดว้ ยมอื (Manual Data Processing) การประมวลผลด้วยเครอื่ งจกั ร (Mechanical Data Processing) การประมวลผลขอ้ มลู ด้วยเครอื่ งอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Data Processing) ขน้ั ตอนการประมวลผลขอ้ มูล หรอื ขนั้ ตอนใหไ้ ดม้ าซ่งึ สารสนเทศ แบง่ ออกเปน็ 3 ขนั้ ตอน ดงั น้ี 1. ขนั้ เตรยี มขอ้ มลู (Input) 2. ขนั้ การประมวลผล (Processing) 3. ขนั้ การแสดงผลลพั ธ์ (Output)
ใบความรทู้ ี่ 10 ซอฟตแ์ วรท์ ช่ี ่วยในการจดั การขอ้ มลู ซอฟตแ์ วร์ ท่ีช่วยในการจัดการขอ้ มูล ซอฟตแ์ วรป์ ระมวลผลคา ( Word Processing software) เปน็ ซอฟตแ์ วรท์ อี่ อกแบบสาหรบั การพมิ พเ์ อกสาร สามารถแก้ไข จัดเกบ็ ไฟล์ และจัดรปู แบบเอกสารไดค้ อ่ นขา้ งง่าย พมิ พอ์ อกทาง เครอื่ งพมิ พส์ ะดวก ตวั อยา่ งซอฟตแ์ วรป์ ระมวลผลคา เช่น Writer ของ OpenOffice.org, Microsoft Word ซอฟตแ์ วรต์ ารางทางาน (spread sheet software) เปน็ ซอฟตแ์ วรท์ ช่ี ว่ ยในการคานวณ มีลกั ษณะการทางานแบบตาราง หรอื ช่องซ่งึ เรยี กวา่ เซลสาหรบั สง่ ขอ้ ความหรอื จานวนตวั เลข เพอ่ื ใหท้ าการคานวณตามเงือ่ นไขทก่ี าหนด โดยจะมสี ตู ร ฟงั กช์ ่ันเพอ่ื ชว่ ยใหค้ านวณได้สะดวกมากขนึ้ ตวั อยา่ ง เชน่ calc ของ OpenOffice.org, Microsoft excel ซอฟตแ์ วรน์ าเสนอ (presentation software) เปน็ ซอฟตแ์ วรท์ ชี่ ่วยในการนาเสนอขอ้ มลู ทสี่ ามารถทาได้อยา่ ง สะดวก รวดเรว็ สามารถสรา้ งสไลดท์ ป่ี ระกอบดว้ ย ตวั อกั ษร รปู ภาพ เสยี ง แอนเิ มชัน ทาใหเ้ นือ้ หามีความนา่ สนใจ ตวั อยา่ งซอฟตแ์ วรน์ าเสนอได้แก่ impress ของ OpenOffice.org, Microsoft PowerPoint, keynote ซอฟตแ์ วรจ์ ัดการฐานขอ้ มลู (database management software) เปน็ ซอฟตแ์ วรท์ ใี่ ชใ้ นการจดั การฐานขอ้ มลู ทาใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถทางาน ด้านขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เช่น การจัดเกบ็ การแกไ้ ข การคน้ หาขอ้ มูลทาได้ สะดวกและการใชซ้ อฟตแ์ วรจ์ ดั การฐานขอ้ มูลจะทาให้ลด ความซา้ ซ้อนขอ้ มลู ตวั อยา่ งซอฟตแ์ วรจ์ ดั การฐานขอ้ มลู เชน่ base ของ OpenOffice.org, Microsoft access ซอฟตแ์ วรก์ ราฟกิ (graphic software) เปน็ ซอฟตแ์ วรท์ อ่ี อกแบบสาหรบั งานกราฟกิ และสอื่ ประสมตา่ งๆ เปน็ ซอฟตแ์ วรท์ ส่ี รา้ ง วาด ตกแตง่ งานเอกสาร รปู ภาพ ภาพเคลอ่ื นไหว เสยี ง วีดีทศั น์ ตวั อยา่ งซอฟตแ์ วรก์ ราฟกิ และสอ่ื ประสม ได้แก่ paint, gimp, sketch Up, Photoshop, 3Dsmax, flash
ใบความรทู้ ่ี 11 องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี IoT องค์ประกอบของเทคโนโลยี IoT The Internet of Things IoT หรอื Internet of Things เปน็ เทคโนโลยี ทเ่ี กี่ยวกับการนาระบบทางกลหรอื ระบบทางไฟฟา้ ตา่ งๆในชีวิตประจาวนั มาพฒั นาใหส้ ะดวกขนึ้ ดว้ ยการควบคมุ ผา่ นอนิ เตอรเ์ นต็ เนอ่ื งจากในปจั จุบนั มกี ารพฒั นาเทคโนโลยใี หมๆ่ มา อยา่ งตอ่ เน่ือง บางเทคโนโลยเี ปน็ เทคโนโลยี ทเี่ หมาะกับสภาพการณ์ตา่ งๆทแ่ี ตกตา่ งกันไป องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี IoT Smart Device Cloud Computing Dashboard เปน็ อปุ กรณ์ชาญฉลาด เปน็ สื่อกลางในการ เปน็ ส่วนที่ใช้แสดงผล รบั ส่งข้อมูลหรอื เปน็ และควบคมุ การทางาน ท่ีมีส่วนประกอบของ หน่วยประมวลผลกลาง ของผใู้ ช้โดยอาจจะอยู่ หน่วยประมวลผล เช่น ที่รบั ขอ้ มูลจาก Smart ในรปู แบบของอปุ กรณ์ Device และส่งต่อไป หรอื แอปพลิเคชนั ใน ไมโครโพรเซสเซอร ยังผู้ใช้งาน คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี IoT ทีเ่ ช่ือมโยงอุปกรณต์ ่าง ๆ เข้าดว้ ยกัน กอ็ าจมผี ลกอ่ ใหเ้ กิดความเส่ียงตอ่ ภยั คกุ คาม ตง้ั แตร่ ะดับบุคคลไปจนถึงองคก์ รมากข้นึ ดงั นั้น การเตรยี มความพรอ้ มรบั มอื ภัยคกุ คาม ที่มาพรอ้ มกับเทคโนโลยเี ป็นประเดน็ ทีท่ กุ คนให้ความสาคญั เพอ่ื ขับเคล่ือนนวตั กรรมใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพสูงสดุ ในยคุ ดิจทิ ลั
ใบความรทู้ ่ี 12 ประเภทแอปพลเิ คชนั ประเภทแอปพลเิ คชัน Application คือโปรแกรมประเภทหนึ่ง ทเี่ รยี กว่าโปรแกรมประยกุ ต์ โปรแกรมเหลา่ น้ีจะถกู ออกแบบมาใหท้ างานเฉพาะด้าน เช่น พมิ พเ์ อกสาร, คานวณ, ตกแตง่ รปู ภาพ เปน็ ตน้ จากอดีตน้นั โปรแกรมเหลา่ นี้ทางาน บนเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ พยี งอยา่ งเดยี ว เราจึงมกั เรยี กชอ่ื เตม็ ๆ วา่ Application แตเ่ มอ่ื มีการพฒั นา Smartphone ขนึ้ มา Application กไ็ ดพ้ ฒั นา และไปใชง้ านบนโทรศพั ทม์ ือถอื ไดอ้ กี ด้วย และนยิ มเรยี กกนั สนั้ ๆ วา่ \"App\" แอปพลเิ คชันแบ่งได้ 2 ประเภท ดังน้ี แอปพลิเคชันระบบ แอปพลเิ คชันทต่ี อบสนอง ความต้องการของกลมุ่ ผูใ้ ช้ แอปพลเิ คชนั ระบบเปน็ สว่ นซอฟตแ์ วร์ แอปพลเิ คชนั ทต่ี อบสนอง ระบบ หรอื ระบบปฏบิ ตั กิ าร ความตอ้ งการ ของกลมุ่ ผใู้ ช้ (Operating system) เปน็ ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ ทที่ าหนา้ ทคี่ วบคุมการทางานของ หรอื โปรแกรมประยกุ ต์ อปุ กรณ์และรองรบั การใช้งาน ทที่ างานภายใตร้ ะบบปฏิบตั กิ าร มวี ัตถุประสงค์เฉพาะอยา่ ง ของแอปพลเิ คชันหรอื โปรแกรมตา่ งๆ ทต่ี ดิ ตงั้ อยภู่ ายในคอมพวิ เตอร์
ใบความรทู้ ี่ 13 ขน้ั ตอนการพัฒนาแอปพลเิ คชนั 7ขนั้ ตอน การพฒั นาแอปพลเิ คชัน 1 กาหนดปญั หา (Problem Definition) 2 ศกึ ษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 3 วิเคราะหค์ วามต้องการแอปพลเิ คชัน (Analyzing Application Needs) 4 ออกแบบแอปพลเิ คชนั (Designing the Applications) 5 พฒั นาแอปพลเิ คชัน (Developing) 6 ทดสอบแอปพลเิ คชัน (Testing and Maintaining the System) 7 จดั ทาเอกสาร (Documenting)
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: